หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

1

2

ชื่อปริญญา

1

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1

5

กำหนดการเปิดสอน

2

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

2

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

2

8

ระบบการศึกษา

2

9

ระยะเวลาศึกษา

2

10

การลงทะเบียน

2

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

3

12

อาจารย์ผู้สอน

4

13

แผนการรับนักศึกษา

9

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

9

15

ห้องสมุด

9

16

งบประมาณ

13

17

หลักสูตร

13

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

57

19

การพัฒนาหลักสูตร

58

20 ภาคผนวก  
 

ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

 
 

คำชี้แจงกรณีหลักสูตรมีโครงสร้างเกิน 130 หน่วยกิต

 
 

กระบวนการร่างหลักสูตร

 
 

คณะกรรมการผู้เข้าร่วมวิพากษ์ร่างหลักสูตร

 
 

กระบวนการยกร่างหลักสูตร

 

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พุทธศักราช 2549

……………………………………….

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Political Science

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม :  รัฐศาสตรบัณฑิต
   Bachelor of Arts (Political Science)
ชื่อย่อ :

ร.บ.

 

B.A. (Political Science)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีความเชื่อว่า บุคลากรทางรัฐศาสตร์จะต้องมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและทันสมัย ในขณะเดียวกันต้องมีความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) และสามารถจรรโลงคุณค่าและมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติอย่างสร้างสรรค์ ให้เกิดการพัฒนาอย่างสมดุลและอย่างยั่งยืน โดยมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นพื้นฐานนำทางเพื่อมุ่งสู่การจัดการที่ดี (Good Governances) ของสังคมประเทศ

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

            เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ดังต่อไปนี้

                1) มีความรู้กว้างไกล และลึกซึ้ง ในด้านการเมือง การบริหารจัดการ การพัฒนา และสัมพันธภาพ ระหว่างประเทศ ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับสากล
                2) มีทักษะ ความสามารถ ในการแก้ไขปัญหาสังคม การเมือง การบริหารและสิ่งแวดล้อม ด้วยสันติวิธี และเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง และปกป้องสิทธิมนุษยชน
                3) มีความสามารถในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงพัฒนาองค์ความรู้ในระดับท้องถิ่น และสากลตามกรอบของคุณธรรม จริยธรรมที่แตกต่างกัน และสามารถติดต่อสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. กำหนดการเปิดสอน

        ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือ
                กิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตรรวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ชื่อ – สกุล

วุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1. ผศ.ไพศาล  สรรสรวิสุทธิ์

    -  M.A. (Political Science)
    -  พธ.บ. (สังคมศึกษา)

    -  Delhi University India มหาจุฬาลงกรณ์ฯ

    -  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์
    -  กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน เพื่อแก้ไข
       ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนชุมชนเขาทอง

2. นายพิสิษฐ์ จอมบุญเรือง

    -  M.A.(Public Admn.)
    -  พธ.บ. (ครุศาสตร์)

    -  Madras Uniersity India มหาจุฬาลงกรณฯ

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  1 เรื่อง

3. นายสมญา อินทรเกษตร

    -  พบ.ม.(การบริหารการคลัง)
    -  ร.บ.(รัฐศาสตร์)

    -  สถาบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามแหง

    -  กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน เพื่อแก้ไข
       ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนชุมชนเขาทอง

4. นายเสริมศักดิ์ รูปต่ำ

    -  M.A. (Public Admn.)
    -  พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

    -  Madras Uniersity India มหาจุฬาลงกรณฯ

    -  A study on the Socio-economic condition of
       the dalit community at Arie colony, Ponnery
        block ,Thiruvalur distrist

5. น.ส.ชนันทิพย์ จันทรโสภา

    -  ศศ.ม. (รัฐศาสตร์)
    -  ศศ.บ. (นิเทศศาสตร์)

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

    -  ประสิทธิภาพในการบริหารของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
       อุทัยธานี

6. นายธนันต์ คงมะกล่ำ

    -  ศศ.ม. (รัฐศาสตร์)
    -  ศศ.บ.

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

    -  งานวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจจากส่วนกลางลงสู่
       ท้องถิ่น

7. นายพรสวัสดิ์ บุญยิ่ง

    -  ศศ.ม. (รัฐศาสตร์)
    -  นบ.

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

    -  งานวิจัย 1 เรื่อง

8. นางสุวรรณา คุณดิลกณัฐวสา

    -  รป.ม.
    -  ศศ.บ.

    -  มหาวิทยาลัยเอเชีย
    -  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

    -  งานวิจัยเรื่องการบริหารความขัดแย้งกรณีศึกษาเฉพาะ
       นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคอกควาย อำเภอบ้านไร่
       จังหวัดอุทัยธานี

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ – สกุล

ความรับผิดชอบวิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการผลงานวิจัย (สาขา)ประสบการณ์

1

ผศ. ไพศาล สรรสรวิสุทธิ์

    -  M.A. (Political Science)
    -  พธ.บ. (สังคมศึกษา)

วิชาที่รับผิดชอบ

    1) การบริหารทรัพย์มนุษย์
    2) จริยธรรมทางการเมือง
    3) ผู้นำทางการเมือง
    4) ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เรื่อง

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  7 เรื่อง

ประสบการณ์

    1) อดีตรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
    2) อดีตคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ฯ

2

นายพิสิษฐ์ จอมบุญเรือง

    -  M.A.(Public Admn.)
    -  พธ.บ. (ครุศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1) การเมืองการปกครองระหว่างประเทศ
    2) นโยบายสาธารณะและการวางแผน
    3) จริยธรรมทางการบริหาร
    4) การวิเคราะห์นโยบาย

ผลงานการวิจัย

    -  1 เรื่อง

3

ดร. ไชยรัตน์ ปราณี

    -  กศ.ด.(วิจัยและพัฒนาหลักสูตร)
    -  กศ.ม.(การมัธยมศึกษา)
    -  ค.บ.(สังคมศึกษา)
    -  น.บ.(นิติศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1) วิธีวิทยาทางการวิจัยรัฐศาสตร์
    2) สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

    -  เอกสารปรกอบการสอนวิชา
    -  ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  8 เรื่อง

ประสบการณ์

    -  อดีตศึกษานิเทศก์

4

ดร. สนั่น กัลปา

    -  Ph.D.(Political science)
    -  M.A. (Political Science)
    -  พธ.บ. (ศาสนา)

วิชาที่สอน

    1) การเมืองและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
    2) สังคมวิทยาทางการปกครอง
    3) แนวคิดและทฤษฎีการปกครอง ส่วนท้องถิ่น

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง
    -  บทความทางวิชาการ 6 เรื่อง

5

นายสมญา อินทรเกษตร

    -  พบ.ม.(การบริหารการคลัง)
    -  ร.บ.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  การบริหารการพัฒนา
    -  การบริหารการเงินการคลังและงบประมาณ
    -  เทคนิคทางการบริหาร

งานวิจัย

    -  6 เรื่อง
    -  กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อแก้ไข ปัญหาความ
       ยากจนอย่างยั่งยืนชุมชนเขาทอง (วิจัยร่วม) ฯลฯ

6

นายเสริมศักดิ์ รูปต่ำ

    -  M.A.(Public Admn.)
    -  พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

วิชาที่สอน

   1)  ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2)  การเมืองตามแนวพุทธศาสนา
    3)  ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

เอกสารประกอบการสอน

งานวิจัย

    -  2 เรือง
    -  A study on the Socio-economic condition of the dalit
       community at Arie colony, Ponnery block ,Thiruvalur distrist
    -  บทความ 4 เรื่อง

7

น.ส.สุกัญญา บุตรสีทัด

    -  เนติบัณฑิตไทย
    -  น.บ.

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายสำหรับการปกครองส่วนท้องถิ่น

-

8

น.ส.ชนันทิพย์ จันทรโสภา

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)
    -  ศศ.บ. (นิเทศศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  ปรัชญาและทฤษฎีการเมือง
    -  การเมืองการปกครอง

งานวิจัย

    -  3 เรื่อง
    -  บทความทางวิชาการ 1 เรื่อง

        12.3 อาจารย์พิเศษ

ที่

ชื่อ – สกุล

ความรับผิดชอบวิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการผลงานวิจัย (สาขา)ประสบการณ์

1

นายปรีชา สุขรอด

    -  พบ.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กลยุทธการวางแผนพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่นเชิงบูรณาการ

งานวิจัย

    -  1 เรื่อง

ตำแหน่งข้าราชการระดับ 9

2

นายกิจจา มหาวิจิตร

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1) ภูมิรัฐศาสตร์และบริบท ทางการบริหาร

เอกสารประกอบการสอน

    -  การเมืองการปกครองของไทย
    -  ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้น

งานวิจัย

    -  1 เรื่อง
    -  งานวิจัยการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
       กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์

3

นายปิยชาติ อ้นสุวรรณ

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  การเมืองการปกครองส่วน ท้องถิ่นไทย

เอกสารประกอบการสอน

    -  วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ

งานวิจัย

    -  1 เรื่อง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา
       กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัด นครสวรรค์

4

นายสุเมธ นภาพร

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  ระเบียบบริหารราชการไทย

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  1 เรื่อง

5

นายสวัสดิ์ มานิตย์

    -  น.ม.

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายเพ่งและพาณิชย์

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  1 เรื่อง

6

นายประโยชน์ ชาญธัญกรรม

    -  น.บ.

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  1 เรื่อง

7

นายพรสวัสดิ์ บุญยิ่ง

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณา ความแพ่ง

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  1 เรื่อง

8

นายสุโรจน์ จันทรพิทักษ์

    -  น.บ., นิติบัณฑิตไทย

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

ผลงานวิจัย (สาขา)

    -  1 เรื่อง

9

พ.ต.ท.สุพจน์ พรหมพิทักษ์

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายเพ่งและพาณิชย์

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

10

พ.ต.ต.ประชิด สะท้าน

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กระบวนการบริหารงานยุติธรรม

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

11

นายปัญญา เล็กกระจ่าง

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ

งานวิจัย

    -  1 เรื่อง

ตำแหน่ง

    -  ปลัดอำเภออาวุโส

12

พ.ต.ท. นิกร ขวัญเมือง

    -  พบ.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายลักษณะพยาน

งานวิจัย

    -  1 เรื่อง

ตำแหน่ง

    -  รองผู้กำกับสถานีตำรวจอำเภอโกรกพระ

13

ด.ต.วิรัตน์ ศิริกุล

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายปกครอง

งานวิจัย

    -  1 เรื่อง

ตำแหน่ง

    -  รองนายกมนตรีเทศบาลโกรกพระ

14

นายเกียรติศักดิ์ วรวิทย์รัตนกุล

    -  พบ.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายรัฐธรรมนูญ

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

15

นายธรรมนูญ โพธิยาสานนท์

    -  น.บ. , เนติบัณฑิตไทย

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายอาญา 2

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

16

น.ส.สมลักษณ์ กีรติศิริกุล

    -  น.บ., เนติบัณฑิตไทย

วิชาที่สอน

    -  กฎหมายอาญา 1

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

17

พ.ต.ท.วิริยะบัณฑิต

    -  สถิตย์สุวชาติ
    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

   -  กฎหมายอาญา 2

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

18

นายพงศักดิ์ รัตนวิภา

    -  พบ.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  การวางแผนและการจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
    -  การเมืองและนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

19

น.ส.สุพรรณี

    -  อภิสิทธิ์สันติกุล
    -  พบ.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ
    -  การบริหารรัฐวิสาหกิจไทย

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

20

นายวิรัช วัฒนธรรม

    -  ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  ทฤษฎีอาชญาวิทยา

ผลงานวิจัย

    -  1 เรื่อง

13. แผนการรับนักศึกษา

นักศึกษา

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

120

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 2

-

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 3

-

-

120

120

120

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

120

120

รวม

120

240

360

480

480

บัณฑิตที่คาดว่าจะจบการศึกษา

-

-

-

120

120

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14. 1 จัดการเรียนการสอนตามห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์กำหนด

        14.2 ห้องปฏิบัติการทางรัฐศาสตร์ 1 ห้อง

        14.3 โสตทัศนวัสดุ เช่น โปรเจกเตอร์มัลติมีเดีย วีดิทัศน์ คอมพิวเตอร์

        14. 4 แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เช่น ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ ศาล สถานีตำรวจ และหน่วยงานราชการอื่น ๆ

15. ห้องสมุด

        15.1 ตัวอย่างรายชื่อหนังสือหมวดรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร์

ชื่อหนังสือ

ผู้แต่ง

จำนวน

1. รัฐศาสตร์ทั่วไป

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

4

2. ทฤษฎีพัฒนาทางการเมือง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

5

3. การเมืองระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออก

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

5

4. การเมืองอเมริกา

สมบัติ ธำรงธัญวงค์

6

5. การเมืองอังกฤษ

สมบัติ ธำรงธัญวงค์

7

6. การเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 1762 -2500

สมบัติ ธำรงธัญวงค์

5

7. นักคิดผู้ยิ่งใหญ่ของโลก : ปรัชญาและทฤษฎีการเมือง

ทินพันธ์ นาคะตะ

4

8. กลุ่มผลประโยชน์และพรรคการเมืองไทย

จุมพล หนิมพานิช

6

9. หลักและวิธีการศึกษาทางศาสตร์

มสธ.

4

10. องค์การระหว่างประเทศ

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

5

11. โลกร่วมสมัย

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

6

        15.2 ตัวอย่างรายชื่อหนังสือหมวดรัฐประศาสนศาสตร์

ชื่อหนังสือ

ผู้แต่ง

จำนวน

1. ศัพท์รัฐประศาสนศาสตร์

ติน ปรัชญพฤทธิ์

3

2. รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา (ค.ศ. 1887-ค.ศ. 1970)

พิทยา บวรวัฒนา

6

3. รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา (ค.ศ. 1970-ค.ศ. 1980)

พิทยา บวรวัฒนา

6

4. หลักรัฐประศาสนศาสตร์ : แนวคิดและทฤษฎี

สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์

4

5. หลักและวิธีการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

มสธ.

4

6. รัฐประศาสนศาสตร์ :ขอบข่ายและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2

7. การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

3

8. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

มสธ.

2

9. รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎี และการประยุกต์

วรเดช จันทรศร, อัจราพรรณ เทศะบุรณะ

3

10. สาธารณบริหารศาสตร์

สร้อยตระกูล อรรถมานะ

10

11. การบริหารการพัฒนา

ติน ปรัชญพฤทธิ์

19

12. การบริหารการพัฒนา

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

7

13. รัฐประศาสนศาสตร์ : ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ

อุทัย เลาหวิเชียร

4

14. การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

เครือวัลย์ ลิ้มปิยะศรีสกุล

5

15. การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

ศุภชัย ยาวประภาษ

7

16. การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

สุจิตรา บุญยรัตพันธ์

4

17. การกำหนดและการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้

ถวัลย์รัฐ วรเทพพุฒิพงษ์

3

18. นโยบายสาธารณะและการวางแผน

มสธ.

7

19. การวางแผนนโยบายสาธารณะ โครงการ และการบริหารโครงการ

มสธ

6

20. นโยบายสาธารณะ

ศุภชัย ยาวประภาษ

8

21. นโยบายสาธารณะ : แนวคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

3

22. นโยบายสาธารณะ : หลักและวิธีปฏิบัติ

สมพร เฟืองจันทร์

3

23. นโยบายสาธารณะและการวงแผน

สมพิศ สุขแสน

5

24. การสัมมานาการบริหารรัฐกิจ : การประเมินผลนโยบายสาธารณะ.

กวี รักษ์ชน

2

25. การวิเคราะห์นโยบาย :ขอบข่าย แนวคิด ทฤษฎี และกรณีตัวอย่าง.

จุมพล หนิมพานิช

5

26. เทคนิควิธีการวิเคราะห์นโยบาย

ทศพร ศิริสัมพันธ์

6

27. หลักและเทคนิคการวางแผน

อนันต์ เกตุวงศ์

4

28. เทคนิคการประเมินโครงการ

สมคิด พรมจุ้ย

4

29. การวางแผนและการควบคุมทางการบริหาร

สุรัสวดี ราชกุลชัย

4

30. เทคนิคการบริหารโครงการโดย PERT และ CPM

พิภพ ลลิตาภรณ์

5

31. การบริหารการคลังรัฐบาล

พนม ทินกร ณ อยุธยา

5

32. การคลัง : ว่าด้วยการจัดสรรและกระจาย

เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม

7

33. การคลังรัฐบาล

นคร ยิ้มศิริ

3

34. การคลังรัฐบาล

อเนก เธียรถาวร

4

35. หลักการงบประมาณแผ่นดิน

ไกรยุทธ์ ธีรตยาคีนันท์

4

36. งบประมาณแผ่นดิน : ทฤษฎีและปฏิบัติ

ณรงค์ สัจพันโรจน์

6

37. การจัดซื้อและการบริหารพัสดุ

สุมน อยู่โพธิ์

3

38. ศักยภาพทางการคลังขององค์การบริหารส่วนตำบล

จรัส สุวรรณมาลา

5

39. การบริหารงานบุคคลในภาครัฐ

ยุวดี ศรีธรรมรัฐ

3

40.การบริหารงานบุคคลในภาครัฐของไทย

ศุภชัย ยาวประภาษ

2

        15.3 ตัวอย่างหนังสือหมวดการปกครองส่วนท้องถิ่น

ชื่อหนังสือ

ผู้แต่ง

จำนวน

1. การบริหารเมืองหลวงและการบริหารส่วนท้องถิ่น

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ

3

2. อบต. ในกระบวนทัศน์ใหม่

โกวิทย์ พวงงาม

2

3. การปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

โกวิทย์ พวงงาม

2

4. การปกครองส่วนท้องถิ่น

อุทัย หิรัญโต

2

5. การปกครองท้องถิ่น

ประทาน คงฤทธิศึกษากร

2

6. การบริหารส่วนท้องถิ่น

มสธ.

4

7. การบริหารราชการส่วนภูมิภาค

มสธ.

4

8. คู่มือการปฏิบัติงานด้านการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

5

9. การปกครองส่วนท้องถิ่นกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

นันทวัฒน์ บรมานันท์, แก้วคำ ไกรสรพงษ์

4

10. รัฐบาล-ท้องถิ่น ใครควรจัดบริการสาธารณะ

จรัส สุวรรณมาลา

6

11. หตุอยู่ที่ท้องถิ่น

อเนก เหล่าธรรมทัศน์

3

12. กระจายอำนาจอย่างไรสร้างประชาธิปไตย

สังศิต พิริยะรังสรรค์ และผาสุก พงษ์ไพจิต

6

13. ทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยและต่างประเทศ เปรียบเทียบ

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์

3

14. การปฏิรูประบบราชการ

คณะกรรมการ สนง.การปฏิรูประบบราชการ

5

        15.4 ตัวอย่างหนังสือหมวดการพัฒนาชุมชน/ชนบท

ชื่อหนังสือ

ผู้แต่ง

จำนวน

1. การบริหารการพัฒนาชนบท

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ

6

2. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาชุมชน

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ

5

3. การศึกษาการพัฒนาชุมชน

วิไล ตั้งจิตสมคิด

7

4. การพัฒนาชนบท

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

6

5. กระบวนการและเทคนิคของนักพัฒนา

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ

12

6. โครงสร้างและพลังพลวัตวัฒนธรรมภาคใต้กับการพัฒนา

สุทธิวงษ์ พงษ์ไพบูลย์

5

7. ากรากหญ้าถึงขอบฟ้า

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์

3

8. ธุรกิจชุมชน เส้นทางที่เป็นไปได้

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ

4

9. ารพัฒนาองค์ชุมชน

นันทิยา หุตานุวัตร และณรงค์ หุตานุวัตร

4

10. มติทางวัฒนธรรมในยุคเศรษฐกิจพอเพียง

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

5

11. เศรษฐกิจไทยในระบบทุนนิยมโลก

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

12

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ

2549

2550

2551

2552

2553

งบดำเนินการ

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

20,000

50,000

50,000

20,000

50,000

50,000

20,000

50,000

50,000

20,000

50,000

50,000

20,000

50,000

50,000

 

90,000

90,000

90,000

90,000

90,000

งบลงทุน

    -  ค่าครุภัณฑ์

    -  ค่าที่ดิน

20,000

-

20,000

-

20,000

-

20,000

-

20,000

-

รวมงบลงทุน

20,000

20,000

20,000

20,000

20,000

รวมทั้งหมด

101,000

101,000

101,000

101,000

101,000

        * หมายเหตุ : เป็นงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเป็นรายปีจากมหาวิทยาลัย

17. หลักสูตร

        17.1 จำนวนหน่วนกิตตลอดหลักสูตร

                จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

98

 

1. วิชาแกน

51

 

2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ

24

 

3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

18

 

4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

5

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

        17.3 รายวิชา และจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 98 หน่วยกิต

            1. วิชาแกน จำนวน 51 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

English for Learning

 

2451101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Introduction to Political Science

 

2451102

การเมืองและการปกครองไทย

3(3-0-6)

 

Thai Politics and Government

 

2451201

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Introduction to International Relations

 

2451301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3(3-0-6)

 

Introduction to Public Administration

 

2451303

ระเบียบปฏิบัติราชการและระบบบริหารราชการไทย

3(3-0-6)

 

Thai Government Correspondence and System

 

2451501

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม

3(3-0-6)

 

Introduction to Criminal Justice

 

2452110

ปรัชญาและทฤษฎีทางการเมือง

3(3-0-6)

 

Political Philosophy and Theory

 

2453701

ภูมิรัฐศาสตร์และบริบททางการบริหาร

3(3-0-6)

 

Geo- Political and context management

 

2453711

วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Introduction to Social Science Research Methodology

 

2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3(3-0-6)

 

Principles of jurisprudence

 

2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3(3-0-6)

 

Constitutional Law

 

2461505

กฎหมายปกครอง

3(3-0-6)

 

Administrative Law

 

4303602

สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Statistics for Social Science Research

 

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3(2-2-5)

 

Computer for Career

 

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Organization theory and Public Management

 

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

General Economics

 

        * หมายเหตุ แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เลือกเรียนรายวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

แทน 2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Organization theory and Public Management

 

            2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ จำนวน 24 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนจากแขนงวิชาใดแขนงวิชาหนึ่ง ดังต่อไปนี้

                    2.1 แขนงวิชาการเมืองการปกครอง

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Social Science

 

2451403

การปกครองท้องถิ่นไทย

3(3-0-6)

 

Thai Local Government

 

2452102

รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง

3(3-0-6)

 

Political Institutions and Constitutions

 

2452111

ผู้นำทางการเมือง

3(3-0-6)

 

Political Leadership

 

2452103

สังคมวิทยาการเมือง

3(3-0-6)

 

Political Sociology

 

2453101

การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ

3(3-0-6)

 

Comparative Polities and Government

 

2452223

การเมืองการปกครองระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Politics and Government of Neiboring Countries

 

2454701

ประมวลองค์ความรู้ทางการเมืองการปกครอง

3(3-0-6)

 

Comprehensive test in politics

 

                    2.2 แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2451401

แนวคิดและทฤษฎีการปกครองส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Concepts and Theory of Local Government

 

2451402

การเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

3(3-0-6)

 

Thai Local Politics and Government

 

2452403

การเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นเปรียบเทียบ

3(3-0-6)

 

Comparative Local Politics and Governments

 

2452404

การเมืองและนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Politics and Public Policy for Local Development

 

2452405

การวางแผนและการจัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Project and Planning for Social Development

 

2453801

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการปกครองส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

English for Local Government Communication

 

2454704

ประมวลองค์ความรู้ทางการปกครองส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Comprehensive test in Local Government

 

2462701

กฎหมายสำหรับการปกครองส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Law for Local Government

 

                    2.3 แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Social Science

 

2452302

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Public Human Resource Administration

 

2452303

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3(3-0-6)

 

Public Policy and Planning

 

2452306

การบริหารการพัฒนา

3(3-0-6)

 

Development Administration

 

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Organization theory and Public Management

 

2452311

การบริหารการเงินและการคลัง

3(3-0-6)

 

Fiscal and Budgeting Administration

 

2453319

จริยธรรมทางการบริหาร

3(3-0-6)

 

Ethics for Administration

 

2454703

ประมวลองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์

3(3-0-6)

 

Comprehensive test in Public Administration

 

                    2.4 แขนงวิชากระบวนการบริหารงานยุติธรรม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Social Science

 

2452501

กระบวนการการบริหารงานยุติธรรม

3(3-0-6)

 

Criminal Justice

 

2452510

ทฤษฎีอาชญาวิทยา

3(3-0-6)

 

Criminological Theory

 

2452511

อาชญาวิทยาคลินิค

3(3-0-6)

 

Clinical Criminology

 

2461304

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Civil Laws

 

2462503

กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป

3(3-0-6)

 

Criminal Law 1

 

2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3(3-0-6)

 

Law of Evidence

 

2454705

ประมวลองค์ความรู้ทางการบริหารงานยุติธรรม

3(3-0-6)

 

Comprehensive test in Criminal Justice

 

            3. วิชาเฉพาะด้านเลือก จำนวน 18 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนจากรายวิชาในแขนงวิชาใดวิชาหนึ่งดังต่อไปนี้

                    3.1 แขนงวิชาการเมืองการปกครอง

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2453103

การเมืองการปกครองของยุโรป

3(3-0-6)

 

Politics and Government of Europe

 

2453104

การเมืองการปกครองของเอเชีย

3(3-0-6)

 

Politics and Government in Asia

 

2453105

ความคิดทางการเมืองของเอเชีย

3(3-0-6)

 

History of Asia Political Thoughts

 

2452220

การเมืองการปกครองประเทศมหาอำนาจ

3(3-0-6)

 

Politics and Government of United States of America

 

2453110

จริยธรรมทางการเมือง

3(3-0-6)

 

Political Ethics

 

2453120

การเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา

3(3-0-6)

 

Buddhism and political

 

2453130

ประวัติความคิดทางการเมืองไทย

3(3-0-6)

 

History of Thai Political Thoughts

 

2453140

ความคิดทางเศรษฐกิจกับการเมืองไทย

3(3-0-6)

 

Thai Economics and Politics

 

2453150

พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และการเลือกตั้ง

3(3-0-6)

 

Political Parties Interest Groups and Electio

 

2454101

วัฒนธรรมทางการเมือง

3(3-0-6)

 

Culture and Politics

 

2461304

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Civil Laws

 

2462503

กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป

3(3-0-6)

 

Criminal Law 1

 

2462504

กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด

3(3-0-6)

 

Criminal Law 2

 

2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

3(3-0-6)

 

Law of Civil Procedures

 

2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3(3-0-6)

 

Law of Evidence

 

2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3(3-0-6)

 

Criminal Procedure

 

                    3.2 แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2432210

สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Social and Cultural of Local Community

 

2432102

สังคมและวัฒนธรรมไทย

3(3-0-6)

 

Thai Society and Culture

 

2452406

ภาวะผู้นำเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Leadership for Local Development

 

2452313

การบริหารการคลังและงบประมาณท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Fiscal and Budgeting Administration

 

2452402

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Law for Local Government

 

2453401

ศักยภาพทรัพยากรท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Resources

 

2453403

จริยธรรมสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Ethics for Local Administrator

 

2453404

กลยุทธ์การวางแผนพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่นเชิงบูรณาการ

3(3-0-6)

 

Strategic Planning for Integrated Spatial Development

 

2453406

การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Political Participation of the People in the Localit

 

2453407

การจัดการอบรมและสัมมนาการปกครองท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Training and Seminar in Local Government

 

2453408

การบริหารการพัฒนาท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Development Administration

 

2453409

การบริหารจัดการทรัพยากรท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Resources Management for Local

 

2453405

การบริหารจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่นไทย

3(3-0-6)

 

Thai Local Organization Management

 

2434206

สังคมวิทยาการเมืองการปกครอง

3(3-0-6)

 

Political Sociology

 

2454401

ยุทธศาสตร์การปกครองท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Government Strategies

 

2461304

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Civil Laws

 

2462503

กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป

3(3-0-6)

 

Criminal Law 1

 

2462504

กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด

3(3-0-6)

 

Criminal Law 2

 

2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

3(3-0-6)

 

Law of Civil Procedures

 

2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3(3-0-6)

 

Law of Evidence

 

2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3(3-0-6)

 

Criminal Procedure

 

                    3.3 แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2453301

เทคนิคการบริหาร

3(3-0-6)

 

Administrative Technique

 

2453303

ระบบสารสนเทศสำหรับการจัดการ

3(3-0-6)

 

Management Information System

 

2453306

การวิเคราะห์องค์การและพัฒนาระบบงาน

3(3-0-6)

 

Organization and System Analysis

 

2453307

การพัฒนาองค์การ

3(3-0-6)

 

Organization Development

 

2453310

การสร้างและพัฒนาทีมงาน

3(3-0-6)

 

Teamwork development techniques

 

2453315

การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ

3(3-0-6)

 

Comparative Public Administration

 

2453316

การบริหารรัฐวิสาหกิจไทย

3(3-0-6)

 

Thai Public Enterprise Administration

 

2453341

การวิเคราะห์นโยบาย

3(3-0-6)

 

Policy Analysis

 

2454301

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3(3-0-6)

 

Strategic Management

 

2453312

นวัตกรรมและการจัดการการเปลี่ยนแปลง

3(3-0-6)

 

Innovation and Change management

 

2454303

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

3(3-0-6)

 

Change Agent

 

2454305

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Resources Development

 

2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3(3-0-6)

 

Principles of Jurisprudence

 

2461304

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Civil Laws

 

2462503

กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป

3(3-0-6)

 

Criminal Law 1

 

2462504

กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด

3(3-0-6)

 

Criminal Law 2

 

2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

3(3-0-6)

 

Law of Civil Procedures

 

2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3(3-0-6)

 

Criminal Procedure

 

2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3(3-0-6)

 

Law of Evidence

 

                3.4 แขนงวิชากระบวนการบริหารงานยุติธรรม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2452502

ประวัติศาสตร์กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

3(3-0-6)

 

Legal History and Criminal Justice

 

2452503

กระบวนการและการบริหารคดี

3(3-0-6)

 

Process and Administration suit

 

2453501

การบริหารงานราชทัณฑ์

3(3-0-6)

 

Correctional Administration

 

2453502

สิทธิมนุษยชนกับกระบวนการยุติธรรม

3(3-0-6)

 

Human Right and Criminal Justice

 

2453504

การสังคมสงเคราะห์ในระบบงานยุติธรรม

3(3-0-6)

 

Social Work in Criminal Justice

 

2453520

การป้องกันอาชญากรรม

3(3-0-6)

 

Crime Prevention

 

2453521

การจัดการด้านความปลอดภัย

3(3-0-6)

 

Security Management

 

2453541

การพิสูจน์หลักฐาน

3(3-0-6)

 

Forensic Science

 

2453543

วิชาว่าด้วยเหยื่ออาชญากรรม

3(3-0-6)

 

Victim logy

 

2453561

การจัดองค์การแก้ไขผู้กระทำผิด

3(3-0-6)

 

Organization of Corrections

 

2453570

กิจกรรมตำรวจไทย

3(3-0-6)

 

The Thai Police

 

2461108

นิติปรัชญา

3(3-0-6)

 

Philosophy of Law

 

2461304

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Civil Laws

 

2462504

กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด

3(3-0-6)

 

Criminal Law 2

 

2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

3(3-0-6)

 

Law of Civil Procedures

 

2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3(3-0-6)

 

Criminal Procedure

 

2463403

นิติเวชศาสตร์

3(3-0-6)

 

Forensic Medicine

 

            4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 5 หน่วยกิต ให้เรียนรายวิชาดังนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2454802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐศาสตร์

5(450)

 

Field Experience in Political science

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนรายวิชาในหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่ผู้เรียนถนัดหรือสนใจโดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนในโครงสร้างของหลักสูตรโปรแกรมวิชานี้

        17.4 แผนการเรียน

                1) แขนงวิชาการเมืองการปกครอง

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2(2-0-4)

     

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2451101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

2451303

ระเบียบปฏิบัติราชการและระบบบริหารราชการไทย

3(3-0-6)

2451301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3(3-0-6)

2451501

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม

3(3-0-6)

2451201

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

2453701

ภูมิรัฐศาสตร์และบริบททางการบริหาร

3(3-0-6)

2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3(3-0-6)

2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3(3-0-6)

 

รวม

18

 

รวม

16

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2(1-2-3)

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

วิชาแกน

         

2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3(3-0-6)

วิชาเอก

   

2461505

กฎหมายปกครอง

3(3-0-6)

2452102

รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง

3(3-0-6)

วิชาเอก

   

2452103

สังคมวิทยาการเมือง

3(3-0-6)

2451403

การปกครองท้องถิ่นไทย

3(3-0-6)

2452223

การเมืองการปกครองระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

2452111

ผู้นำทางการเมือง

3(3-0-6)

เลือกเสรี

วิชาเลือกเสรี 1

3(3-0-6)

 

รวม

21

 

รวม

21

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

2453101

การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ

3(3-0-6)

2452110

ปรัชญาและทฤษฎีทางการเมือง

3(3-0-6)

2453711

วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

4303602

สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก 3

3(3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 1

3(3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก 4

3(3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก 2

3(3-0-6)

เลือกเสรี

วิชาเลือกเสรี 2

3(3-0-6)

 

รวม

18

 

รวม

18

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาแกน

   

2454802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5 (450)

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3(2-2-5)

     

2454701

ประมวลองค์ความรู้ทางการเมืองการปกครอง

3(3-0-6)

     

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 5

3(3-0-6)

     
 

วิชาเอกเลือก 6

3(3-0-6)

     
           
 

รวม

12

 

รวม

5

                2) แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2(2-0-4)

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2451201

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

2451101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

2451501

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม

3(3-0-6)

2451301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3(3-0-6)

2452110

ปรัชญาและทฤษฎีการเมือง

3(3-0-6)

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3(3-0-6)

2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3(3-0-6)

     
 

รวม

18

 

รวม

16

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2(1-2-3)

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2451102

การเมืองการปกครองไทย

3(3-0-6)

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3(3-0-6)

2451303

ระเบียบปฏิบัติราชการและระบบการบริหารราชไทย

3(3-0-6)

2461505

กฎหมายปกครอง

3(3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

     

เลือกเสรี

วิชาเลือกเสรี 1

3(3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 1

3(3-0-6)

     

เลือกเสรี

วิชาเลือกเสรี 2

3(3-0-3)

 

รวม

21

 

รวม

21

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

4303602

สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

2453711

วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3(3-0-6)

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3(2-2-5)

     

เอกบังคับ

   

เอกบังคับ

   

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

2451401

แนวคิดและทฤษฎีการปกครองท้องถิ่น

3(3-0-6)

2452403

การเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นเปรียบเทียบ

3(3-0-6)

2451402

การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย

3(3-0-6)

2452404

การเมืองและนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

เอกเลือก

   

เอกเลือก

   
 

วิชาเอกเลือก 2

3(3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก 4

3(3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก 3

3(3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก 5

3(3-0-6)

 

รวม

21

 

รวม

18

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

เอกบังคับ

         

2452405

การวางแผนและการจักทำโครงการเพื่อการพัฒนาส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

2454802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์

5 (450)

2453701

ภูมิรัฐศาสตร์และบริบททางการบริหาร

3(3-0-6)

     

2454704

การประมวลความรู้ทางการปกครองส่วนท้องถิ่น

3(3-0-6)

     

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 6

3(3-0-3)

     
 

รวม

12

 

รวม

5

                3) แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

ทั่วไป

   

ทั่วไป

   

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

วิชาแกน

   

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

2451102

การเมืองการปกครองไทย

3 (3-0-6)

วิชาแกน

   

2451501

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

2451101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3 (3-0-6)

2451201

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3 (3-0-6)

2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3 (3-0-6)

2451301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3 (3-0-6)

     

2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3 (3-0-6)

     
 

รวม

21

 

รวม

17

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2(1-2-3)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

   

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

2452110

ปรัชญาและทฤษฎีการเมือง

3 (3-0-6)

วิชาแกน

   
     

2451303

ระเบียบปฏิบัติราชการและระบบบริหาราชหารไทย

3 (3-0-6)

2452302

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3 (3-0-6)

2452311

การบริหารการเงินและการคลัง

3 (3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 3

3 (3-0-6)

       

วิชาเอกเลือก 4

3 (3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 2

3 (3-0-6)

     
 

รวม

18

 

รวม

20

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาแกน

   

วิชาเอก

   

2453701

ภูมิรัฐศาสตร์และบริบททางการบริหาร

3 (3-0-6)

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

2461505

กฎหมายปกครอง

3 (3-0-6)

2453711

วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

4303602

สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

วิชาเอก

   

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 7

3 (3-0-6)

2452303

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3 (3-0-6)

เลือกเสรี

เลือกเสรี 2

3 (3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 5

3 (3-0-6)

     
 

วิชาเอกเลือก 6

3 (3-0-6)

     

เลือกเสรี

เลือกเสรี 1

3 (3-0-6)

     
 

รวม

21

 

รวม

15

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาเฉพาะ

   

วิชาเฉพาะ

   

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

2454703

ประมวลความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์

3 (3-0-6)

2452306

การบริหารการพัฒนา

3 (3-0-6)

     

2453319

จริยธรรมทางการบริหาร

3 (3-0-6)

2454802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์

5 (450)

3201101

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจทั่วไป

3 (3-0-6)

     
 

รวม

12

 

รวม

8

                4) แขนงวิชากระบวนการบริหารงานยุติธรรม

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2(2-0-4)

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2451201

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3 (3-0-6)

2451101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

2451501

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

2451301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3 (3-0-6)

วิชาเลือก

วิชาเอกเลือก

3 (3-0-6)

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3 (3-0-6)

     
 

รวม

15

 

รวม

13

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาทั่วไป

   

วิชาทั่วไป

   

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2(1-2-3)

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2451102

การเมืองการปกครองไทย

3 (3-0-6)

2462503

กฎหมายอาญา 1

3 (3-0-6)

2452110

ปรัชญาและทฤษฎีการเมือง

3 (3-0-6)

2463506

กฎหมายพิจารณาความเพ่ง

3 (3-0-6)

2461505

กฎหมายปกครอง

3 (3-0-6)

วิชาเลือก

วิชาเลือก 2

3 (3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 1

3 (3-0-36)

     
 

รวม

21

 

รวม

18

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาแกน

   

วิชาแกน

   

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

2453701

ภูมิรัฐศาสตร์และบริบททางการบริหาร

3 (3-0-6)

4303602

สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3 (3-0-6)

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

บังคับ

   

บังคับ

   

2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3 (3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

2452504

กฎหมายอาญา 2

3 (3-0-6)

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 4

3 (3-0-6)

เอกเลือก

เอกเลือก 3

3 (3-0-6)

เลือกเสรี

วิชาเอกเลือก 5

3 (3-0-6)

เลือกเสรี

วิชาเลือกเสรี 1

3 (3-0-6)

 

วิชาเลือกเสรี 2

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

รวม

21

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

นก/คาบ

วิชาแกน

         

2451303

ระเบียบปฏิบัติราชการและระบบการบริหารราชการไทย

3 (3-0-6)

2454802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์

5 (450)

2453711

วิธีวิทยาทางการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

     

บังคับ

         

2454705

ประมวลความรู้ทางการบริหารงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

     

2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3 (3-0-6)

     

เอกเลือก

วิชาเอกเลือก 6

3 (3-0-6)

     
 

รวม

15

 

รวม

5

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชา หมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน

รายวิชา 2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

  English for Learning  

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 2451101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ รัฐศาสตร์

3(3-0-6)

  Introduction to Political Science  

        ศึกษาขอบข่ายและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน และระหว่างอำนาจกับกฎหมาย กระบวนการทางการเมือง รัฐบาล รัฐสภา พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ลัทธิและอุดมการณ์ทางการเมืองที่สำคัญตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยสังเขป

รายวิชา 2451102

การเมืองและการปกครองของไทย

3 (3-0-6)

  Thai Politics and Government  

        ศึกษาความรู้พื้นฐานการเมืองและการปกครอง หน้าที่ของรัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม ประชาชนกับบทบาททางการเมือง พฤติกรรมทางการเมืองของไทย วิเคราะห์ปัญหาและเปรียบเทียบแนวความคิดเกี่ยวกับการปกครองและการเมือง

รายวิชา 2451201

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น

3 (3-0-6)

  Introduction to International Relations  

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบเขต วิวัฒนาการ แนวคิดและทฤษฎีของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การกำหนดนโยบายต่างประเทศ เครื่องมือและแบบแผนในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ

รายวิชา 2451301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3 (3-0-6)

  Introduction to Public Administration  

        ศึกษาความหมาย พัฒนาการ แนวความคิด ทฤษฎี และความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานคลังและงบประมาณ องค์การและกระบวนการบริหารงาน

รายวิชา 2451303

ระเบียบปฏิบัติราชการและระบบบริหารราชการไทย

3 (3-0-6)

  Thai Government Correspondence and System  

        ศึกษาพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทย ระเบียบข้าราชการพลเรือน ระเบียบปฏิบัติราชการและเลขานุการ และการศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารราชการของไทยในเรื่องปรัชญา ทฤษฎี แนวความคิด ค่านิยม ระบบ และวิวัฒนาการ การจัดส่วนราชการของไทย ลักษณะและความสัมพันธ์ภายใจองค์การทางราชการ อิทธิพลของระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย ปัญหาการบริหารราชการไทยในระดับท้องถิ่น ตลอดจนแนวทางแก้ไขปัญหา

รายวิชา 2451501

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

  Introduction to Criminal Justice  

        ศึกษาความหมาย พัฒนาการ แนวความคิด ทฤษฎี การบริหารงานยุติธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาการบริหารงานยุติธรรมกับวิชาสาขาอื่น บทบาทและหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานยุติธรรม แนวโน้มของการบริหารงานยุติธรรมในอนาคต

รายวิชา 2452110

ปรัชญาและทฤษฎีทางการเมือง

3 (3-0-6)

  Political Philosophy and Theory  

        ศึกษาเกี่ยวกับปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีในยุคสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปรัชญาการเมืองตะวันออก เช่น ฮินดู เต๋า พุทธ ขงจื้อ และปรัชญาการเมืองตะวันตก เช่น เพลโต โสเครติส อริสโตเติล และศึกษาเกี่ยวกับหลักทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ และทฤษฎีการเมือง สำคัญ ๆ ในทางรัฐศาสตร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น ทฤษฎีระบบ ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ ทฤษฎีเชิงอำนาจ และทฤษฎีบทบาท เป็นต้น และศึกษาแนวคิดที่สำคัญ ๆ เกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย สัญญาประชาคม เสรีนิยม สังคมนิยม และแนวคิดสมัยใหม่

รายวิชา 2453701

ภูมิรัฐศาสตร์และบริบททางการบริหาร

3 (3-0-6)

  Geo- Political and context management  

        ศึกษาลักษณะภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะ ที่ตั้ง สภาพแวดล้อม พรมแดน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีส่วนเกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง

รายวิชา 2453711

วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

  Introduction to Social Science Research Methodology  

        ศึกษาเกี่ยวกับจุดประสงค์และความหมายของการวิจัยทางสังคมศาสตร์วิธีการต่าง ๆ ในการวิจัย การดำเนินการวิจัย การใช้สถิติ แหล่งข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การเขียนรายงาน การอ่านผลการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การนำวิธีการและผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติงาน ฝึกปฏิบัติการดำเนินงานวิจัยภาคสนามทุกขั้นตอน

รายวิชา 2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3 (3-0-6)

  Principles of Jurisprudence  

        ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ได้แก่ ความหมายประเภทความสำคัญ การจัดทำ การใช้ การยกเลิก การตีความ และกระบวนการยุติธรรม ฯลฯ ศึกษากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญา เฉพาะในส่วนที่เป็นความรู้เบื้องต้น

รายวิชา 2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3 (3-0-6)

  Constitutional Law  

        ศึกษาวัตถุประสงค์ของกฎหมายรัฐธรรมนูญชนิดต่างๆ ศึกษาการกำหนดและการสถาปนารัฐธรรมนูญ ศึกษาการปกครอง ตามระบอบรัฐธรรมนูญตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน เปรียบเทียบตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน

รายวิชา 2461505

กฎหมายปกครอง

3 (3-0-6)

  Administrative Law  

        ศึกษาความหมาย ที่มาของกฎหมายปกครอง หลักการจัดระเบียบทางปกครอง การจัดระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน กิจการทางปกครอง บริการสาธารณะ การกระทำทางปกครอง หลักกฎหมายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐและการควบคุมฝ่ายปกครอง

รายวิชา 4303602

สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐศาสตร์

3 (3-0-6)

  Statistics for Social Science Research  

        ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด วิธีการทางสถิติ สถิติภาคพรรณนา สถิติวิเคราะห์เบื้องต้น กระบวนการและเทคนิคการใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์

รายวิชา 4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

  Computer for Career  

        ศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยวกับโครงสร้างและวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่าง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น การใช้ซอฟต์แวร์ชุดสำนักงาน ระบบฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์เวอร์คชีต เวอร์ดโปรเซสเซอร์ ฯลฯ

รายวิชา 2452310

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3 (3-0-6)

  Organization theory and Public Management  

        ศึกษาความหมายและความสำคัญขององค์การ ระบบย่อยขององค์การ สิ่งแวดล้อมขององค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับการจัดการ ความหมายของทฤษฎี ความหมายของทฤษฎีองค์การ ระเบียบวิธีการศึกษา และการศึกษาพฤติกรรมและการจัดการโดยเน้นให้เห็นความสำคัญและความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการ และลักษณะโครงสร้างขององค์การภาครัฐทั่วไป การวางแผน การจัดสายงานหลักเกณฑ์และหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้าน ในแง่การวางแผนการจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจ คนทำงาน การควบคุมการปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายที่ตั้งไว้

รายวิชา 3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

  General Economics  

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และกลไกทำงานของระบบราคา สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวันเพื่อการประกอบธุรกิจ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตลาด สถาบันการเงิน การภาษีอากร การค้า การลงทุน ปัญหาเศรษฐกิจและแนวทางการแก้ไขปัญหา

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

  Introduction to Business Operation  

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

 

            3. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                วิชาเฉพาะด้านบังคับ

                    3.1 แขนงวิชาการเมืองการปกครอง

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

  English for Social Science  

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2451403

การปกครองท้องถิ่นไทย

3 (3-0-6)

  Thai Local Government  

        ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการปกครองท้องถิ่น ที่เป็นรากฐานของการ ปกครองและการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยจากแนวคิดตะวันตก และเน้นการปกครองท้องถิ่นไทย ประวัติและพัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองท้องถิ่นกับการปกครองส่วนกลางในแง่อำนาจ รูปแบบ ปัญหาและผลกระทบต่อการพัฒนาสังคม และการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

รายวิชา 2452102

รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง

3 (3-0-6)

  Political Institutions and Constitutions  

        ศึกษาวัตถุประสงค์ของรัฐธรรมนูญ ชนิดต่าง ๆ ของรัฐธรรมนูญ กำเนิดหรือการสถาปนารัฐธรรมนูญ อำนาจอธิปไตยและการปกครองแบบประชาธิปไตย การมีสภานิติบัญญัติสภาเดียว หรือสองสภา การแบ่งอำนาจและรูปแบบของรัฐบาลต่าง ๆ ที่สืบเนื่องมาจากการแบ่งอำนาจ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ สิทธิและเสรีภาพของบุคคล การปกครองก่อนมีรัฐธรรมนูญในประเทศไทยโดยย่อ ลักษณะทั่วไปและองค์กรปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทยที่มีมาแล้ว ลักษณะทั่วไปและหลักการสำคัญของกฎหมายการเลือกตั้งแห่งประเทศไทย พระมหากษัตริย์ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา การดำเนินการและวิธีการปฏิบัติงานของรัฐสภา การบัญญัติกฎหมาย ความเกี่ยวพันระหว่างคณะรัฐมนตรีกับรัฐสภา ศาลและตุลาการรัฐธรรมนูญ ศาลพิเศษและองค์การอื่น ๆ และการปกครองท้องถิ่น

รายวิชา 24521111

ผู้นำทางการเมือง

3 (3-0-6)

  Political Leadership  

        ศึกษาความหมาย แนวคิด ทฤษฎี คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ รวมทั้งคุณธรรมและจริยธรรมของผู้นำทางการเมือง บทบาทของผู้นำกับการบริหารพัฒนาการเมืองและแนวคิดใหม่ ๆ ทางการเมืองสำหรับผู้นำสมัยใหม่

รายวิชา 2452103

สังคมวิทยาการเมือ

3 (3-0-6)

  Political Sociology  

        ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดทางสังคมวิทยา ซึ่งเป็นพื้นฐานในการนำไปสู่แนววิเคราะห์ทางการเมือง เช่น สถาบันทางสังคม การแบ่งชนชั้นทางสังคม วัฒนธรรมทางการเมือง ชนชั้นนำ และผู้นำทางการเมือง รวมทั้งอำนาจทางการเมือง

รายวิชา 24531011

การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ

3 (3-0-6)

  Comparative Polities and Government  

        ศึกษาแนวคิดและวิธีการต่าง ๆ ในการศึกษาการปกครองเปรียบเทียบระหว่างการปกครอง แนวคิด หลักการ เป้าหมายในการปกครอง ตลอดจนโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ของการปกครอง โดยทางการศึกษาเปรียบเทียบของประเทศต่าง ๆ โดยเลือกเฉพาะประเทศที่สำคัญในประชาธิปไตย กลุ่มคอมมิวนิสต์ และประเทศโลกที่สาม ศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมือง โครงสร้างและหน้าที่ของระบบการปกครองในประเด็นสำคัญ

รายวิชา 2452221

การเมืองและการปกครองของประเทศเพื่อนบ้าน

3 (3-0-6)

  Politics and Government of Neighboring Countries  

        ศึกษาภูมิหลังและระบบการเมืองการปกครองของประเทศเพื่อนบ้านของไทย เช่น พม่า มาเลเซีย ลาว และกัมพูชา ศึกษาโครงสร้าง-หน้าที่ กระบวนการและการกำหนดนโยบายต่างประเทศ แนวทางการดำเนินการนโยบายต่างประเทศของประเทศเหล่านี้ ศึกษาสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมตลอดทั้งความร่วมมือและความขัดแย้งในด้านต่างๆ ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งนี้จะพิจารณาถึงวิวัฒนาการถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านและพฤติกรรมทางการเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

รายวิชา 24547011

ประมวลองค์ความรู้ทางการเมืองการปกครอง

3 (3-0-6)

  Comprehensive test in politics  

        ศึกษารวบรวมและประมวลองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ในด้านต่าง ๆ และการบริหารจัดการ การพัฒนา และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

                    3.2 แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น

รายวิชา 24514011

แนวคิดและทฤษฎีการปกครองส่วนท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Concepts and Theory of Local Government  

        ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับรัฐและการปกครอง หลักการจัดการปกครองและบริหารทฤษฎีการปกครองส่วนท้องถิ่น การปกครองส่วนท้องถิ่นของต่างประเทศที่สำคัญและการปกครองส่วนท้องถิ่นในอนาคต

รายวิชา 2451402

การเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

3 (3-0-6)

  Thai Local Politics and Government  

        ศึกษาถึงแนวความคิด อุดมคติ และหลักการการจัดโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ในการปกครองของไทย ความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น กระบวนการของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายประจำขององค์กรปกครองท้องถิ่นไทย ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายประจำความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มของการเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย

รายวิชา 24524033

การเมืองการปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ

3 (3-0-6)

  Comparative Local Politics and Governments  

        ศึกษาเปรียบเทียบระบบการการเมืองการปกครอง การปกครองท้องถิ่นสากล เปรียบเทียบแนวคิด หลักการเป้าหมายในการปกครองท้องถิ่น ตลอดจนโครงสร้างการจัดองค์การ และอำนาจหน้าที่ขององค์การปกครองท้องถิ่น ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่น และพัฒนาการทางการเมืองการปกครองท้องถิ่นในประเทศต่าง ๆ

รายวิชา 24524044

การเมืองและนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Politics and Public Policy for Local Development  

        ศึกษาโครงสร้าง อำนาจ หน้าที่ในท้องถิ่น ระบบการเมือง การกำหนดนโยบาย กระบวนการตัดสินใจและวิธีวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ และแนวคิดและอุดมการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาบทบาทหน้าที่ขององค์กรรัฐ องค์กรเอกชน และองค์กรชุมชนที่จัดบริการเพื่อการพัฒนา นโยบายและกลไกเพื่อแก้ไขปัญหาการบริหารการพัฒนา แนวโน้มการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อการพึ่งตนเอง

รายวิชา 24524055

การวางแผนและการจัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Project and Planning for Social Development  

        ศึกษากระบวนการนำความรู้ทางทฤษฎี และการฝึกปฏิบัติภาคสนามในชุมชน สร้างกรอบแนวความคิดในการวางแผน และการจัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

  English for Social Science  

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2454704

ประมวลองค์ความรู้ทางการปกครองส่วนท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Comprehensive test in Local Government  

        ศึกษารวบรวมและประมวลองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ในด้านต่าง ๆ และการบริหารจัดการ การพัฒนา และการปกครองส่วนท้องถิ่นตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

รายวิชา 2462701

กฎหมายสำหรับการปกครองส่วนท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Law for Local Government  

        ประวัติรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 สิทธิและเสรีภาพในรัฐธรรมนูญ หลักทางปกครองของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ การบริการสาธารณะ คำสั่งทางปกครอง นิติกรรมและสัญญาทางปกครอง การควบคุมอำนาจรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ นิติวิธีทางปกครอง กฎหมายเกี่ยวกับงานบริหารการปกครองท้องถิ่น

                    3.3 แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

  English for Social Science  

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2452302

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

3 (3-0-6)

  Public Human Resource Administration  

        ศึกษาปรัชญา ความเป็นมา แนวคิด และนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การวางแผนกำลังคน การกำหนดงานและตำแหน่ง การกำหนดเงินเดือน และค่าตอบแทนการสรรหา การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเลื่อนตำแหน่ง การปรับเปลี่ยนหมุนเวียนโยกย้าย การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ การออกจากราชการ ศึกษาผลของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม

รายวิชา 2452303

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

3 (3-0-6)

  Public Policy and Planning  

        ศึกษาแนวความคิดและวิธีการในการกำหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผน ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ กำหนดนโยบายสาธารณะและแผนงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การวิเคราะห์นโยบายและแผนระดับของแผน ขั้นตอนของการวางแผน การนำแผนไปปฏิบัติ ปัญหาและอุปสรรคในการกำหนดนโยบายและการวางแผนการศึกษาดังกล่าวจะเน้นถึงนโยบายและแผนงานของรัฐบาลที่เกี่ยวกับท้องถิ่น

รายวิชา 24523066

การบริหารการพัฒนา

3 (3-0-6)

  Development Administration  

        ศึกษากระบวนการบริหาร ศึกษาเปรียบเทียบการบริหารการพัฒนาของไทยกับประเทศอื่น ๆ และศึกษาถึงหลักการ และทฤษฎีการบริหารการพัฒนาโดยเน้นการพัฒนาระบบบริหาร บทบาทของระบบบริหารในการพัฒนาประเทศ รวมตลอดถึงความสัมพันธ์และปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาท้องถิ่น และประเทศ

รายวิชา 24523100

ทฤษฎีองค์การและการจัดการภาครัฐ

3 (3-0-6)

  Organization theory and Public Management  

        ศึกษาความหมายและความสำคัญขององค์การ ระบบย่อยขององค์การ สิ่งแวดล้อมขององค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับการจัดการ ความหมายของทฤษฎี ความหมายของทฤษฎีองค์การ ระเบียบวิธีการศึกษา และการศึกษาพฤติกรรมและการจัดการโดยเน้นให้เห็นความสำคัญและความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการ และลักษณะโครงสร้างขององค์การภาครัฐทั่วไป การวางแผน การจัดสายงานหลักเกณฑ์และหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้าน ในแง่การวางแผนการจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจ คนทำงาน การควบคุมการปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายที่ตั้งไว้

รายวิชา 24523111

การบริหารการเงินและการคลัง

3 (3-0-6)

  Fiscal and Budgeting Administration  

        ศึกษาความหมาย ทฤษฎี แนวคิด นโยบายเกี่ยวกับการคลัง และการงบประมาณ ระบบการคลัง นโยบายทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง นโยบายการเงินของรัฐ ระบบภาษีอากร รายรับ รายจ่ายของรัฐ หนี้สาธารณะ กระบวนการงบประมาณ เทคนิคและการวิเคราะห์งบประมาณ ปัญหาต่าง ๆ การงบประมาณของประเทศไทย รวมทั้งบทบาทหน้าที่ของสถาบันทางการเงิน

รายวิชา 2453319

จริยธรรมทางการบริหาร

3 (3-0-6)

  Ethics for Administration  

        ความรู้พื้นฐาน แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับจริยศาสตร์ จรรยาบรรณทางการบริหารและคุณธรรมพื้นฐานสำหรับนักบริหาร ธรรมาภิบาลกับการบริหารจริยธรรมกับการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมพื้นบ้านกับการบริหาร การประยุกต์ใช้ศาสนธรรมในการบริหารท้องถิ่น กรณีศึกษาปัญหาทางการบริหาร

รายวิชา 24547033

ประมวลองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์

3 (3-0-6))

  Comprehensive test in Public Administration  

        ศึกษารวบรวมและประมวลองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในด้านต่าง ๆ และการบริหารจัดการ การพัฒนาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

                    3.4 แขนงวิชากระบวนการบริหารงานยุติธรรม

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

  English for Social Science  

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 24525011

กระบวนการการบริหารงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

  Criminal Justice  

        วิเคราะห์นโยบายและการปฏิบัติของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม บทบาทอำนาจและความสัมพันธ์ของสถาบันนิติบัญญัติ ตุลาการ ตำรวจ ทนายความ อัยการและราชทัณฑ์ อิทธิพลของประชาชนที่มีต่อสถาบันดังกล่าว

รายวิชา 2452510

ทฤษฎีอาชญาวิทยา

3 (3-0-6)

  Criminological Theory  

        วิวัฒนาการของทฤษฎี การเกิดแห่งอาชญากรรม ปัจจัยทางจิตวิทยาเกี่ยวกับสาเหตุของอาชญา-กรรม และแบบของพฤติกรรมเบี่ยงเบน บทบาทของพฤติกรรมเบี่ยงเบนและลักษณะของการยอมรับในสังคม สาเหตุแห่งอาชญากรรมจากสภาพไร้บรรทัดฐานและการขัดแย้งทางวัฒนธรรม ทฤษฎีการรวมตัวของกลุ่ม ขบวนการถ่ายทอดพฤติกรรมทางอาชญากรและนิเวศวิทยาอาชญากร

รายวิชา 24524111

อาชญาวิทยาคลินิค

3 (3-0-6))

  Clinical Criminology  

        สภาพความเจ็บปวดทางจิตและทางประสาทที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุแห่งอาชญากรรมและการกระทำผิดของเด็ก บทบาทของจิตแพทย์ในการตัดสินความรับผิดชอบทางอาญาของผู้กระทำผิดที่ป่วยเป็นโรคจิต การวิเคราะห์นิติจิตเวชวิทยา การบำบัดรักษาหรือการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิดเป็นรายบุคคลโดยใช้วิธีการทางจิตแพทย์และการสังคมสงเคราะห์ในการบำบัดรักษาผู้กระทำผิด

รายวิชา 2461301

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3 (3-0-6)

  Civil Laws  

        ศึกษาหลักการของกฎหมายแพ่ง สารบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ ครอบครัวมรดก

รายวิชา 2462503

กฎหมายอาญา 1

3 (3-0-6)

  Criminal Law 1  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 ตั้งแต่มาตรา 11 – 106 และภาค 3 ลหุโทษมาตรา 367 – 398

รายวิชา 2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3 (3-0-6)

  Law of Evidence  

        ศึกษาลักษณะและกฎเกณฑ์การสืบพยานหลักฐานของศาล ทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา หลักในการรับฟังและไม่รับฟังพยานหลักฐาน หลักเกี่ยวกับพยาน ความเห็นข้อที่ศาลรู้เอง ข้อสันนิษฐาน หน้าที่นำสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 ลักษณะ 5 ปละประมวลกฎหมายวิธีพิจาณาความอาญาภาค 5

รายวิชา 24547055

ประมวลองค์ความรู้ทางการบริหารงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

        ศึกษารวบรวมและประมวลองค์ความรู้ทางการบริหารงานยุติธรรมในด้านต่าง ๆ และการบริหารจัดการ การพัฒนาทางการบริหารงานยุติธรรม ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

 

            4. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                วิชาเฉพาะด้านเลือก

                    4.1 แขนงวิชาการเมืองการปกครอง

รายวิชา 24531033

การเมืองการปกครองของยุโรป

3 (3-0-6)

  Politics and Government of Europe  

        ศึกษารูปแบบการเมืองการปกครองของกลุ่มประเทศยุโรป โดยศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อโครงสร้าง การปกครองระบบริหารของรัฐ ลักษณะของสถานบันการเมืองรัฐบาล พฤติกรรมทางการเมือง และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางการเมืองต่าง ๆ

รายวิชา 24531044

การเมืองการปกครองของเอเชีย

3 (3-0-6)

  Politics and Government in Asia  

        ศึกษาภูมิหลังและระบบการเมืองการปกครองของประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย ทั้งเอเชียอาคเนย์ เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ โดยศึกษาโครงสร้าง –หน้าที่ กระบวนการและนโยบายตลอดจนสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อระบบการเมืองการปกครองในเอเชีย ทั้งนี้ จะพิจารณาถึงวิวัฒนาการและพฤติกรรมทางการเมืองที่เป็นปัญหาอยู่ในระบบการเมืองการปกครองของประเทศในเอเชีย

รายวิชา 2453105

ความคิดทางการเมืองของเอเชีย

3 (3-0-6)

  History of Asia Political Thoughts  

        ศึกษาแนวความคิดทางการเมืองของรัฐบุรุษและนักคิดของประเทศต่าง ๆ ในเอเชียที่สำคัญ ๆ ในสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น มหาตมะ คานธี เหมาเจ๋อตุง ดร.อัมเบ็ดการ์ ท่านพุทธทาส เป็นต้น โดยจะเป็นการศึกษาจากหลักฐานที่ปรากฏในเอกสารต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการเข้าใจอิทธิพลทางความคิดและผลของการเปลี่ยนแปลงทางความคิดทางการเมืองการปกครองที่ปรากฏชัดขึ้นในสมัยต่อ ๆ มา จนถึงระบบการเมืองการปกครองในสมัยปัจจุบัน

รายวิชา 2452220

การเมืองการปกครองของประเทศมหาอำนาจ

3 (3-0-6)

  Politics and Government of United States of America  

        ศึกษาความเป็นมาทางรัฐธรรมนูญและกฎหมายของการเมืองของสหรัฐอเมริกาและประเทศมหาอำนาจอื่น ๆ โดยศึกษาภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ สังคมอุดมการณ์ ระบบเศรษฐกิจ และลักษณะภูมิศาสตร์ วิเคราะห์สถานบันพื้นฐานของการปกครองและพลังที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติของรัฐบาล บทบาทของประธานาธิบดี ความสัมพันธ์ระหว่างสหพันธ์กีบมลรัฐ ระบบพรรคการเมืองและการดำเนินงานของรัฐบาลและศาล

รายวิชา 2453110

จริยธรรมทางการเมือง

3 (3-0-6)

  Political Ethics  

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของจริยธรรมทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมกับการเมือง ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและหลักจริยธรรมในทางรัฐศาสตร์ การจัดโครงการส่งเสริมจริยธรรมเพื่อการพัฒนาประเทศ และการใช้จริยธรรมในการพัฒนาวิถีทางประชาธิปไตย

รายวิชา 24531200

การเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา

3 (3-0-6)

  Buddhism and political  

        ศึกษาความหมายความสำคัญและขอบข่ายของรัฐศาสตร์และพระพุทธศาสนา วิเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์และพระพุทธศาสนา หลักธรรมทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับรัฐศาสตร์ เทคนิควิธีการปกครองตามหลักพุทธศาสนา เปรียบเทียบรัฐศาสตร์ตามพุทธศาสนากับรัฐศาสตร์ทั่วไป ตลอดทั้งศึกษาความสัมพันธ์ ผลกระทบของพุทธศาสนากับการเมืองในประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

รายวิชา 2453130

ประวัติความคิดทางการเมืองไทย

3 (3-0-6)

  History of Thai Political Thoughts  

        ศึกษาแนวความคิดทางการเมืองของรัฐบุรุษและนักคิดไทยที่สำคัญ ๆ ในสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงต้นรัตนโกสินทร์โดยจะเป็นการศึกษาจากหลักฐานที่ปรากฏอยู่ในเอกสารต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึกหลักต่าง ๆ ไตรภูมิพระร่วง และวรรณกรรมต่าง ๆ ของยุค ตลอดจนกฎหมาย พระราชพิธีประเพณี เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการเข้าใจ ผลของการเปลี่ยนแปลงทางความคิดทางการเมืองที่ปรากฏชัดขึ้นในสมัยต่อ ๆ มา จวบจนถึงสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ ปี พ.ศ. 2475

รายวิชา 2453140

ความคิดทางเศรษฐกิจกับการเมืองไทย

3 (3-0-6)

  Thai Economics and Politics  

        ศึกษาแนวคิดพื้นฐานว่าด้วยความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับการเมือง วิวัฒนาการของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ ในประเทศไทย ลักษณะทั่วไปและกลไกการขยายตัว ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเศรษฐกิจประเภทต่าง ๆ การสร้างฐานอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มการเมือง และการสร้างฐานอำนาจทางการเมืองของกลุ่มเศรษฐกิจในสมัยต่าง ๆ

รายวิชา 24531500

พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และการเลือกตั้ง

3 (3-0-6)

  Political Parties Interest Groups and Electio  

        ศึกษาความทฤษฎี ความเป็นมาของการเลือกตั้ง พรรคการเมือง กลุ่มอิทธิพลและกลุ่มผลประโยชน์ ความสำคัญ บทบาท และอิทธิพลของกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ รวมทั้งความสัมพันธ์กับรัฐบาล ตลอดจนศึกษาถึงพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และปัญหาการเลือกตั้ง เน้นกรณีประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ

รายวิชา 2454101

วัฒนธรรมทางการเมือง

3 (3-0-6)

  Culture and Politics  

        ศึกษาแนวคิดและพฤติกรรมทางการเมือง สถาบันการเมือง การจัดการปกครอง รูปแบบของรัฐ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ภาพระหว่างการเมืองกับการบริหารจัดการ ศึกษาความหมายและขอบข่ายของการบริหารจัดการและบทบาทการบริหารจัดการตามกระบวนการทางการเมือง พิจารณาลักษณะสำคัญและปัญหาของกระบวนการบริหารจัดการอันเป็นผลมาจากอิทธิพลทางการเมือง ระบบกฎหมาย วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคม เป็นต้น

รายวิชา 24613011

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3 (3-0-6)

  Civil Laws  

        ศึกษาหลักการของกฎหมายแพ่ง สารบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ ครอบครัวมรดก

รายวิชา 2462503

กฎหมายอาญา 1

3 (3-0-6)

  Criminal Law 1  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 ตั้งแต่มาตรา 11 – 106 และภาค 3 ลหุโทษมาตรา 367 – 398

รายวิชา 2462504

กฎหมายอาญา 2

3 (3-0-6)

  Criminal Law 2  
  วิชาบังคับก่อน : 2562305 กฎหมายอาญา:ภาคทั่วไป  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ตั้งแต่มาตรา 107 – 366

รายวิชา 2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความเพ่ง

3 (3-0-6)

  Law of Civil Procedures  

        ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยบททั่วไป วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น อุทธรณ์และฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1-2-3

รายวิชา 24635088

กฎหมายลักษณะพยาน

3 (3-0-6)

  Law of Evidence  

        ศึกษาลักษณะและกฎเกณฑ์การสืบพยานหลักฐานของศาล ทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา หลักในการรับฟังและไม่รับฟังพยานหลักฐาน หลักเกี่ยวกับพยาน ความเห็นข้อที่ศาลรู้เอง ข้อสันนิษฐาน หน้าที่นำสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 ลักษณะ 5 ปละประมวลกฎหมายวิธีพิจาณาความอาญาภาค 5

รายวิชา 24635100

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3 (3-0-6)

  Criminal Procedure  

        ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินคดีอาญาเกี่ยวกับหลักทั่วไปวิธีพิจารณา ในศาลชั้นต้น ชั้นอุทธรณ์ ชั้นฎีกา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                4.2 แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น

รายวิชา 2453472

สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Social and Cultural of Local Community  

        ขอบเขต ความหมาย ความสำคัญของสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โครงสร้างสังคมท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น วิธีการศึกษาชุมชนนโยบายเพื่อการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น

รายวิชา 24332100

สังคมและวัฒนธรรมไทย

3 (3-0-6)

  Thai Society and Culture  

        ประวัติความเป็นมา ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประชากร สถาบันสังคม และวัฒนธรรมของสังคมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับวัฒนธรรมและปัญหาสังคมวัฒนธรรมของสังคมไทยปัจจุบัน มีการศึกษานอกสถานที่

รายวิชา2452406

ภาวะผู้นำเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Leadership for Local Development  

        ศึกษาลักษณะ ประเภทของผู้นำ บุคลิกภาพ จิตลักษณะสู่ภาวะผู้นำที่เอื้อต่อการพัฒนาท้องถิ่น คุณลักษณะและบทบาทหน้าที่ของผู้นำที่จะมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างการพัฒนางานในท้องถิ่น บทบาทของผู้นำ การสร้างทีมงาน จิตวิทยาและเทคนิควิธีในการเป็นผู้นำและการทำงานเป็นทีม การสร้างแรงจูงใจและความภูมิใจให้ทีมงาน การจัดการความขัดแย้งในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจในการทำงานเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำในการกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาท้องถิ่นและสร้างพลังความเข้มแข็งของชุมชน

รายวิชา 24523133

การบริหารการคลังและงบประมาณท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Fiscal and Budgeting Administration  

        ศึกษาความหมาย ทฤษฎี แนวคิด นโยบายเกี่ยวกับการคลังและการงบประมาณ ระบบการคลัง นโยบายทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง นโยบายการเงินของรัฐ ระบบภาษีอากร รายรับ รายจ่ายของรัฐ หนี้สาธารณะ กระบวนการงบประมาณ เทคนิคและการวิเคราะห์งบประมาณ ปัญหาการงบประมาณของประเทศไทย

รายวิชา 2452402

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Law for Local Government  

        ประวัติรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 สิทธิและเสรีภาพในรัฐธรรมนูญ หลักการปกครองของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ การบริการสาธารณะ คำสั่งทางปกครอง นิติกรรมและสัญญาทางปกครอง การควบคุมอำนาจรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ นิติวิธีทางปกครอง กฎหมายเกี่ยวกับงานบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่น

รายวิชา 24534011

ศักยภาพทรัพยากรท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Local Resources  

        องค์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรท้องถิ่น ประเภท สถานการณ์ สถานภาพ และวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมท้องถิ่นการศึกษาสำรวจและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่น การประเมินสถานภาพและผลกระทบจาการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นรวมถึงการจัดการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่น

รายวิชา 2453403

จริยธรรมสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Ethics for Local Administrator  

        ความรู้พื้นฐาน แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับจริยศาสตร์ จรรยาบรรณทางการบริหารและคุณธรรมพื้นฐานสำหรับนักบริหาร ธรรมาภิบาลกับการบริหารท้องถิ่น จริยธรรมกับการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรท้องถิ่น วัฒนธรรมพื้นบ้านกับการ บริหารท้องถิ่น การประยุกต์ใช้ศาสนธรรมในการบริหารท้องถิ่น กรณีศึกษาปัญหาทางการบริหารการปกครองท้องถิ่น

รายวิชา 24534044

กลยุทธ์การวางแผนพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่นเชิงบูรณาการ

3 (3-0-6)

  Strategic Planning for Integrated Spatial Development  

        แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่น เมืองและชนบท ชุมชนท้องถิ่นในอุดมคติ แนวคิดนโยบายและแผนการพัฒนาพื้นที่ การศึกษาและวิเคราะห์ ระบบภูมินิเวศท้องถิ่น กลยุทธ์ กระบวนการ และเทคนิคการวางแผนพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่น เทคนิคภูมิสนเทศ เพื่อการพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่น การกำหนดเขตการจัดการ การวางผังเมืองและท้องถิ่นชุมชนน่าอยู่ การจัดการภูมิทัศน์และพื้นที่สาธารณะ การพัฒนาท้องถิ่นในลักษณะบูรณาการ

รายวิชา 2453406

การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Political Participation of the People in the Localit  

        ศึกษาแนวและคิดทฤษฎี รูปแบบ พฤติกรรม ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของการมีส่วนร่วมกับของประชาชนกับการดำเนินการบริหารประเทศของรัฐบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนรวมทางการเมืองของประชาชน

รายวิชา 2453407

การจัดอบรมและสัมมนาการปกครองท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Training and Seminar in Local Government  

        สัมมนาประเด็นต่าง ๆ ของการปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งของไทยและต่างประเทศ เน้นการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของการพัฒนา รูปแบบของการจัดการปกครองถิ่นไทย โดยพิจารณาร่วมกันระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน

รายวิชา 24534088

การบริหารการพัฒนาท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Local Development Administration  

        แนวคิดการบริหารการพัฒนา ระบบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารปกครองระดับต่าง ๆ ที่เน้นการพัฒนา ตัวแบบแนวคิดการบริหารการพัฒนา การจัดองค์กรพัฒนายุทธศาสตร์และกระบวนการบริหารที่เน้นผลสัมฤทธิ์ เงื่อนไขของการบริหารการพัฒนาท้องถิ่นวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารพัฒนาท้องถิ่นโดยกรณีศึกษา

รายวิชา 2453409

การบริหารจัดการทรัพยากรท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Resources Management for Local  

        ศึกษาแนวคิด หลักการ และเทคนิควิธีการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นในลักษณะสหวิทยาการเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติ ศึกษาเปรียบเทียบสภาพปัญหา นโยบาย กฎหมาย แนวโน้มมาตรการและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรของประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย เน้นแนวคิดการจัดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและอย่างเป็นระบบ ศึกษาดูงานจากโครงการในพระราชดำริ

รายวิชา 2453405

การบริหารจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่นไทย

3 (3-0-6)

  Thai Local Organization Management  

        ศึกษาความหมาย หลักการ ประเภทขององค์กรในท้องถิ่น ทั้งที่เป็นของรัฐและเอกชน โครงสร้างของสังคมกับการจัดการในท้องถิ่น หลักการจัดการองค์การในท้องถิ่น การประสานงาน การจัดการองค์การท้องถิ่นและแนวทางในการแก้ไขปรับปรุง โดยเน้นองค์การท้องถิ่นไทย และความสัมพันธ์ขององค์การท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยปัจจุบัน รวมทั้งความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

รายวิชา 2434206

สังคมวิทยาการเมืองการปกครอง

3 (3-0-6)

  Political Sociology  

        ศึกษาความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของสังคมวิทยาการเมือง การปกครอง การเมืองการปกครองในฐานะที่เป็นสถาบันสังคม วัฒนธรรมทางการเมือง การปกครอง การเมืองการปกครองในฐานะที่เป็นสถาบันสังคม วัฒนธรรมทางการเมือง การปกครองของกลุ่มชนต่าง ๆ ระบบความสัมพันธ์ทางการเมืองการปกครอง การจัดองค์การทางการเมืองการปกครองในแบบอรูปนัยและรูปนัย ลักษณะทางสังคมวิทยาบางประการที่มีต่อระบบการเมืองการปกครอง คุณภาพประชาชนที่มีผลต่อการพัฒนาสถาบันการเมืองการปกครอง เป้าหมายสูงสุดของสังคม (Social Ultimate Goals) ในการพัฒนาการเมือง การปกครองเพื่อพัฒนาสังคมระดับชาติ

รายวิชา 2454401

ยุทธศาสตร์การปกครองท้องถิ่น

3 (3-0-6)

  Local Government Strategies  

        แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในระดับท้องถิ่น ความสัมพันธ์เชิงสถาบันของระบบการบริหารระดับท้องถิ่น ยุทธศาสตร์และกระบวนการบริหารนโยบาย แผนการคลังและการบริหารที่เน้นผลงาน การบริการสาธารณะเชิงคุณภาพ วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารของหน่วย ปกครองส่วนท้องถิ่นจากกรณีศึกษา

รายวิชา 2461301

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3 (3-0-6)

  Civil Laws  

        ศึกษาหลักการของกฎหมายแพ่ง สารบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ ครอบครัวมรดก

รายวิชา 24625033

กฎหมายอาญา 1

3 (3-0-6)

  Criminal Law 1  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 ตั้งแต่มาตรา 11 – 106 และภาค 3 ลหุโทษมาตรา 367 – 398

รายวิชา 2462504

กฎหมายอาญา 2

3 (3-0-6)

  Criminal Law 2  
  วิชาบังคับก่อน : 2562305 กฎหมายอาญา:ภาคทั่วไป  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ตั้งแต่มาตรา 107 – 366

รายวิชา 2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความเพ่ง

3 (3-0-6)

  Law of Civil Procedures  

        ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยบททั่วไป วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น อุทธรณ์และฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1-2-3

รายวิชา 2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3 (3-0-6)

  Criminal Procedure  

        ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินคดีอาญาเกี่ยวกับหลักทั่วไปวิธีพิจารณา ในศาลชั้นต้น ชั้นอุทธรณ์ ชั้นฎีกา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รายวิชา 24635088

กฎหมายลักษณะพยาน

3 (3-0-6)

  Law of Evidence  

        ศึกษาลักษณะและกฎเกณฑ์การสืบพยานหลักฐานของศาล ทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา หลักในการรับฟังและไม่รับฟังพยานหลักฐาน หลักเกี่ยวกับพยาน ความเห็นข้อที่ศาลรู้เอง ข้อสันนิษฐาน หน้าที่นำสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 ลักษณะ 5 ปละประมวลกฎหมายวิธีพิจาณาความอาญาภาค 5

            4.3 แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์

รายวิชา 2453301

เทคนิคการบริหาร

3 (3-0-6)

  Administrative Technique  

        ศึกษาเทคนิคทางการบริหารต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงระบบงาน วิธีการวิเคราะห์เพื่อให้การทำงานได้มาตรฐาน การบริหารงานโดยวัตถุประสงค์ (Management by Objective) กลุ่มควบคุมคุณภาพ PERT , CMP , Profit Center , Benmarking , Six Sigma , KM เป็นต้น รวมทั้งเทคนิคเชิงปริมาณบางอย่างในฐานะที่เป็นเทคนิคการบริหาร

รายวิชา 2453303

ระบบสารสนเทศสำหรับการจัดการ

3 (3-0-6)

  Management Information System  

        ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ขั้นตอนของงานในองค์การ ทั้งการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามควบคุม และการประเมินผลอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการองค์การภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ การปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน

รายวิชา 2453306

การวิเคราะห์องค์การและวิเคราะห์ระบบงาน

3 (3-0-6)

  Organization and System Analysis  

        ศึกษามโนภาพการศึกษาวิเคราะห์เชิงระบบ ความหมายและประเภทของระบบลักษณะพื้นฐาน ส่วนประกอบของระบบใหญ่และระบบย่อย สหวิทยาการในการศึกษาวิเคราะห์เชิงระบบ ระเบียบวิธี การวิเคราะห์เชิงระบบ การศึกษาองค์การด้วยวิธีการเชิงระบบ การออกแบบและวิเคราะห์ระบบองค์การ การออกแบบและวิเคราะห์ระบบการบริหารปฏิบัติการ ปัญหาระบบการปฏิบัติงาน หลักการวิเคราะห์และออกแบบ การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ การประยุกต์เครื่องมือเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพเพื่อการวิเคราะห์ การวิเคราะห์และพัฒนาระบบคุณภาพชีวิตในองค์การ

รายวิชา 24533077

การพัฒนาองค์การ

3 (3-0-6)

  Organization Development  

        ศึกษาถึงแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการบริหารงานเชิงพฤติกรรมศาสตร์การผสมผสานความเจริญเติบโตส่วนบุคคลของสมาชิกภายในองค์การเข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การโดยเน้นหนักถึงเรื่องการสร้างทีมงาน เพื่อนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นระบบเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององค์การ

รายวิชา 2453310

การสร้างและพัฒนาทีมงาน

3 (3-0-6)

  Teamwork development techniques  

        ความหมายและความสำคัญของการสร้างทีมงาน แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาองค์การ แนวความคิดเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม วิธีการพัฒนาการทำงานเป็นทีม การวางแผนและการออกแบบทางเลือกในการพัฒนาทีมงาน การสร้างทีมงานใหม่ การกำจัดความไม่เป็น

รายวิชา 2453315

การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ

3 (3-0-6)

  Comparative Public Administration  

        ระเบียบ วิธี ทฤษฎีและแบบเปรียบเทียบการบริหารรัฐกิจ ประโยชน์ที่ได้รับ เปรียบเทียบระบบการบริหารรัฐกิจของประเทศไทยกับนานาประเทศที่กำลังพัฒนาและที่พัฒนาแล้ว ทักษะสำคัญและปัญหาของระบบการบริหารของประเทศ อันเป็นผลมาจากอิทธิพลทางการเมือง กฎหมายวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ

รายวิชา 2453316

การบริหารรัฐวิสาหกิจไทย

3 (3-0-6)

  Thai Public Enterprise Administration  

        ศึกษาหลักการและนโยบายการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ วิวัฒนาการของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย การจัดรูปงาน วิธีการบริหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการทั่วไป การบริหารงานบุคคลและการบริหารการเงิน บทบาทของรัฐบาลต่อรัฐวิสาหกิจ ปัญหาต่าง ๆ ในการดเนินงานของรัฐวิสาหกิจไทยตลอดจนวิธีการแก้ไข

รายวิชา 2553341

การวิเคราะห์นโยบาย

3 (3-0-6)

  Policy Analysis  

        ศึกษาหลักการและกระบวนการในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เทคนิคการวิเคราะห์แบบต่าง ๆ เช่น การใช้ทฤษฎีระบบ เทคนิคการวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคม การประยุกต์เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหา และผลกระทบนโยบายสาธารณะที่สำคัญ ๆ โดยเน้นการวิเคราะห์นโยบายที่สำคัญของประเทศไทย

รายวิชา 2454301

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3 (3-0-6)

  Strategic Management  

        ศึกษาแนวคิดการวางแผนและการบริหารเชิงกลยุทธ์ ความแตกต่างของการวางแผนและการบริหารทั่วไป องค์ประกอบของการวางแผนเชิงกลยุทธ์การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ กระบวนการและเทคนิคการวางแผน การวางนโยบายธุรกิจ โครงสร้างสภาพแวดล้อมแห่งการแข่งขัน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก กลยุทธ์รวมของธุรกิจ การประเมินผลและการติดตาม

รายวิชา 24533122

นวัตกรรมและการจัดการการเปลี่ยนแปลง

3 (3-0-6)

  Innovation and Change management  

        ความหมาย แนวคิด ลักษณะ ประเภทขององค์กรท้องถิ่น การจัดการองค์กรท้องถิ่นที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีการบริหารจัดการที่สามารถรับกระแสการเปลี่ยนแปลงจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยใช้เทคนิคและการตัดสินใจที่ทันต่อสถานการณ์เพื่อให้องค์กรท้องถิ่นทุกรูปแบบพัฒนาไปสู่องค์การแห่งคุณภาพ

รายวิชา 2454303

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

3 (3-0-6)

  Change Agent  

        ศึกษา วิเคราะห์ แนวคิด ของผู้นำที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการบริหาร เพื่อให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และสามารถวางบทบาทของตนเองได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

รายวิชา 2454305

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

  Human Resources Development  

        ศึกษาวิชาการวางแผนกำลังคน เพื่อรองรับความก้าวหน้าด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจของประเทศและของโลก

รายวิชา 2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3 (3-0-6)

  Principles of Jurisprudence  

        ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ได้แก่ ความหมายประเภทความสำคัญ การจัดทำ การใช้ การยกเลิก การตีความ และกระบวนการยุติธรรม ฯลฯ ศึกษากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญา เฉพาะในส่วนที่เป็นความรู้เบื้องต้น

รายวิชา 2461301

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3 (3-0-6)

  Civil Laws  

        ศึกษาหลักการของกฎหมายแพ่ง สารบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ ครอบครัวมรดก

รายวิชา 2462503

กฎหมายอาญา 1

3 (3-0-6)

  Criminal Law 1  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 ตั้งแต่มาตรา 11 – 106 และภาค 3 ลหุโทษมาตรา 367 – 398

รายวิชา 24625044

กฎหมายอาญา 2

3 (3-0-6)

  Criminal Law 2  
  วิชาบังคับก่อน : 2562305 กฎหมายอาญา:ภาคทั่วไป  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ตั้งแต่มาตรา 107 – 366

รายวิชา 2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความเพ่ง

3 (3-0-6)

  Law of Civil Procedures  

        ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยบททั่วไป วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น อุทธรณ์และฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1-2-3

รายวิชา 2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3 (3-0-6)

  Criminal Procedure  

        ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินคดีอาญาเกี่ยวกับหลักทั่วไปวิธีพิจารณา ในศาลชั้นต้น ชั้นอุทธรณ์ ชั้นฎีกา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รายวิชา 2463508

กฎหมายลักษณะพยาน

3 (3-0-6)

  Law of Evidence  

        ศึกษาลักษณะและกฎเกณฑ์การสืบพยานหลักฐานของศาล ทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา หลักในการรับฟังและไม่รับฟังพยานหลักฐาน หลักเกี่ยวกับพยาน ความเห็นข้อที่ศาลรู้เอง ข้อสันนิษฐาน หน้าที่นำสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 ลักษณะ 5 ปละประมวลกฎหมายวิธีพิจาณาความอาญาภาค 5

            4.4 แขนงวิชากระบวนการบริหารงานยุติธรรม

รายวิชา 2452502

ประวัติศาสตร์กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

3 (3-0-6)

  Legal History and Criminal Justice  

        ศึกษาประวัติและความเป็นมาของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องและสอดคล่องกับระบวนการยุติธรรมต่าง ๆ

รายวิชา 2452503

กระบวนการและการบริหารคดี

3 (3-0-6)

  Process and Administration suit  

        ศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมในคดีอาญาและเพ่ง ตั้งแต่ในชั้นพนักงานสอบสวนไปจนการสิ้นสุดยุติคดี

รายวิชา 24535011

การบริหารงานราชทัณฑ์

3 (3-0-6)

  Correctional Administration  

        ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี นโยบายและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชทัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผน การจัดองค์การ การบริหารงานบุคคล การอำนวยการ การประสานงาน การงบประมาณ การควบคุมและประเมินผล ตลอดจนการวิเคราะห์ระบบและการคาดการณ์อนาคตเพื่อพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารงานราชทัณฑ์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต

รายวิชา 2453502

สิทธิมนุษยชนกับกระบวนการยุติธรรม

3 (3-0-6)

  Human Right and Criminal Justice  

        ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีสิทธิมนุษยชน การเกิดกลุ่มสิทธิมนุษยชน ประเภทของกลุ่มสิทธิมนุษยชน กระบวนการดำเนินการของกลุ่มสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม กฎหมายที่เกี่ยวกับกลุ่มสิทธิมนุษยชนและการดำเนินงานของกระบวนการยุติธรรม

รายวิชา 2453504

การสังคมสงเคราะห์ในระบบงานยุติธรรม

3 (3-0-6)

  Social Work in Criminal Justice  

        การสังคมสงเคราะห์ผู้กระทำความผิดทางอาญา ปัญหาความเดือดร้อนของผู้กระทำความผิดและครอบครัวของเขา การปฏิบัติงานเพื่อการสงคมสงเคราะห์ในระบบงานยุติธรรม นับตั้งแต่ผู้กระทำความผิดถูกจับกุมจนกระทั่งได้รับการปลดปล่อยให้เป็นอิสระ การประเมินผลการสังคมสงเคราะห์ในระบบงานยุติธรรมเท่าที่เป็นอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน

รายวิชา 2453520

การป้องกันอาชญากรรม

3 (3-0-6)

  Crime Prevention  

        หลักปรัชญาและแนวคิดของการป้องกันอาชญากรรม อำนาจและหน้าที่ของรัฐในการป้องกันสังคมให้ปลอดภัยจากอาชญากรรม หลักการและวิธีการในการป้องกันสังคมและอาชญากรรม โดยผ่านสถาบันทางสังคม ความร่วมมือของชุมชนในการป้องกันอาชญากรรม

รายวิชา 2453521

การจัดการด้านความปลอดภัย

3 (3-0-6)

  Security Management  

        การจัดตั้งและการจัดการหน่วยงานรักษาความปลดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมหน่วยงานธุรกิจ รัฐบาลและสถาบันอื่นๆ การป้องกันบุคลากร สิ่งอำนวยความสะดวกและทรัพย์สินต่างๆ ปัญหาต่าง ๆ ทางด้านการบริหารด้านกฎหมายและด้านเทคนิค

รายวิชา 2453541

การพิสูจน์หลักฐาน

3 (3-0-6)

  Forensic Science  

        หลักการทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้ในการพิสูจน์หลักฐาน การชันสูตรพลิกศพ การตรวจรอยเขม่าปืน การจับเท็จ การทดสอบสภาพมึนเมาในสิ่งเสพติด การสืบสวนและการพยานหลักฐานในการดำเนินคดี

รายวิชา 2453543

วิชาว่าด้วยเหยื่ออาชญากรรม

3 (3-0-6)

  Victim logy  

        ประเภทและบทบาทของเหยื่อในการเกิดอาชญากรรม บทบาทของผู้อยู่ในเหตุการณ์การชดเชยความเสียหายแก่เหยื่ออาชญากรรม สถานการณ์และสภาวะทางสังคมที่ทำให้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม อาชญากรรมที่ไม่มีเหยื่อ ผลกระทบจากการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม การประเมินนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการป้องกันการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม

รายวิชา 24535611

การจัดองค์การแก้ไขผู้กระทำผิด

3 (3-0-6)

  Organization of Corrections  

        หลักทัณฑวิทยา ความจำเป็นในการจัดตั้งสถาบันแก้ไขผู้กระทำผิด ปรัชญาของการลงโทษและการแก้ไข การบริหารงานเรือนจำทัณฑสถาน สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก สถานกักอบรมและสถานฝึกอบรมเด็กบางจำพวก รวมถึงสถานสงเคราะห์บางประเภท โครงการแก้ไขฝึกอบรมผู้กระทำผิด การจำแนกลักษณะผู้ต้องขัง การติดตามผลการศึกษา อบรมและการใช้แรงงานและความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้ต้องขัง การจัดอัตรากำลัง บทบาทของเจ้าหน้าที่และผู้ต้องขัง

รายวิชา 2453570

กิจกรรมตำรวจไทย

3 (3-0-6)

  The Thai Police  

        ประวัติความเป็นมาของกิจการตำรวจไทยการแบ่งส่วนราชการและการบริหารงานของตำรวจในปัจจุบันอำนาจและหน้าที่ของตำรวจหน่วยต่างๆ บทบาทของตำรวจในการรักษาความสงบเรียบร้อยและการให้บริการแก่ชุมชน

รายวิชา 2461108

นิติปรัชญา

3 (3-0-6)

  Philosophy of Law  

        ศึกษาในเรื่องวิวัฒนาการของแนวความคิดปรัชญาทางกฎหมายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งปัญหาการใช้กฎหมาย

รายวิชา 2461304

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3 (3-0-6)

  Civil Laws  

        ศึกษาหลักของกฎหมายแพ่ง สารบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ ครอบครัวมรดก

รายวิชา 2462504

กฎหมายอาญา 2

3 (3-0-6)

  Criminal Law 2  
  วิชาบังคับก่อน : 2562305 กฎหมายอาญา:ภาคทั่วไป  

        ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ตั้งแต่มาตรา 107 – 366

รายวิชา 2463506

กฎหมายวิธีพิจารณาความเพ่ง

3 (3-0-6)

  Law of Civil Procedures  

        ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยบททั่วไป วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น อุทธรณ์และฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1-2-3

รายวิชา 2463510

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3 (3-0-6)

  Criminal Procedure  

        ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินคดีอาญาเกี่ยวกับหลักทั่วไปวิธีพิจารณา ในศาลชั้นต้น ชั้นอุทธรณ์ ชั้นฎีกา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รายวิชา 24634033

นิติเวชศาสตร์

3 (3-0-6)

  Forensic Medicine  

        ศึกษาในเรื่องประวัติและความมุ่งหมายของนิติเวชศาสตร์ อันเป็นวิทยาทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นการชันสูตรพลิกศพ หาสาเหตุของการตายทางการแพทย์ ที่สัมพันธ์กับการใช้กฎหมาย อันเป็นการพิสูจน์หลักฐานสำหรับการดำเนินคดีในทางอาญาและทางเพ่ง

            5. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    กลุ่มวิชาประสบการณ์วิชาชีพ

รายวิชา 2554801

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์ 3

5(450)

  Field Experience in Political science  

        ฝึกงานทางด้านรัฐศาสตร์ในองค์การภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน โดยเน้นการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์การบริหารในองค์การ ตลอดจนการวางโครงการในการแก้ไขปัญหา การบริหารในองค์การ และการร่วมกิจกรรมทางการบริหารในองค์การ อาทิ การประชุม การฝึกอบรม การสร้างทีม การประเมินผล ฯลฯ

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตรร

        หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชาา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลายย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

        18.5 กิจกรรมเสริมหลักสูตร

            เพื่อให้กลักสูตรนี้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน หลักสูตรนี้จึงได้กำหนดให้ผู้เรียนในหลักสูตรนี้ต้องผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่อไปนี้

                1. ค่ายพุทธบุตรสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 วัตถุประสงค์เพื่อผู้ปลูกฝังในเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่นักศึกษา
                2. ค่ายพุทธผู้นำ สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกให้นักศึกษาเป็นคนกล้าคิด กล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจในสภาวการณ์ที่เหมาะสม
                3. ค่ายพุทธพัฒนาบุคลิกภาพ สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกมารยาทในการเข้าสังคมที่ถูกต้องแก่นักศึกษาก่อนจบออกไปสู่สังคมภายนอก

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. กรรมการพัฒนาหลักสูตรมาจากผู้เกี่ยวข้อง ที่มีคุณวุฒิตรงสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***************

 

ภาคผนวก

ตาราง แสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรปรับปรุง

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

ศิลปศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์

รัฐศาสตรบัณฑิต

 

2

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)

รัฐศาสตรบัณฑิต

เปลี่ยนชื่อปริญญาใหม่

3

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

4 ข้อ

3 ข้อ

ปรับปรุงใหม่ให้เหมาะสม

5

หลักสูตร

 

เรียนภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 12 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 น.ก.
 และหมวดวิชาเฉพาะ 6 น.ก.

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 141 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

(98 หน่วยกิต)

(98 หน่วยกิต)

 

2.1 วิชาแกน

- หน่วยกิต

51 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

38 หน่วยกิต

24 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

38 หน่วยกิต

18 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

 

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

-

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลข 7 หลัก จัดเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

มี

มี

 

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

11 คน

8 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ไม่ได้ระบุชัดเจน

มีจำนวน 8 คน

 

1. คำชี้แจงกรณีหลักสูตรมีโครงสร้างเกิน 130 หน่วยกิต

        หลักสูตรรัฐศาสตร์บัณฑิตมีจำนวนหน่วยกิจทั้งสิ้น 135 หน่วยกิต ซึ่งเป็นจำนวนเกินกว่าที่มหาวิทยาลัยกำหนด คือหมาวิทยาลัยได้กำหนดให้หลักสูตรมีหน่วยกิตไม่เกิน 130 หน่วยกิต แต่เหตุที่หลักสูตรรัฐศาสตร์มีจำนวนหน่วยกิตเกินกว่าที่มหาวิทยาลัยกำหนดก็ด้วยเหตุผลสำคัญ 2 ประการคือ

        1.1. เพื่อให้หลักสูตรมีลักษณะใกล้เคียงกับหลักสูตรรัฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ที่เปิดสอนอยู่ในขณะนี้ กล่าวคือ คณะผู้จัดทำได้ทำการสำรวจหลักสูตรรัฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ พบว่า หลายมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในสาขานี้มีจำนวนหน่วยกิตมากกว่า 130 หน่วยกิต เช่น

                มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 132 หน่วยกิต
                มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 148 หน่วยกิต
                จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 141 หน่วยกิต

                ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรนี้เป็นที่ยอมรับ และมีความใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ คณะผู้ร่างจึงกำหนดให้หลักสูตรมีจำนวนหน่วยกิตมากกว่า 130 หน่วยกิต

        1.2 เพื่อเปิดให้ผู้เรียนในหลักสูตรนี้มีทางอาชีพมากขึ้น กล่าวคือ หลักสูตรนี้ต้องการให้ผู้เรียนที่มีความประสงค์จะเป็นตำรวจสามารถนำเอาปริญญาบัตรไปสมัครสอบเป็นตำรวจได้ ซึ่งในการสมัครสอบเป็นตำรวจนั้น ผู้สมัครต้องเรียนกฎหมายสำคัญไม่น้อยกว่า 6 ตัว คณะผู้จัดทำเห็นประโยชน์อันจะเกิดแก่ผู้เรียนเป็นสำคัญในหลักสูตรนี้จึงได้บรรจุกฎหมายที่สำคัญไม่น้อยกว่า 6 ตัว จึงยังผลให้หลักสูตรรัฐศาสตร์บัณฑิตนี้มีจำนวนหน่วยกิตเกินกว่าที่มหาวิทยาลัยกำหนดเป็น 138 หน่วยกิต

2. กระบวนการร่างหลักสูตร

        หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตนี้เป็นหลักสูตรที่ร่างขึ้นตามความเห็นของบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้เชิญมาเพื่อวิพากษ์หลักสูตรเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2548 ดังนั้นกระบวนการเสนอร่างหลักสูตร จึงมีดังนี้

                2.1 พิจารณาร่างหลักสูตรของกรมส่งเสริมการปกครอง
                2.2
พิจารณาจัดทำแผนการเรียน
                2.3 พิจารณาหาความเหมาะระหว่างผู้สอนกับรายวิชา

3. คณะกรรมการผู้เข้าร่วมวิพากษ์ร่างหลักสูตร

        รายชื่อคณาจารย์และคณาจารย์พิเศษภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์และนิติศาสตร์ที่เข้าร่วมการวิพากษ์หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) เมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ ห้องประชุมดุสิตา อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ดังมีรายนาม ดังนี้

ที่ รายชื่อ ที่ รายชื่อ

1.

ผศ.ไพศาล สรรสรวิสุทธิ์

16.

อาจารย์ปิยชาติ อ้นสุวรรณ

2.

อาจารย์พิสิษฐ์ จอมบุญเรือง

17.

อาจารย์ปัญญา เล็กกระจ่าง

3.

อาจารย์สวัสดิ์ มานิตย์

18.

อาจารย์วิรัช วัฒนธรรม

4.

ดร.ไชยรัตน์ ปราณี

19.

พ.ต.ท.นิกร ขวัญเมือง

5.

ดร.สนั่น กัลป์ปา

20.

อาจารย์พงษ์ศักดิ์ รัตนวิภา

6.

อาจารย์สมญา อินทรเกษตร

21.

อาจารย์ประโยชน์ ชาญธัญกรรม

7.

อาจารย์เสริมศักดิ์ รูปต่ำ

22.

พ.ต.ท.วิริยะบัณฑิต สถิตสุวชาติ

8.

อาจารย์วณิชยา พ่วงเจริญ

23.

พ.ต.ต.สุพจน์ พรหมพิทักษ์

9.

อาจารย์พรสวัสดิ์ บุญยิ่ง

24.

อาจารย์สุพรรณี อภิสิทธิสันติกุล

10.

อาจารย์ธรรมนูญ โพธิยาสานนท์

25.

อาจารย์เกียรติศักดิ์ วรวิทย์รัตนกุล

11.

อาจารย์เสน่ห์ เชื้อมอญ

26.

อาจารย์สุโรจน์ จันทรพิทักษ์

12.

อาจารย์ปรีชา สุขรอด

27.

อาจารย์สุเมธ นภาพร

13.

อาจารย์สมลักษณ์ กีรติศิริกุล

28.

พ.ต.ต.ประชิด สะท้าน

14.

อาจารย์กิจจา มหาวิจิตร

29.

อาจารย์ชนันทิพย์ จันทรโสภา

15.

ด.ต.วิรัตน์ ศิริกุล

30.

อาจารย์สุกัญญา บุตรสีทัด

4. กระบวนการยกร่างหลักสูตร

4.1 วางแผนเพื่อเตรียมการสำหรับการดำเนินการ

4.2 เตรียมการดำเนินการ

4.2.1 ติดต่อวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

4.2.2 ต่อต่อสถานที่

4.2.3 จัดเตรียมเอกสาร

4.3 จัดวิพากษ์หลักสูตรเมื่อวันที่ 10 ก.ย. 2548 มีผู้ร่วมในการวิพากษ์หลักสูตรครั้งนี้จำนวน 34 ท่าน

 

 

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก