หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

ภาคผนวก

 

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

 

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

 

ภาพการประชุมปฏิบัติการวิพากษ์หลักสูตร

 

สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตร

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2549

.....................................

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
  Bachelor of Science (Food Science and Technology)
ชื่อย่อ : วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
  B.Sc. (Food Science and Technology)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                เป็นวิทยาศาสตร์ที่นำความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีคุณภาพและความปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะในสาขาวิชาชีพ มีความสามารถในการคิดและวิเคราะห์อย่างมีระบบ มีคุณธรรมและ จริยธรรม มีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                1) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับวัตถุดิบทางการเกษตร กระบวนการแปรรูป การบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา ตลอดจนการควบคุมคุณภาพระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา
                    มาประยุกต์ใช้ในอุต-สาหกรรมอาหาร
                2) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ความสามารถไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและให้บริการแก่ชุมชนอย่างเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
                3) เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                1) รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                2) รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                3) การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                4) การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

น.ส. อิ่มเอิบ พันสด

    -  วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
    -  วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
       คณะเกษตรศาสตร์บางพระ จ.ชลบุรี

ผลงานทางวิชาการ

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์
    -  หนังสือวิชาการอาหารและการควบคุมคุณภาพ

งานวิจัย

    -  การพัฒนาชุดการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
       เบื้องต้นสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสถาบันราชภัฏ
    -  ไวน์น้ำตาลสด

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

รายวิชาที่จัดสอน

    -  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น
    -  สถิติและการวางแผนการทดลองที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร
    -  เทคโนโลยีขนมอบ
    -  สัมมนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
    -  ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
    -  เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์
    -  เทคโนโลยีการหมัก
    -  ภาษาอังกฤษสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
    -  วิศวกรรมอาหาร 1

2

นางเบญจพร รอดอาวุธ

    -  วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
    -  วท.บ.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
       ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ

    -  เอกสารประกอบการสอน วิชาการแปรรูปอาหาร 1
    -  ตำราวิชาการประเมินคุณภาพอาหารโดยประสาทสัมผัส

งานวิจัย

    -  การพัฒนาคุณภาพฝรั่งอบแห้งปรุงรสของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านเขาดิน
       อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ ปี 2547
    -  การพัฒนาคุณภาพน้ำฝรั่งของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาดิน  อ.เก้าเลี้ยว
       จ.นครสวรรค์ ปี 2547

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าฝ่ายเลขานุการสำนักงานอธิการบดี

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การแปรรูปอาหาร 1, 2
    -  เคมีอาหาร
    -  การประเมินคุณภาพอาหารโดยประสาทสัมผัส
    -  เทคโนโลยีผักและผลไม้
    -  เทคโนโลยีธัญชาติ
    -  เทคโนโลยีเครื่องดื่ม
    -  เทคโนโลยีของชา กาแฟ และโกโก้
    -  เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง
    -  การจัดการธุรกิจทางด้านอาหาร
    -  หัวข้อศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
    -  ภาษาอังกฤษสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3

นายนรินทร์ เลียงหิรัญถาวร

    -  วท.บ. (การอาหารและโภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ -
       มหาสารคาม

งานวิจัย

    -  การพัฒนาวิธีการดองผักกาดเขียว

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ 1 ระดับ 5

รายวิชาที่จัดสอน

    -  วิศวกรรมอาหาร 2
    -  อาหารและโภชนาการ
    -  เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์
    -  สุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
    -  เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
    -  เทคโนโลยีสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์

4

น.ส.ลาวรรณ์ บัวสาย

    -  วท.บ.(อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผลงานทางวิชาการ

    -  เอกสารประกอบการสอน รายวิชากฎหมายและมาตรฐานอาหาร
    -  เอกสารประกอบการสอน รายวิชาหลักการวิเคราะห์อาหาร

งานวิจัย

    -  การพัฒนาคุณภาพน้ำฝรั่งของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาดิน อ.เก้าเลี้ยว
       จ.นครสวรรค์ ปี 2547
    -  ผลของน้ำมันหอมระเหยจากอบเชยและกานพลูในการยืดอายุการเก็บรักษา
       ของขนมโมจิ

ประสบการณ์การทำงาน

    -  อาจารย์อัตราจ้างโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพ บริษัทไทยซีเรียลเวิล์ด จำกัด
    -  เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพทางจุลชีววิทยา บริษัทไทยเบตเตอร์ฟู้ดจำกัด

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์อัตราจ้างโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รายวิชาที่จัดสอน

    -  พิษวิทยาทางอาหาร
    -  เทคโนโลยีขนมหวานและขนมขบเคี้ยว
    -  วัตถุเจือปนในอาหาร
    -  กฎหมายอาหารและการสุขาภิบาลโรงงาน
    -  การจัดการธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร
    -  การตลาดผลิตภัณฑ์อาหาร
    -  จุลชีววิทยาทางอาหาร
    -  หลักการวิเคราะห์อาหาร
    -  หลักการควบคุมคุณภาพอาหารและการประกันคุณภาพ
    -  อาหารและโภชนาการ
    -  การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

5

น.ส.ปัทมาภรณ์ โสภิณ

    -  วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์อัตราจ้างโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การแปรรูปอาหาร 1,2
    -  หลักการวิเคราะห์อาหาร
    -  เคมีอาหาร
    -  สถิติและการวางแผนการทดลองที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร
    -  หลักการบรรจุภัณฑ์อาหาร

6

ดร.บุญแสน เตียวนุกูลธรรม

    -  วท.ด.(ปฐพีวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    -  วท.ม.(การสอนเคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ

    -  ชุดการเรียนการสอนวิชาปฐพีวิทยา สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
       สถาบันราชภัฏ

งานวิจัย

    -  การเปรียบเทียบวิธีวิเคราะห์ปริมาณ N/K ที่สกัดโดย Mehlich 1 Sodium
       Lactate 1 ของ Morgan ในดินปลูกข้าวในพื้นที่ของประเทศไทย
    -  การปลูกหญ้าแฝกเนื่องจาก อนุรักษ์ดินและน้ำในมหาวิทยาลัยราชภัฏ -
       นครสวรรค์และท้องถิ่น

ตำแหน่งหน้าที่

    -  รองคณบดีฝ่ายวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    -  กรรมการสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  ประธานโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
    -  รักษาการผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร

13. จำนวนนักศึกษา

    แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

40

รวม

40

80

120

160

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

-

40

40

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ที่

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการเพิ่มในอนาคต

หมายเหตุ

1

ห้องพักอาจารย์ ขนาด 3.5 x 4 เมตร

1

2

 

2

ห้องปฏิบัติการ ขนาด 10 x 12 เมตร

2

10

 

3

ห้องเก็บสารเคมีอุปกรณ์วัสดุ

0

3

 

4

ห้องเครื่องมือวิจัย

0

3

5

ห้องปฏิบัติการวิจัยปัญหาพิเศษของนักศึกษา

0

3

 

6

ห้องสัมมนาหรือบรรยายมีเครื่องขยายเสียงและเครื่อง ฉายข้ามศีรษะพร้อม 2 ห้อง

0

2

 

7

ห้องสมุดประจำโปรแกรมวิชา

0

1

 

        14.2 อุปกรณ์

ที่

อุปกรณ์

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

หมายเหตุ

1

Digest & Automatic Stram Distilling Unit (AOAC)

1

-

 

2

เครื่องวิเคราะห์ปริมาณน้ำอิสระ (Water Activity ; Aw)

1

-

 

3

เครื่องชั่งไฟฟ้าทศนิยม 4 ตำแหน่ง

1

3

 

4

เครื่องชั่งไฟฟ้าทศนิยม 3 ตำแหน่ง

2

3

 

5

เครื่องวิเคราะห์ความชื้นแบบอัตโนมัติ

1

-

 

6

เครื่องวิเคราะห์ความชื้นแบบกึ่งอัตโนมัติ

1

-

 

7

เตาหลุมให้ความร้อน

1

3

 

8

เครื่องวัดปริมาณแอลกอฮอล์ (Ebulliometer)

1

-

 

9

Auto Pipette

3

6

 

10

Munsell Book

1

-

 

11

Autoclave

2

-

 

12

Incubator

2

-

 

13

Hot Air Oven

2

-

 

14

Colony Counter

1

-

 

15

Viscosity Meter

1

-

 

16

Magnetic Stirrer

1

3

 

17

Water Bath

1

2

 

18

Homogenizer

1

-

 

19

Stirrer

1

2

 

20

pH meter แบบตั้งโต๊ะ

1

3

 

21

Hand pH Meter

4

6

 

22

Vortex Mixer

2

4

 

23

Stomacher

-

1

 

24

Vaccumn oven

-

1

 

25

UV-Vis Spectrophotometer

-

1

 

26

Biohazard

-

1

 

27

Hood

-

1

 

28

เครื่องวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก

-

1

 

29

Vacuum Pump

-

2

 

30

ชุดวิเคราะห์ซัลเฟอร์ไฮดรอกไซด์

-

1

 

31

Shaker Incubator

-

2

 

32

Texture analyzer

-

1

 

33

Centrifuge

-

1

 

34

เครื่องวิเคราะห์ไขมัน

-

1

 

35

เครื่องวิเคราะห์เยื่อใย

-

1

 

36

เตาเผาเถ้าอุณหภูมิสูง

-

1

 

37

ชุดตรวจสอบอาหารกระป๋อง

-

1

 

38

ชุดสกัดน้ำมันหอมระเหย

-

1

 

39

กล้องจุลทรรศน์

-

6

 

40

เครื่องวัดความเค็ม (Salinometer)

2

4

 

41

เครื่องวัดความหวาน (Hand Refractometer)

6

-

 

42

เครื่องวัดความแน่นเนื้อ

1

2

 

43

โถดูดความชื้น

1

2

 

44

เครื่องชั่งขนาด 60 กก.

1

-

 

45

เครื่องชั่งขนาด 7 กก.

1

-

 

46

เตาไมโครเวฟ

1

2

 

47

เตาอบเบเกอรี่

1

2

 

48

ตู้อบลมร้อนแบบใช้แก๊ส

1

-

 

49

ตู้อบลมร้อนแบบใช้ไฟฟ้า

1

-

 

50

เครื่องตีป่น

1

-

 

51

เครื่องผสมอาหาร

1

-

 

52

เครื่องนวดแป้งแบบ 2 แขน

1

-

 

53

เครื่องตีแป้งแบบ Kitchen Aid

2

-

 

54

เครื่องปิดฝาจีบ

2

-

 

55

เครื่องปิดฝาถ้วยพลาสติก

1

-

 

56

เครื่องปิดจุกคอร์ก

1

-

 

57

เครื่องปิดผนึกสุญญากาศ

1

-

 

58

เครื่องปิดผนึกถุงพลาสติก

2

-

 

59

เครื่องบดแป้ง

1

-

 

60

เครื่องหั่นขนมปัง

1

-

 

61

เครื่องรีดแป้ง

1

-

 

62

ตู้หมักแป้ง

1

-

 

63

เครื่องทำไอศกรีมสแตนเลส

-

1

 

64

เครื่องทำแห้งแบบแช่แข็ง (freeze dry)

-

1

 

65

ตู้แช่แข็ง (freezer)

-

1

 

66

เครื่องฆ่าเชื้อแบบใช้น้ำร้อน(Hot Water Retort)

-

1

 

67

เครื่องกำเนิดไอน้ำ (Boiler)

-

1

 

68

เครื่องปิดฝากระป๋องสุญญากาศ (vacuum seamer)

-

1

 

69

เครื่องปิดผนึกถุงสุญญากาศพร้อมบรรจุกาซ N2

-

1

 

70

เตาทอดสุญญากาศ

-

1

 

71

รางไล่อากาศ

-

1

 

72

เครื่องลวกไอน้ำ

-

1

 

73

extruder

-

1

 

74

เครื่องทำแห้งแบบลูกกลิ้ง

-

1

 

75

เครื่องบรรจุของเหลวกึ่งอัตโนมัติแบบ 2 หัว

1

-

 

76

ถังหมักไวน์

1

-

 

77

เครื่องปิดผนึกฝากระป๋อง

1

-

 

78

หม้อนึ่งฆ่าเชื้อแบบใช้แก๊ส

1

-

 

79

เครื่องแยกกาก

1

-

 

80

เครื่องสับผสม

1

-

 

81

เครื่องคั้นน้ำผลไม้

1

-

 

82

เครื่องผสมอาหาร

1

-

 

83

เครื่องผูกไส้กรอก

1

-

 

84

เครื่องสไลด์เนื้อ

1

-

 

85

เครื่องอัดไส้กรอก

1

-

 

86

เครื่องบดเนื้อ

2

-

 

87

เตาแก๊สอุตสาหกรรม แบบ 2 หัว

1

2

 

88

ชั้นสแตนเลสแบบโปร่ง

5

6

 

89

ตู้เย็น

1

3

 

90

ตู้แช่

1

2

 

91

โต๊ะแปรรูป

6

10

 

92

ตู้กับข้าว

1

2

 

93

ตู้เก็บเอกสาร

2

4

 

94

ตู้เก็บเครื่องแก้วและอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ

8

10

 

95

ตู้เก็บสารเคมี

3

5

 

96

ตู้เก็บหนังสือ

3

10

 

97

โต๊ะปฏิบัติการ

4

10

 

98

คอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ต่อพ่วง

3

6

 

99

เครื่อง printer

1

2

 

100

เก้าอี้ไม้แป้นหัวกลมหมุนปรับระดับได้

100

200

 

101

เก้าอี้แป้นไม้หัวกลม

40

-

 

102

เครื่องฉายสไลด์

-

2

 

103

ตู้เก็บเครื่องมือ

-

4

 

104

เครื่องฉายโปรเจคเตอร์

-

2

 

105

จอฉายภาพโปร่งแสง

2 เครื่อง

-

 

106

อ่างสแตนเลส

1

3

 

15. ห้องสมุด

        15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ที่

ชื่อหนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

หมายเหตุ

1

เคมีอาหาร

1

-  

2

หลักการวิเคราะห์จุลินทรีย์

1

-  

3

จุลชีววิทยาปฏิบัติการ

2

-  

4

ทฤษฏีอาหาร

1

-  

5

การควบคุมคุณภาพอุตสาหกรรมอาหาร

1

-  

7

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผนการทดลอง

4

-  

8

องค์ประกอบและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีกายภาพของอาหาร

1

-  

9

โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา

1

-  

10

จุลชีววิทยาทางอาหาร

2

-  

11

เอนไซม์ทางอาหาร

3

-  

12

กฎหมายควบคุมอาหารและมาตรฐานอาหาร

4

-  

13

The Scientific Association Dedicated to Anlytical Excellence Volume I

1

-  

14

จุลชีววิทยาการหมักวิตามินและสารสี

3

-  

15

The Scientific Association Dedicated to Anlytical Excellence Volume II

1

-  

16

เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์

1

-  

17

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (พ.ศ. 2539)

1

-  

18

พระราชบัญญัติอาหาร

1

-  

19

จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญด้านอาหาร

2

-  

20

มาแปรรูปอาหารกันดีกว่า

2

-  

21

วิศวกรรมแปรรูปอาหาร: การถนอมอาหาร

3

-  

22

เทคโนโลยีการหมัก (ม.รามคำแหง)

1

-  

23

ปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพนมและผลิตภัณฑ์นม

2

-  

24

การถนอมอาหาร

2

-  

25

การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้

3

-  

26

จุลชีววิทยาในกระบวนการแปรรูปอาหาร

2

-  

27

ผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งและเนื้อสัตว์

1

-  

28

การถนอมอาหาร

1

-  

29

GMOs มหัศจรรย์ หรือ มหันจภัยของสหัสวรรษ

1

-  

30

Encyclopedia of Food Science And Technology Volume 1 A - D

1

-  

31

การดองและเชื่อมแห้ง

1

-  

32

การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้

1

-  

33

เทคโนโลยีการหมัก

1

-  

34

สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้

1

-  

35

Introduction to food engineering

1

-  

36

การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส

1

-  

37

สารพิษในอาหาร

1

-  

38

เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร

1

-  

39

บทปฏิบัติการเคมีอาหาร

1

-  

40

มาตรฐานระบบการตรวจสอบด้วยการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

1

-  

41

Food Chemistry

1

-  

42

หลักการวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพอาหาร

1

-  

43

Encyclopedia of Food Science And Technology Volume 1 E -H

1

-  

44

Food Science

1

-  

45

Unit operation and HACCP Workshop

1

-  

46

วัตถุเจือปนอาหารในผลิตภัณฑ์อาหาร

1

-  

47

หลักการและการใช้งานเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม

1

-  

48

การอบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปอาหารและการควบคุมคุณภาพด้านความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหารขนาดเล็ก
และขนาดกลาง

1

-  

49

เอกสารอบรมการพัฒนาบุคลิกภาพของ John Robert Power

1

-  

50

สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย

1

-  

51

การใช้วัตถุเจือปนในอุตสาหกรรมอาหาร

1

-  

52

ทิศทางการผลิตแหนมยุคใหม่

1

-  

53

เทคโนโลยีการแปรรูปผัก-ผลไม้บรรจุกระป๋อง และบรรจุขวดแก้วเพื่อการส่งออก

1

-  

54

หลักการวิเคราะห์อาหาร

1

-  

55

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง หลักวิศวรรมอาหาร

1

-  

56

หลักการวิเคราะห์และคำนวนผลิตภัณฑ์นม

1

-  

57

เคมีกับการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า

  -  

58

หลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคโนโลยีการผลิตอาหารแห้ง

1

-  

59

คู่มือปฏิบัติการวัดค่าคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

1

-  

60

วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์

1

-  

61

การสุขาภิบาลอาหาร

1

-  

62

Unit Operations In Food Processing

1

-  

63

รายงานการสัมมนา เรื่อง กลยุทธ์การใช้ฉลากเพื่อการตลาด

1

-  

64

Encyclopedia of Food Science And Technology Volume 1 I – P

1

-  

65

กลศาสตร์ของไหล

1

-  

66

Experimental Methods in Food Engineering

1

-  

67

Encyclopedia of Food Science And Technology Volume 1 Q - Z

1

-  

68

คู่มือการใช้หม้อนึ่งฆ่าเชื้อ Retort and Their Operating Manual

2

-  

69

เทคโนโลยีของแป้ง

2

-  

70

บรรจุภัณฑ์อาหาร

1

-  

71

การใช้โปรแกรม SAS เพื่อวิเคราะห์งานวิจัยทางสัตว์

1

-  

72

การอบแห้งเมล็ดพืช

1

-  

73

การประเมินทางประสาทสัมผัส

1

-  

74

การอบรมเชิงปฏิบัติการ Hurdle technology and packaging for controling food safety

1

-  

75

คู่มือการใช้ไม้เพื่อการหีบห่อ

1

-  

76

คู่มือการใช้แก้วเพื่อการหีบห่อ

1

-  

77

บรรจุภัณฑ์อาหารแช่แข็ง

1

-  

78

พจนานุกรม Food Additives สำหรับนักอุตสาหกรรมอาหารและเกษตร

1

-  

79

การวิเคราะห์อาหาร

1

-  

80

กรรมวิธีการแปรรูปอาหาร

1

-  

81

คุณภาพข้าวและการตรวจสอบข้าวปนในข้าวหอมมะลิไทย

1

-  

82

ก๊าซกับการบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร (พ.ศ. 2538)

3

-  

83

ฟลูอิดไดเซชั่น

1

-  

84

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม : กระแสใหม่ของโลกการค้า

1

-  

85

การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

1

-  

86

จุลชีววิทยาผลิตภัณฑ์ประมง

1

-  

87

Food Dehydration

1

-  

88

คู่มือปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร

1

-  

89

เบเกอรี่เทคโนโลยีเบื้องต้น

1

-  

90

เคมีอาหารเบื้องต้น

1

-  

91

มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 : 2000

1

-  

92

การอบแห้งเมล็ดธัญพืชและอาหารบางประเภท

1

-  

93

ไอศกรีม

1

-  

94

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

1

-  

95

การรับรองระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร

1

-  

96

การบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร

1

-  

97

มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1

-  

98

คู่มือไวน์

1

-  

99

การถนอมอาหารด้วยการดอง

1

-  

100

พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511

1

-  

101

บรรจุภัณฑ์อาหาร

1

-  

102

GMP ระบบการจัดการผลิตอาหารให้ปลอดภัย

1

-  

103

ความปลอดภัยของอาหาร

1

-  

104

มหัศจรรย์ผัก 108

1

-  

105

จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม

2

-  

106

Freezing effects on food quality

1

-  

107

Food processing and preservation

1

-  

108

ประมวลสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

2

-  

109

เอกสารประกอบการบรรยาย spectroscopy

1

-  

110

การวางแผนและควบคุมการผลิต

1

-  

111

คู่มือวิธีการยืดอายุการเก็บรักษาลำไยสดและการแปรรูปในเชิงพาณิชย์

1

-  

112

นมและผลิตภัณฑ์นม

1

-  

113

การควบคุมจุลินทรีย์ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

2

-  

114

Biology, Principle, and Applications

1

-  

115

จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม : ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์

1

-  

116

วิศวกรรมอาหาร :หน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรมอาหาร

3

-  

117

คัมภีร์ มะปราง-มะยงชิด

1

-  

118

เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์

1

-  

119

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ การหาค่า Fo ในอาหารกระป๋องและบรรจุภัณฑ์อ่อนตัว

1

-  

120

กรรมวิธีการตรวจสอบกระป๋องและฝาสำหรับลูกค้า

2

-  

121

สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารแห่งประเทศไทย

1

-  

122

แนวทางการสร้างอาหารไทยเป็นอาหารโลกในสิบปีข้างหน้า

2

-  

123

Managing Iso 9000 handbook

1

-  

124

Modern food microbiology

1

-  

125

การอบรมเชิงปฏิบัติการการตรวจวิเคราะห์อาหาร

1

-  

126

หลักการควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพ

1

-  

127

พื้นฐานวิศวกรรมระบบควบคุมในกระบวนการอุตสาหกรรม

1

-  

128

เทคนิคการตรวจสอบจุลินทรีย์ทางอาหาร

1

-  

129

รายงานหมักดอง

1

-  

130

กรรมวิธีแปรรูปโดยความร้อนสูง

1

-  

131

การถนอมอาหารโดยวิธีการทำแห้ง

1

-  

132

แผนอาหารและโภชนาแห่งชาติ

1

-  

133

ประมวลศัพท์การหีบห่อ

1

-  

134

Sensory Evaluation of Overview Update and Its Application

1

-  

135

เอกสารประกอบการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะวิชาเคมีและจุลชีววิทยาทางอาหาร

1

-  

136

การใช้วัตถุเจือปนในอุตสาหกรรมอาหาร

  -  

137

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม : แหนม

1

-  

138

Principle of food processing

1

-  

139

Food quality Assurance

1

-  

140

New Method of Food Preservation

1

-  

141

เทคโนโลยีเนื้อสัตว์

2

-  

142

สวนมะปรางหวาน

1

-  

143

การปลูกมะปราง

1

-  

144

เอกสารประกอบการฝึกอบรมเทคโนโลยีเนื้อสัตว์

1

-  

145

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการหมัก 2

1

-  

146

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (พ.ศ. 2543)

1

-  

147

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการหมัก

1

-  

148

Dictionary of Food and Drink

1

-  

149

เคมีกายภาพของอาหาร คอลลอยด์ อิมัลชั่นและเจล

2

-  

150

ควบคุมต้นทุนเพื่อสร้างกำไร

1

-  

151

ชีวเคมีทางโภชนาการ

1

-  

152

การแปรรูปสมุนไพรไทย

1

-  

153

กล้วย

1

-  

154

อาหาร เครื่องดื่ม และการบริการในภัตตาคาร

1

-  

155

สารพิษจากเชื้อรา : อะฟลาทอกซิน

1

-  

156

ผลิตภัณฑ์ประมงของไทย

1

-  

157

เอนไซม์

1

-  

158

จุลชีววิทยาทางอาหาร

1

-  

159

พิษภัยในอาหาร

2

-  

160

Food Packaging

1

-  

161

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ชีวเคมี1

1

-  

162

หลักการแปรรูปอาหารเบื้องต้น

1

-  

163

ชีวเคมี 1

1

-  

164

ชีวเคมี 2

1

-  

165

ชีวเคมี 3

1

-  

166

วัตถุเจือปนอาหาร

1

-  

167

เครื่องดื่ม (ปกเขียว)

1

-  

168

เครื่องดื่ม (ปกฟ้า)

1

-  

169

อาหาร โภชนาการ สารเป็นพิษ

1

-  

170

ย่อหลักกฏหมายแรงงาน

1

-  

171

Growth of Microorganisms

1

-  

172

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1

-  

173

ระบบประกันคุณภาพด้านความปลอดภัยของอาหาร HACCP

3

-  

174

ตามรอยน้ำตาล

1

-  

175

คู่มือครู วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

1

-  

176

คู่มือผู้เรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

1

-  

177

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการวางแผนการทดลอง และสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

1

-  

178

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเห็ดฟางกระป๋อง

1

-  

179

ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์

1

-  

180

เอกสารเผยแพร่ เรื่อง การวิเคราะห์อาหาร

1

-  

181

Biochemistry of Foods

1

-  

182

เทคโนโลยีการทำน้ำผักและผลไม้พร้อมดื่ม และผลไม้อบแห้งสามรส

2

-  

183

การวิเคราะห์อาหาร

1

-  

184

Production Planning and Control

1

-  

185

เอกสารการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ การวิเคราะห์วิตามินเอ อี ไนอะซิน และกรดแพนโทธีนิก ในอาหาร

1

-  

186

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถั่วลันเตากระป๋อง

1

-  

187

10 เทคนิคการจัดการความเสี่ยง HACCP

1

-  

188

เอกสารประกอบการอบรม : กระบวนการหมักขั้นพื้นฐาน

1

-  

189

หนังสือสำหรับผู้ผลิตไวน์มือใหม่

1

-  

190

หลักสูตรข้อกำหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบ - มอก.17025

1

-  

191

แนวปฏิบัติและการประยุกต์ใช้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร food safety

1

-  

192

เทคนิคการนำระบบ GMP และ HACCP ไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร

1

-  

193

คู่มือปฏิบัติการวิศวกรรมอาหาร

2

-  

194

อาหารเพื่อมนุษยชาติ

2

-  

195

คู่มือปฏิบัติการวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร

1

-  

196

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม : ลูกชิ้นเนื้อวัว ลูกชิ้นหมู และลูกชิ้นไก่

1

-  

197

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สุกรสดแช่เย็นและเยือกแข็ง

1

-  

198

คุณค่าอาหารเส้นใยและข้าวกล้อง ป้องกันบำบัดสรรพโรค

1

-  

199

ซูริมิ

1

-  

200

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (รวมเฉพาะเรื่อง)

1

-  

201

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเทคโนโลยีขนมอบ (5272407)

1

-  

202

การจัดบริการอาหารและเครื่องดื่ม

1

-  

203

เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การจัดการสุขลักษณะและการจัดระบบ HACCP ในโรงงานอุตสาหกรรม

1

-  

204

ถั่วเหลือง พืชมหัศจรรย์ สารพันประโยชน์

1

-  

205

พ.ร.บ. ข้าราชการครู

1

-  

206

เอกสารประกอบการสอนวิชา วทอ. 461 ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการหมัก

1

-  

207

Rapid Methods And Automation สำหรับจุลชีววิทยาทางอาหาร

1

-  

208

5s เทคนิคการจัดการโรงงานอุตสาหกรรม

1

-  

209

การถนอมอาหาร

1

-  

210

ก๊าซกับการบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร (พ.ศ. 2537)

1

-  

211

ไวน์ฝรั่งเศส เมรัยอมตะ

1

-  

212

จุลินทรีย์กับการควบคุมสุขลักษณะการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

1

-  

213

เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร การหมัก และสิ่งแวดล้อม

1

-  

214

การควบคุมคุณภาพอาหารแช่เยือกแข็ง

1

-  

215

สถิติและการวางแผนการทดลองทางการเกษตร

1

-  

216

ตำราแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย

1

-  

217

งานมหกรรมอาหารเกษตรอินทรีย์ไทยสู่ครัวโลก ครั้งที่ 1

2

-  

218

คุกกี้

1

-  

219

การวิเคราะห์อาหารชั้นสูง

1

-  

220

หลักการทางเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์

1

-  

221

โจทย์ทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศ

1

-  

222

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์

1

-  

223

เอกสารประกอบการปฏิบัติการเรื่อง เทคนิคการตรวจสอบจุลินทรีย์ทางอาหาร

1

-  

224

Statistical Process Control (SPC)

1

-  

225

การใช้ประโยชน์จากข้าวในการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการส่งออก

1

-  

226

เทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ

1

-  

227

Natural Antimicrobials For Food Safety : Current Trends And Future Perspective

1

-  

228

การสุขาภิบาลอาหาร

1

-  

229

หลักการวิเคราะห์อาหารด้วยประสาทสัมผัส

1

-  

230

คู่มือการใช้แก้วเพื่อการหีบห่อ

1

-  

231

คู่มือการใช้โลหะเพื่อการหีบห่อ

1

-  

232

คู่มือการใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ

1

-  

233

คู่มือการใช้พลาสติกเพื่อการหีบห่อ

1

-  

234

ศัพท์วิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

1

-  

235

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางโภชนาการ

1

-  

236

Food Product Development Courses

1

-  

237

การวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมอาหาร 1

1

-  

238

การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารบำบัดโรค

1

-  

239

เทคโนโลยีการผลิตอาหาร

1

-  

240

เคมีอาหารเบื้องต้น

1

-  

241

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร

2

-  

242

เคมีอนินทรีย์ 1

1

-  

243

จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม

1

-  

244

เอกสารประกอบการฝึกอบรม HACCP และ GMP

2

-  

245

การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการ Extrude

1

-  

246

เทคโนโลยีการทำน้ำผักและผลไม้พร้อมดื่ม และผลไม้อบแห้งสามรส

1

-  

247

การแปรรูปอาหารโดยการหมักดอง

1

-  

248

บริษัท โรงเส้นหมี่ชอเฮง จำกัด

1

-  

249

OTOP เทคโนโลยีสร้างสรรค์ผลิตภัฑณ์ เล่ม 2 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์

1

-  

250

10 best Breads

1

-  

251

Low Fat Cake

1

-  

252

คู่มือความปลอดภัยของอาหาร (ฉบับกระเป๋า)

1

-  

253

การประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร

1

-  
         

        15.2 จำนวนวารสารและเอกสารอื่น ๆ

ที่

ชื่อวารสาร/เอกสารอื่นๆ

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการเพิ่มในอนาคต

หมายเหตุ

1

วารสารอาหาร

33 เล่ม

-

2

วารสาร Lab today

13 เล่ม

-

3

วารสารจาร์พา

22 เล่ม

-

4

วิทยาสารเกษตรศาสตร์ ม.เกษตรฯ

4 เล่ม

-

5

Taiwan Food Industry Buyer's Guide

1 เล่ม

-

6

วารสารการประมง

1 เล่ม

-

7

วารสารอุตสาหกรรมเกษตร

1 เล่ม

-

8

วารสารอุตสาหกรรมสาร

1 เล่ม

-

9

วารสารการบรรจุภัณฑ์

4 เล่ม

-

10

วารสาร Nestle Nutrition

6 เล่ม

-

11

จดหมายข่าว ผลิใบ

2 เล่ม

-

12

ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย

2 เล่ม

-

13

การทำไวน์ผลไม้ให้ใส

2 เล่ม

-

14

การผลิตไวน์จากกล้วยชนิดต่างๆ

2 เล่ม

-

15

การผลิตข้าวเกรียบกล้วย

3 เล่ม

-

16

การถนอมน้ำมะนาว

2 เล่ม

-

17

การผลิตแป้งกล้วย

2 เล่ม

-

18

เจลลี่ฝรั่ง

3 เล่ม

-

19

การผลิตไวน์มะนาว

2 เล่ม

-

20

บะหมี่เสริมข้าวกล้องและถั่วแดง

2 เล่ม

-

21

การศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของน้ำผักผลไม้รวม 100 เปอร์เซ็นต์

2 เล่ม

-

22

การผลิตลูกชิ้นและปลายอจากปลาสวาย

2 เล่ม

-

23

การศึกษากรรมวิธีการผลิตแยมกล้วยน้ำว้า

3 เล่ม

-

24

การผลิตมะปรางในน้ำเชื่อม

1 เล่ม

-

25

การศึกษากรรมวิธีการผลิตซอสกล้วยน้ำว้า

1 เล่ม

-

26

การพัฒนาคุณภาพข้าวเกรียบกล้วย

2 เล่ม

-

27

ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อคุณภาพข้าวเกรียบกล้วย

1 เล่ม

-

28

การผลิตวุ้นน้ำตาลสด

2 เล่ม

-

29

การผลิตพุดดิ้งน้ำตาลสด

2 เล่ม

-

30

การผลิตไส้กรอกปลารสต้มยำ

1 เล่ม

-

31

การผลิตเฟรนช์-ฟรายจากมันเทศและมันสำปะหลัง

1 เล่ม

-

32

การทำไวน์น้ำตาลสดให้ใสโดยการใช้น้ำผึ้ง

1 เล่ม

-

33

การพัฒนาข้าวเกรียบกล้วยผสม

1 เล่ม

-

34

การพัฒนากลิ่นรสของไวน์มะเขือเทศ

1 เล่ม

-

35

บะหมี่เสริมโปรตีนจากเห็ดฟางและเห็ดนางฟ้า

1 เล่ม

-

36

การผลิตและการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเครื่องดื่มสมุนไพรผง

1 เล่ม

-

37

กรรมวิธีการผลิตน้ำนมข้าวโพดปรุงแต่ง

1 เล่ม

-

38

การผลิตเต้าหู้เสริมโปรตีนจากปูอัดและเนื้อไก่

1 เล่ม

-

39

การใช้วัตถุดิบทดแทนถั่วเขียวในผลิตภัณฑ์ลูกชุบ

1 เล่ม

-

40

ปริมาณน้ำถั่วแดงที่ใช้ทดแทนนมสดในการผลิตไอศครีม

1 เล่ม

-

41

การศึกษากรรมวิธีการผลิตไข่เยี่ยวม้าใบเตย

1 เล่ม

-

42

การศึกษาลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลผสมระหว่างแคปปา-คาร์ราจีแนน กับโลคัสบีนกัม และการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์
เยลลี่น้ำตาสด

1 เล่ม

-

43

การผลิตแป้งจากเมล็ดขนุน

1 เล่ม

-

44

การศึกษาชนิดและปริมาณสารคงตัวที่มีผลต่อลักษณะตะกอนนม ลักษณะเนื้อสัมผัส ของโยเกิร์ตไขมันต่ำเสริมเยื้อใย
จากบุก

1 เล่ม

-

45

เยลลี่เห็ดหูหนู

1 เล่ม

-

46

การผลิตเห็ดหยองจากเห็ดนางฟ้า

1 เล่ม

-

47

การผลิตแยมแก้วมังกร

1 เล่ม

-

48

การเสริมโปรตีนจากแป้งถั่วในบัวลอย

1 เล่ม

-

49

การศึกษากรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตข้าวโพด

2 เล่ม

-

50

การศึกษากระบวนการผลิตวุ้นคาราจีแนน

1 เล่ม

-

51

การใช้แป้งถั่วเหลืองพร่องไขมันทดแทนแป้งสาลีบางส่วนในแผ่นเกี๊ยว

1 เล่ม

-

52

ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตเนคต้าฝรั่ง

1 เล่ม

-

53

การพัฒนาสูตรแป้งชุบแป้งทอดสมุนไพร และใยอาหารจากเปลือกถั่วเหลือง

1 เล่ม

-

54

การผลิตลูกชิ้นฟักทอง

1 เล่ม

-

55

การผลิตปลาหยองจากปลาดุกอุย

1 เล่ม

-

56

การผลิตแป้งมันเทศ

1 เล่ม

-

57

การผลิตหมูยอเห็ดนางฟ้า

1 เล่ม

-

58

กรรมวิธีการผลิตเครื่องดื่มธัญพืชผง

1 เล่ม

-

59

การพัฒนาผลิตภัณฑ์กุนเชียงโดยใช้เห็ดนางฟ้า

1 เล่ม

-

60

การผลิตปาท่องโก๋เสริมถั่วแดง

1 เล่ม

-

61

กรรมวิธีการผลิตอาหารว่างจากฟักทอง

1 เล่ม

-

62

การพัฒนากรรมวิธีการผลิตไข่เยี่ยวม้าใบเตย

1 เล่ม

-

63

การหมักผักกาดเขียวด้วยเชื้อแบคทีเรีย Lactobacillus Plantalum

1 เล่ม

-

64

การใช้ประโยชน์จากแป้งข้าวกล้องในปลาบดแผ่นจากปลาดุก

1 เล่ม

-

65

การผลิตแครกเกอร์น้ำอ้อยเสริมใยอ้อย

1 เล่ม

-

66

การใช้ประโยชน์จากไข่ขาวเค็มในผลิตภัณฑ์เต้าหู้ไข่

1 เล่ม

-

67

การใช้แป้งข้าวเจ้าทดแทนแป้งสาลีบางส่วนในบะหมี่อบแห้ง

1 เล่ม

-

68

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากข้าวกล้อง

1 เล่ม

-

69

การผลิตขนมจีนกึ่งสำเร็จรูปเสริมเผือกหอม

1 เล่ม

-

70

การใช้แป้งถั่วเหลืองทดแทนแป้งสาลีบางส่วนในการผลิตลูกชิ้นปลาจากเนื้อปลาสองชนิด

1 เล่ม

-

71

กรรมวิธีการผลิตน้ำยาปลากะทิกึ่งสำเร็จรูป

1 เล่ม

-

72

การแปรรูปขนมขบเคี้ยวจากพืชหัวโดยใช้แป้งข้าวกล้องเป็นส่วนประกอบ

1 เล่ม

-

73

การยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา Oxidation ในผลิตภัณฑ์ขนมกรอบเค็มโดยใช้ปวยเล้ง

1 เล่ม

-

74

ปัจจัยที่มีผลคุณภาพน้ำฝรั่งของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาดิน อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

1 เล่ม

-

75

การใช้ประโยชน์จากเผือกในผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่กึ่งสำเร็จรูป

1 เล่ม

-

76

การวิเคราะห์จุดวิกฤตด้านจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตปลาเกลือ

1 เล่ม

-

77

กรรมวิธีการผลิตตาลผงกึ่งสำเร็จรูป

1 เล่ม

-

78

ปัจจัยที่ผลต่อคุณภาพฝรั่งอบแห้งปรุงรสของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาดิน อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

1 เล่ม

-

        15.3 รายชื่อสื่ออิเล็กทรอนิคส์

ที่

ชื่อสื่ออิเล็กทรอนิคส์

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการเพิ่มในอนาคต

หมายเหตุ

1

HACCP กรณีศึกษา Snack Food

1

-

 

2

HACCP กรณีศึกษา Frozen Food

1

-

 

3

HACCP กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์ไส้กรอก

1

-

 

4

HACCP กรณีศึกษา Canned Food

1

-

 

5

GMP กรณีศึกษา น้ำผลไม้

1

-

 

6

งานดีฝีมือไทย ชุดผลไม้แปรรูป

1

-

 

7

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 35 ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์

1

-

 

8

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 36 ขนมเปี๊ยะทานตะวัน, พายชั้นสับปะรด, คุ้กกี้ฟินแลนด์

1

-

 

9

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 45 มะม่วงดอง, มะม่วงอบแห้ง 3 รส, มะม่วงดองอบแห้ง 3 รส

1

-

 

10

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 46 มะม่วงดองปรุงรส(แช่อิ่มแบบเร็ว), เยลลี่มะม่วง, การทำน้ำมะม่วง

1

-

 

11

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 55 น้ำพริกชุดพร้อมรับประทาน, น้ำพริกชุดเพื่อประกอบอาหาร

1

-

 

12

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 56 การทำขนมไทยโบราณ, การแปรรูปผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน, กล้วยกรอบ, กล้วยม้วน,
มะขามแช่อิ่ม

1

-

 

13

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 62 การแปรรูปเห็ด, การทำไข่เค็มใบเตยไอโอดีน, ผลิตภัณฑ์จากกล้วย

1

-

 

14

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 65 วุ้นแบบต่างๆ, บัวลอยงาดำน้ำขิง

1

-

 

15

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 66 ปลาดุกรมควัน

1

-

 

16

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 67 ลูกชิ้นปลา, ปลาบด

1

-

 

17

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 68 กุนเชียงปลา, ข้าวเกรียบปลา

1

-

 

18

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 69 บะหมี่ปลา, ปลาหยอง

1

-

 

19

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 86 ขนมหม้อแกงเผือก, ขนมกลีบลำดวน, ขนมจ่ามงกุฎ, ขนมทองเอก, ขนมหรุ่ม

1

-

 

20

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 87 การแปรรูปไก่ด้วยสมุนไพรไทย, การแปรรูปเห็ดด้วยวิธีการดอง

1

-

 

21

วีซีดีเพื่อการศึกษา ชุดที่ 94 การทำผักผลไม้หยี, การทำน้ำผลไม้เข้มข้น, การทำน้ำผลไม้พร้อมดื่ม

1

-

 

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณ

2549

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ

           

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

    -  ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

20,000

85,000

100,000

-

20,000

85,000

100,000

-

20,000

85,000

100,000

-

20,000

85,000

100,000

-

20,000

85,000

100,000

-

20,000

85,000

100,000

-

รวมงบดำเนินการ

205,000

205,000

205,000

205,000

205,000

205,000

งบลงทุน            

    -  ค่าครุภัณฑ์

    -  ค่าที่ดิน

9,000,000

-

150,000

-

150,000

-

150,000

-

150,000

-

150,000

-

รวมงบลงทุน

9,000,000

150,000

150,000

150,000

150,000

150,000

รวมทั้งหมด

9,205,000

355,000

355,000

355,000

355,000

355,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

95

 

1. วิชาแกน

24

 

2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ

57

 

3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

9

 

4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

5

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

132

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์

                2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ

                4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาอุตสาหกรรม)

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ – ศึกษาด้วยตนเอง)

                โดย จำนวนชั่วโมง (บรรยาย + ปฏิบัติ + ศึกษาด้วยตนเอง) = จำนวนหน่วยกิต x 3

            รหัสหมู่วิชาอุตสาหกรรมเกษตร (527)

                หมู่วิชาอุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งมีอยู่ในหมวดวิชา เกษตรศาสตร์ ได้จัดลักษณะเนื้อหาวิชาออกเป็นดังนี้

                หมวดที่ 1 การบรรจุอาหาร (527-1--)

                หมวดที่ 2 จุลินทรีย์อาหาร (527-2--)

                หมวดที่ 3 อุตสาหกรรมอาหาร (527-3--)

                หมวดที่ 4 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ (527-4--)

                หมวดที่ 5 วิศวกรรมอาหาร (527-5--)

                หมวดที่ 6 โภชนศาสตร์ (527-6--)

                หมวดที่ 7 เคมีอาหาร / (การประยุกต์) (527-7--)

                หมวดที่ 8 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (527-8--)

                หมวดที่ 9 โครงการพิเศษ / ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์ โครงการศึกษา (527-9--)

                เอกเทศ การสัมมนาและการวิจัย

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 95 หน่วยกิต แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

            (1) วิชาแกน จำนวน 24 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

4211303

ฟิสิกส์มูลฐาน

3 (2-3-4)

 

Fundamental Physics

 

4221103

เคมีมูลฐาน

3 (2-3-4)

 

Fundamental Chemistry

 

4221112

เคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-3-4)

 

Organic Chemistry for Agro-Industry

 

4222414

เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-3-4)

 

Physical Chemistry for Agro-Industry

 

4231103

ชีววิทยามูลฐาน

3 (2-3-4)

 

Fundamental Biology

 

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

Calculus 1

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

            (2) วิชาเฉพาะด้านบังคับ จำนวน 57 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

English for Technology

 

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Organization and Management

 

3592205

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมการเกษตร

3 (3-0-6)

 

Economics of Agro-Industry

 

4222516

ชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-3-4)

 

Biochemistry for Agro-Industry

 

4223601

เคมีวิเคราะห์

3 (2-3-4)

 

Analytical Chemistry

 

4232601

จุลชีววิทยา

3 (2-3-4)

 

Microbiology

 

5272301

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

2 (1-2-3)

 

Introduction to Food Science and Technology

 

5272601

อาหารและโภชนาการ

3 (2-3-4)

 

Food and Nutrition

 

5273201

จุลชีววิทยาทางอาหาร

4 (2-4-6)

 

Food Microbiology

 

5273302

การแปรรูปอาหาร 1

3 (2-3-4)

 

Food Processing I

 

5273303

การแปรรูปอาหาร 2

3 (2-3-4)

 

Food Processing II

 

5273304

หลักการควบคุมคุณภาพอาหารและการประกันคุณภาพ

3 (2-3-4)

 

Principle of Food Quality Control and Quality Assurance

 

5273502

วิศวกรรมอาหารเบื้องต้น

2 (1-2-3)

 

Basic Food Engineering

 

5273503

วิศวกรรมอาหาร

2 (1-2-3)

 

Food Engineering

 

5273701

เคมีอาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Chemistry

 

5273702

หลักการวิเคราะห์อาหาร

3 (2-3-4)

 

Principles of Food Analysis

 

5274305

กฎหมายอาหารและการสุขาภิบาลโรงงาน

3 (2-3-4)

 

Food Laws and Sanitation

 

5274314

สถิติและการวางแผนการทดลองที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-2-5)

 

Statisics and Experimental Design in Agro-Industry

 

5274501

การอ่านแบบและการเขียนแบบเบื้องต้น

1(1-0-2)

 

Basic Reading and Drawing

 

5274901

สัมมนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1 (1-0-2)

 

Seminar in Food Science and Technology

 

5274902

ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

3 (2-3-4)

 

Special Problems in Food Science and Technology

 

            (3) วิชาเฉพาะด้านเลือก จำนวน 9 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5273103

ภาษาอังกฤษสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-2-5)

 

English for Agro-Industry

 

5274104

หลักการบรรจุภัณฑ์อาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Packaging

 

5274306

การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Product Development

 

5274307

การวางแผนและการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

3 (2-3-4)

 

Planning and Management Administration of Food Industry Plant

 

5274308

การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทางการเกษตร

3 (2-3-4)

 

Use of Agricultural Wastage

 

5274309

การตลาดผลิตภัณฑ์อาหาร

3 (3-0-6)

 

Food Product Marketing

 

5274310

พิษวิทยาทางอาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Toxicology

 

5274311

การประเมินคุณภาพอาหารโดยประสาทสัมผัส

3 (2-3-4)

 

Sensory Evaluation of Food

 

5274312

หัวข้อศึกษาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

3(2-3-4)

 

Special Topic in Food Science and Technology

 

5274313

การจัดการธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร

3 (3-0-6)

 

Management of Food Industry Business

 

5274306

การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร  
  Food Product Development  

5274401

เทคโนโลยีไขมันและน้ำมัน

3 (2-3-4)

 

Fat and Oil Technology

 

5274402

เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

3 (2-3-4)

 

Post Harvest Technology

 

5274403

เทคโนโลยีการหมัก

3 (2-3-4)

 

Fermentation Technology

 

5274404

เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Milk and Dairy Product Technology

 

5274405

เทคโนโลยีผักและผลไม้

3 (2-3-4)

 

Vegetable and fruit technology

 

5274406

เทคโนโลยีขนมอบ

3 (2-3-4)

 

Bakery Technology

 

5274407

เทคโนโลยีเครื่องดื่ม

3 (2-3-4)

 

Beverage Technology

 

5274408

เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Meat and Meat Product Technology

 

5274409

เทคโนโลยีเนื้อ สัตว์ปีก สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Meat, Poultry, Aquatic and Products Technology

 

5274410

เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง

3 (2-3-4)

 

Fishery Product Technology

 

5274411

เทคโนโลยีธัญชาติ

3 (2-3-4)

 

Cereal Technology

 

5274412

เทคโนโลยีขนมหวานและขนมขบเคี้ยว

3 (2-3-4)

 

Confectionery and Snack Food Technology

 

5274413

เทคโนโลยีของชา กาแฟ และโกโก้

3 (2-3-4)

 

Tea Coffee and Cocoa Technology

 

5274414

เทคโนโลยีการแปรรูปพืชและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Plant Process and Product Technology

 

5274703

วัตถุเจือปนในอาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Additives

 

            (4) วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 5 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5274802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

5 (450)

 

Field Experience in Food Science Technology

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

                ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ

        17.4 แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

 

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

 

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

 

4221103

เคมีมูลฐาน

3(2-3-4)

 

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2(2-0-4)

เลือก

1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2(2-0-4)

2500107

ชีวิตกับนาฏการ

2(2-0-4)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

เลือก

1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2(1-2-3)

รวม

17

 
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3(3-0-6)

 

4211303

ฟิสิกส์มูลฐาน

3(2-3-4)

 

4222414

เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3(2-3-4)

 

4231103

ชีววิทยามูลฐาน

3(2-3-4)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

5272301

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

2(1-2-3)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

3( )

 

รวม

20

 
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4221112

เคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3(2-3-4)

 

4222516

ชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3(2-3-4)

 

4223601

เคมีวิเคราะห์

3(2-3-4)

 

4291401

แคลคูลัส 1

3(3-0-6)

 

5272601

อาหารและโภชนาการ

3(2-3-4)

 

5274501

การอ่านแบบและการเขียนแบบเบื้องต้น

1(1-0-2)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

3( )

 

รวม

19

 
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3(3-0-6)

4232601

จุลชีววิทยา

3(2-3-4)

 

5273302

การแปรรูปอาหาร 1

3(2-3-4)

 

5273502

วิศวกรรมอาหารเบื้องต้น

2(1-2-3)

5273701

เคมีอาหาร

3(2-3-4)

 

5273702

หลักการวิเคราะห์อาหาร

3(2-3-4)

 

รวม

17

 
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

5273201

จุลชีววิทยาทางอาหาร

4(2-4-6)

 

5273303

การแปรรูปอาหาร 2

3(2-3-4)

 

5273304

หลักการควบคุมคุณภาพอาหารและการประกันคุณภาพ

3(2-3-4)

 

5273503

วิศวกรรมอาหาร

2(1-2-3)

 

527xxxx

วิชาเฉพาะด้าน (เลือก)

3( )

 

รวม

15

 
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3211101

องค์กรและการจัดการ

3(3-0-6)

5274305

กฎหมายอาหารและการสุขาภิบาลโรงงาน

3(2-3-4)

 

5274314

สถิติและการวางแผนการทดลองที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร

3(2-2-5)

 

5274801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

5(450)

 

5274901

สัมมนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1(1-0-2)

 

รวม

15

 
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3592205

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมการเกษตร

3(3-0-6)

 

5274902

ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

3(2-3-4)

 

527xxxx

วิชาเฉพาะด้าน (เลือก)

3( )

 

527xxxx

วิชาเฉพาะด้าน (เลือก)

3( )

 

รวม

12

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน จำนวน 24 หน่วยกิต

รายวิชา 2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานวิทยาศาสตร์ จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มือการใช้เครื่องมือ การใช้อุปกรณ์ ฝึกการใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 4211303

ฟิสิกส์มูลฐาน

3 (2-3-4)

 

Fundamental Physics

 

        การวัดและความแม่นยำในการวัด กฎการเคลื่อนที่ งานและพลังงาน โมเมนตัม กฎการอนุรักษ์พลังงานและโมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบสั่น การเคลื่อนที่แบบหมุน คลื่น กลศาสตร์ของไหล สมบัติของสาร ความร้อน อุณหพลศาสตร์ ไฟฟ้าสถิติและไฟฟ้ากระแส สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แสง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ฟิสิกส์ยุคใหม่เบื้องต้น กัมมันตภาพรังสี

รายวิชา 4221103

เคมีมูลฐาน

3 (2-3-4)

 

Fundamental Chemistry

 

        หลักเคมีพื้นฐาน การจำแนกสาร สมบัติของธาตุ สารประกอบ ของผสม สารละลาย วิธีแยกโดยการกลั่น การกรอง การตกผลึก การใช้ตัวทำละลายและโครมาโทกราฟี ระบบเปิด ระบบปิด ปริมาณสารสัมพันธ์ ความเข้มข้นของสารละลาย อะตอม โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้น ปฏิกิริยาเคมี องค์ประกอบที่มีผลต่ออัตราของปฏิกิริยา กรด เบส เกลือ อินดิเคเตอร์ สมบัติของแก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดันและอุณหภูมิ ทฤษฎีจลน์ โมเลกุลของแก๊ส การแพร่ของแก๊ส

รายวิชา 4221112

เคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-3-4)

 

Organic Chemistry for Agro-Industry

 

        ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์ สเตอริโอเคมี การจำแนกและการเรียกชื่อสารอินทรีย์ ชนิดและกลไกของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ศึกษาโครงสร้าง สมบัติและการวิเคราะห์สารอินทรีย์กลุ่มต่างๆ คือสารประกอบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน สารอินทรีย์ที่มีออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และซัลเฟอร์เป็นองค์ประกอบ สารประกอบเฮเทอโรไซคลิก สารอินทรีย์ที่พบในธรรมชาติและสารประกอบออร์แกโนเมทัลลิก

รายวิชา 4222414

เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-3-4)

 

Physical Chemistry for Agro-Industry

 

        ศึกษาสมบัติของแก็สและทฤษฎีจลน์ของแก็ส สมดุลเคมี กฎของวัฎภาค สมดุลวัฎภาค สารละลาย อุณหพลศาสตร์ เคมีไฟฟ้า และปฏิบัติการตามเนื้อหาวิชาเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

รายวิชา 4231103

ชีววิทยามูลฐาน

3 (2-3-4)

 

Fundamental Biology

 

        ศึกษาสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเนื้อเยื่อ พลังงานในสิ่งมีชีวิต การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบการทำงานของสิ่งมีชีวิตและชีวิตกับสภาพแวดล้อม ปฏิบัติการเรื่องสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการแบ่งเซลล์เนื้อเยื่อ การสืบพันธุ์ การจำแนกสิ่งมีชีวิต การแลกเปลี่ยนสาร การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การทำงานของระบบต่างๆในสัตว์ ฮอร์โมนพืช และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

Calculus 1

 

        ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับลิมิตของฟังก์ชัน ฟังก์ชัน ฟังก์ชันต่อเนื่อง อนุพันธ์ของของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันอดิศัย การประยุกต์อนุพันธ์ และอินทิกรัล

รายวิชา 4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

        ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ การนำเสนอสารสนเทศ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหรือเขียนโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เรียน

 

            3. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 57 หน่วยกิต

รายวิชา 2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

English for Technology

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด  ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์  เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์  เช่น การรู้ศัพท์  การอ้างถึง  คำเชื่อม  ข้อความ  การจับใจความสำคัญ  เหตุและผล  ทัศนคติของผู้เขียน  และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Organization and Management

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป หลักเกณฑ์และแนวความคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ลักษณะและประเภทของการประกอบธุรกิจ จริยธรรมของผู้ประกอบธุรกิจ หลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้าน ในแง่ของการวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดองค์กร การจัดคนเข้าทำงาน การนำการควบคุมปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายที่ตั้งไว้ และเทคนิคการจัดการสมัยใหม่

รายวิชา 3592205

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมการเกษตร

3 (3-0-6)

 

Economics of Agro-Industry

 

        ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร การลดต้นทุนการผลิตในระบบอุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายทางเศรษฐศาสตร์และความต้องการของอุตสาหกรรม

รายวิชา 4222516

ชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-3-4)

 

Biochemistry for Agro-Industry

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

        องค์ประกอบของเซลล์ชีวโมเลกุล คาร์โบไฮเดรท ลิปิด กรดอะมิโนและโปรตีน เอนไซม์ กรดนิวคลิอิก เมตาบอลิซึม และการควบคุมเมตาบอลิซึมของชีวโมเลกุลเหล่านี้

รายวิชา 4223601

เคมีวิเคราะห์

3 (2-3-4)

 

Analytical Chemistry

 

        ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในการวิเคราะห์ วิธีเบื้องต้นในการทำคุณภาพวิเคราะห์แบบกึ่งจุลภาค การคำนวณปริมาณสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ การใช้อุปกรณ์เกี่ยวกับการวัดปริมาตร การคำนวณหาปริมาณสารเคมีและการวิเคราะห์โดยปริมาตรในปฏิกิริยากรด-เบส ปฏิกิริยาตกตะกอน ปฏิกิริยารีดอกซ์ และปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนจากการไทเทรตสารละลายประเภทต่างๆ ในน้ำ

รายวิชา 4232601

จุลชีววิทยา

3 (2-3-4)

 

Microbiology

 

        ศึกษา ค้นคว้าความรู้พื้นฐานจุลชีววิทยา ศึกษาเปรียบเทียบโพรคาริโอตและยูคาริโอต การจำแนกประเภทสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ การควบคุมและการจำแนกจุลินทรีย์ ความสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ต่ออาหาร น้ำ ดิน อากาศ การอุตสาหกรรม การสุขาภิบาล โรคติดต่อและภูมิต้านทาน

รายวิชา 5272301

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

2 (1-2-3)

 

Introduction to Food Science and Technology

 

        สถานการณ์อาหารโลก แหล่งอาหารมนุษย์ ลักษณะทางอุตสาหกรรมอาหารและแนวโน้มรวมถึงธุรกิจที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบของอาหาร การเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยว การเสื่อมเสียของอาหารและการควบคุม หลักเบื้องต้นของการแปรรูปอาหารต่างๆ ผลิตภัณฑ์อาหารชนิดต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อและสัตว์ปีก ผลิตภัณฑ์นม ผลิตภัณฑ์ประมง ไขมันและน้ำมัน ธัญชาติ ผักผลไม้ ผลิตภัณฑ์อาหารหมัก การบรรจุภัณฑ์อาหาร คุณภาพของอาหารและปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอาหาร และความปลอดภัยในอาหาร การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพ การขนส่ง การจัดจำหน่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอาหารของไทยและสากล

รายวิชา 5272601

อาหารและโภชนาการ

3 (2-3-4)

 

Food and Nutrition

 

        อาหารและคุณค่าทางโภชนาการ เมตาโบลิซึม ความต้องการและปัญหาการขาดสารอาหาร การประเมินคุณภาพอาหารและภาวะโภชนาการ ผลการแปรรูปและการเก็บรักษาต่อคุณค่าทางโภชนาการ ผลการแปรรูปและการเก็บรักษาต่อคุณภาพทางโภชนาการ คุณภาพทางประสาทสัมผัส และสุขภาพของผู้บริโภค ฉลากโภชนาการและการเติมสารอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนด ข้อกำหนดการจัดทำ อาหารเสริมสุขภาพ (Healthy Food) อาหารเพื่อการรักษาโรค อาหารชีวจิต อาหารดัดแปลงพันธุกรรม อาหารกลุ่มใหม่ ๆ ที่มีผลเชิงสุขภาพ และปฏิบัติการที่สอดคล้องกับเนื้อหาข้างต้น

รายวิชา 5273201

จุลชีววิทยาทางอาหาร

4 (2-4-6)

 

Food Microbiology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : จุลชีววิทยาทั่วไป

ÈÖ¡ÉÒà¡ÕèÂǡѺ¡ÒèÓṡª¹Ô´¢Í§¨ØÅÔ¹·ÃÕÂì ÊÃÕÃÇÔ·ÂÒ ¡ÒÃà¨ÃÔ­àµÔºâµ »Ñ¨¨Ñ·ÕèÁռŵèÍ¡ÒÃà¨ÃÔ­ àµÔºâµ¢Í§¨ØÅÔ¹·ÃÕÂì·Õèà¡ÕèÂÇ¢éͧ¡ÑºÍÒËÒà ¡ÒÃàÊ×èÍÁ¤Ø³ÀÒ¾áÅСÒÃà¹èÒàÊÕ¢ͧÍÒËÒÃáÅмÅÔµÀѳ±ìÍÒËÒûÃÐàÀ·µèÒ§æ ¡Òö¹ÍÁáÅСÒûéͧ¡Ñ¹ ¤Ø³ÊÁºÑµÔ·Ò§ªÕÇÀÒ¾¢Í§¨ØÅÔ¹·ÃÕÂì·Õèà»ç¹ÊÒà˵آͧâä·Ò§à´Ô¹ÍÒËÒà ÍÒËÒÃà»ç¹¾ÔÉ ¡ÒõÃǨÊͺ¨ØÅÔ¹·ÃÕÂìã¹ÍÒËÒÃâ´Â»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃÊÍ´¤Åéͧ¡Ñºà¹×éÍËÒ¢éÒ§µé¹ áÅСÒÃãªé»ÃÐ⪹ì¨Ò¡¨ØÅÔ¹·ÃÕÂìã¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ

รายวิชา 5273302

การแปรรูปอาหาร 1

3 (2-3-4)

 

Food Processing I

 

        หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณลักษณะทางประสาทสัมผัสและคุณสมบัติทางโภชนาการของอาหาร คุณลักษณะทั่วไปของวัตถุดิบอาหาร การจัดการและการเตรียมวัตถุดิบเพื่อการแปรรูปใน อุตสาหกรรม กรรมวิธีการแปรรูปอาหารโดยใช้ความร้อน กระบวนการเอ็กซ์ทรูชั่น การทำแห้ง การทำให้อาหารเข้มข้น การใช้ไมโครเวฟ การศึกษาดูงานนอกสถานที่

รายวิชา 5273303

การแปรรูปอาหาร 2

3 (2-3-4)

 

Food Processing II

 

        กรรมวิธีการแปรรูปอาหารโดยการช่เย็น การแช่เยือกแข็ง การหมัก การใช้สารเคมี การฉายรังสีหลักเกณฑ์ทั่วไปของการปฏิบัติการที่ดีในการผลิตอาหาร การบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำและการจัดการของเสีย ผลิตผลพลอยได้และการใช้ประโยชน์จากของเสีย การศึกษาดูงานนอกสถานที่

รายวิชา 5273304

หลักการควบคุมคุณภาพอาหารและการประกันคุณภาพ

3 (2-3-4)

 

Principle of Food Quality Control and Quality Assurance

 

        หลักการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร การวัดค่าและควบคุมคุณภาพทางกายภาพ เคมี จุลินทรีย์ และประสาทสัมผัสในกระบวนการแปรรูปอาหาร เทคนิค วิชาการสุ่มตัวอย่างอาหารโดยใช้หลักการทางสถิติ เพื่อสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพอาหาร การจัดระบบประกันคุณภาพอาหาร มาตรฐานระบบคุณภาพในระดับประเทศและระดับสากล เทคนิคการนำระบบคุณภาพมาใช้ในการประกันคุณภาพอาหาร เช่น GMP, HACCP, ISO9000, ISO17025 เป็นต้น การศึกษาดูงานนอกสถานที่

รายวิชา 5273502

วิศวกรรมอาหารเบื้องต้น

2 (1-2-3)

 

Basic Food Engineering

 

        หลักพื้นฐานที่ใช้ในการคำนวณด้านวิศวกรรม หลักการทางวิศวกรรมของสมดุลมวลและสมดุลพลังงาน การไหลของของเหลวและหลักพื้นฐานวิชาจลนพลศาสตร์ที่ประยุกต์ใช้ในกรรมวิธีการแปรรูปอาหาร หน่วยปฏิบัติการตามกรรมวิธีการแปรรูปอาหาร เชื้อเพลิงและแหล่งกำเนิดความร้อนที่ใช้ในการแปรรูปอาหาร

รายวิชา 5273503

วิศวกรรมอาหาร

2 (1-2-3)

 

Food Engineering

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5273501 วิศวกรรมอาหารเบื้องต้น

        หลักการทางวิศวกรรมเกี่ยวที่กับการถ่ายเทมวลความร้อน และโมเมนตัม การคำนวณพลังงานสำหรับการถ่ายเทความร้อน ระบบการทำความเย็นและระบบแช่เยือกแข็ง จุดควบคุมกรรมวิธีการแปรรูปอาหาร และการปฏิบัติทางวิศวกรรมอาหารในกรรมวิธีแปรรูปอาหาร

รายวิชา 5273701

เคมีอาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Chemistry

 

        องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร โครงสร้าง และคุณสมบัติทางเคมีอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และรงควัตถุในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหาร เอนไซม์ในอาหาร การเปลี่ยนแปลงและความสำคัญทางเคมีและชีวเคมีของอาหารระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา รวมถึงศึกษากลไกของปฏิกิริยาสำคัญต่างๆที่เกิดขึ้นในอาหาร

รายวิชา 5273702

หลักการวิเคราะห์อาหาร

3 (2-3-4)

 

Principles of Food Analysis

 

        การใช้และดูแลรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์อาหารทางเคมี การเตรียมสารเคมี วิธีการ มาตรฐานของการวิเคราะห์โดยประมาณ(Proximate analysis) การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อทำฉลากโภชนาการ การวิเคราะห์อาหารโดยใช้เครื่องมือขั้นสูง เช่น GC, HPLC, AAS เป็นต้น

รายวิชา 5274305

กฎหมายอาหารและการสุขาภิบาลโรงงาน

3 (2-3-4)

 

Food Laws and Sanitation

 

        ความสำคัญของกฎหมายและมาตรฐานอาหาร องค์กรที่เกี่ยวข้อง การจัดตั้งมาตรฐานและจัดระดับ ชั้นของผลิตภัณฑ์ ข้อกำหนดมาตรฐานอาหารระดับประเทศและระดับสากล กฎหมายข้อบังคับเกี่ยวกับฉลากอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารและโรงงานอุตสาหกรรม หลักการสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การออกแบบโรงงาน การติดตั้งเครื่องมือ อุปกรณ์ให้ถูกหลักสุขาภิบาล หลักการทำความสะอาด การควบคุมคุณภาพที่ใช้ในโรงงาน การบำบัดน้ำเสีย การควบคุมสัตว์พาหนะ และสุขอนามัยของบุคลากรในโรงงาน การศึกษาดูงานนอกสถานที่

รายวิชา 5274314

สถิติและการวางแผนการทดลองที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร

3(2-2-5)

 

Statisics and Experimental Design in Agro-Industry

 

        พื้นฐานสถิติและการวิเคราะห์สถิติที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร หลักการวางแผนการทดลอง การสุ่มตัวอย่าง แผนการทดลองแบบแจกแจงทางเดียวและหลายทาง แผนการทดลองแบบลาตินสแคว์ การทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองแบบสปลิตพล็อต การวิเคราะห์วาเรียนซ์และโควาเรียนซ์ และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวางแผนการทดลองและประมวลผล

รายวิชา 5274501

การอ่านแบบและเขียนแบบเบื้องต้น

1 (1-0-2)

 

Basic Reading and Drawing

 

        การอ่านแบบและการเขียนแบบเบื้องต้น ระบบแสง การติดตั้งเครื่องมือ การวางระบบท่อ

รายวิชา 5274901

สัมมนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1 (1-0-2)

 

Seminar in Food Science and Technology

 

        ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารแล้วนำมาเรียบเรียงเสนอรายงานเป็นรายบุคคล ศึกษากรรมวิธีการสืบค้นข้อมูลแบบต่างๆ ลักษณะและการตีความเอกสารในเชิงวิชาการ การเรียบเรียงข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล

รายวิชา 5274902

ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

3 (2-3-4)

 

Special Problems in Food Science and Technology

 

        ค้นคว้า ทดลองและวิจัยงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับอาหารและผลิตภัณฑ์อาหาร รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสรุปผลและเสนอเป็นรายงาน ภายใต้การควบ คุมและแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ

 

            4. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน เลือก จำนวน 9 หน่วยกิต

รายวิชา 5273103

ภาษาอังกฤษสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

3 (2-2-5)

 

English for Agro-Industry

 

        ศึกษาคำศัพท์เฉพาะด้าน โครงสร้างตามหน้าที่ของภาษาที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตรโดยเน้นทักษะการอ่าน การเขียนรายงาน การฟัง และการสื่อสาร เพื่อนำเสนอผลงานทางวิชาการ และการวิจัยทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร

รายวิชา 5274104

หลักการบรรจุภัณฑ์อาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Packaging

 

        หน้าที่และความสำคัญของภาชนะบรรจุ ความหมายและระบบของการบรรจุ ประเภทของบรรจุภัณฑ์และคุณสมบัติทางด้านกายภาพและเคมี หลักการพิจารณาเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิต-ภัณฑ์ วิธีการทดสอบวัสดุบรรจุภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารประเภทต่างๆ วิธีการบรรจุและเครื่องมือที่ใช้ในการบรรจุภัณฑ์อาหาร ระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฏหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

รายวิชา 5274306

การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Product Development

 

ËÅÑ¡¡Òâͧ¡ÒþѲ¹Ò¼ÅÔµÀѳ±ì ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ鹵͹¢Í§¡ÒþѲ¹Ò¼ÅÔµÀѳ±ìÍÒËÒÃáÅÐÇÔ¸Õ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒþѲ¹ÒµÒÁ¢Ñ鹵͹µèÒ§æ â´Âà¹é¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¶Ö§ÇÔ¸ÕÊÃéÒ§á¹Ç¤ÇÒÁ¤Ô´áÅФѴàÅ×Í¡¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÓËÃѺ¼ÅÔµÀѳ±ìãËÁè ¡ÒÃÊÃéÒ§ÊÙµÃÍÒËÒà¡ÒûÃÐàÁÔ¹¼Å¢Í§¼ÅÔµÀѳ±ì ªèͧ·Ò§¡ÒõÅÒ´¢Í§¼ÅÔµÀѳ±ì·Õè¾Ñ²¹Ò¢Öé¹ »Ñ¨¨Ñ·ÕèÁռŵèÍ¡ÒþѲ¹Ò¼ÅÔµÀѳ±ì

รายวิชา 5274307

การวางแผนและการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

3 (2-3-4)

 

Planning and Management Administration of Food Industry Plant

 

        ศึกษาระบบการผลิต การพยากรณ์ความต้องการและกำหนดปัจจัยการผลิตในโรงงานอุตสาห-กรรมอาหาร การวางแผนกำลังการผลิต การควบคุมต้นทุนการผลิต การจัดและบริหารงานโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การออกแบบเครื่องจักร อุปกรณ์ การจัดระบบการใช้ และการควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การศึกษาอุปสงค์ อุปทานในเชิงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

รายวิชา 5274308

การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทางการเกษตร

3 (2-3-4)

 

Use of Agricultural Wastage

 

        ความหมายและความสำคัญของเศษเหลือทางการเกษตร การนำเศษเหลือทางการเกษตรมาใช้ในแง่ของอุตสาหกรรม การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิต การนำเศษเหลือทางการเกษตรมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น แก๊สมูลสัตว์ การผลิตแอลกอฮอล์ การดัดแปลงเศษเหลือมาเพาะเห็ด อาหารสัตว์ ฯลฯ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปรรูปเศษเหลือทางการเกษตร การศึกษานอกสถานที่

รายวิชา 5274309

การตลาดผลิตภัณฑ์อาหาร

3 (3-0-6)

 

Food Product Marketing

 

        หลักการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคของผลิตภัณฑ์อาหาร การแบ่งส่วนตลาดผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์และพยากรณ์ความต้องการของตลาดของผลิตภัณฑ์อาหาร นโยบายและกลยุทธ์ทางการตลาด ส่วนประสมการตลาด การตั้งราคาและกลยุทธ์ทางด้านราคา การส่งเสริมการขายและช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร การแข่งขันทางการตลาดของผลิตภัณฑ์อาหาร

รายวิชา 5274310

พิษวิทยาทางอาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Toxicology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : อาหารและโภชนาการ

        หลักเบื้องต้นของพิษวิทยา ชนิดของสารพิษต่างๆในอาหาร กลไกการเกิดพิษ การดูดซึม การสลายตัว และการขับออกของสารพิษ การเปลี่ยนแปลงของสารพิษในสิ่งมีชีวิต ปัจจัยทางชีวภาพที่มีผลต่อการทำลายสารพิษ การก่อกลายพันธุ์ การก่อมะเร็ง การเกิดสารพิษในกระบวนการแปรรูปอาหาร การประเมินความปลอดภัยของสารเคมีที่ใช้ในอาหาร การทดสอบความเป็นพิษ และหลักการวิเคราะห์สารพิษในอาหารเชิงคุณภาพและปริมาณ

รายวิชา 5274311

การประเมินคุณภาพอาหารโดยประสาทสัมผัส

3 (2-3-4)

 

Sensory Evaluation of Food

 

        ความสำคัญและประโยชน์ของการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส ลักษณะทางประสาทสัมผัสและพื้นฐานการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ปัจจัยที่มีผลต่อการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส วิธีการวัดผลการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส วิธีการทดสอบทางประสาทสัมผัสแบบต่างๆ การคัดเลือกและฝึกฝนผู้ทดสอบ การใช้สถิติเพื่อหาข้อสรุปในการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส

รายวิชา 5274312

หัวข้อศึกษาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

3 (2-3-4)

 

Special Topic in Food Science and Technology

 

        การศึกษาหัวข้อที่น่าสนใจ โดยเน้นเทคโนโลยีความรู้ความก้าวหน้าในเชิงวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร โดยหัวข้อเปลี่ยนไปตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและความเหมาะสมของการประยุกต์ใช้และตามความสนใจของอาจารย์และนักศึกษา

รายวิชา 5274313

การจัดการธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร

3 (3-0-6)

 

Management of Food Industry Business

 

        แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจอาหาร การจัดการและการวิเคราะห์โครงการธุรกิจอาหาร การจัดการวัตถุดิบ การจัดการกระบวนการแปรรูปแบบต่างๆ การจัดการบรรจุภัณฑ์ การจัดระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร การบัญชีและการใช้ข้อมูลทางการเงินเพื่อการจัดการธุรกิจอาหาร การจัดการบุคคลากรและสิ่งแวดล้อมในระบบธุรกิจอาหาร แนวทางการพัฒนาธุรกิจอาหาร

รายวิชา 5274401

เทคโนโลยีไขมันและน้ำมัน

3 (2-3-4)

 

Fat and Oil Technology

 

        ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวภาพของไขมันและน้ำมัน ความสำคัญของพืชน้ำมันทางเศรษฐกิจ ชนิดและแหล่งของพืชน้ำมัน การแปรรูป การเก็บรักษา การเสื่อมเสียคุณภาพและการควบคุมคุณภาพ การปรับปรุงคุณภาพด้านสี กลิ่น รส ของผลผลิตจากพืชน้ำมัน การบรรจุหีบห่อ และการเก็บรักษา

รายวิชา 5274402

เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

3 (2-3-4)

 

Post Harvest Technology

 

        หลักเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยา และชีวเคมีหลังการเก็บเกี่ยวของพืช การจัดการ การเก็บรักษา การแปรรูป และเทคโนโลยีการบรรจุ

รายวิชา 5274403

เทคโนโลยีการหมัก

3 (2-3-4)

 

Fermentation Technology

 

        ประเภทของการหมัก จุลินทรีย์ที่สำคัญในกระบวนการหมัก การเตรียมหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อกระ-บวนการหมัก และปัจจัยในการผลิตอาหารหมักชนิดต่างๆ และเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ กรรมวิธีการผลิตที่ใช้ในอุตสาหกรรมหมัก ผลิตภัณฑ์อาหารหมักชนิดต่างๆ การควบคุมคุณภาพและการเก็บรักษา การทดสอบคุณภาพอาหารหมัก ตลอดจนอาหารหมักกับสุขภาพ การศึกษานอกสถานที่ในอุตสาหกรรมอาหารหมัก

รายวิชา 5274404

เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Milk and Dairy Product Technology

 

        ความหมายของน้ำนม โครงสร้างเต้านม และการกลั่นสร้างน้ำนม องค์ประกอบของน้ำนม คุณสมบัติทางเคมี กายภาพ และจุลชีววิทยาของน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณและคุณภาพของน้ำนม การเสื่อมเสีย การเก็บรักษากรรมวิธีที่ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์นมชนิดต่างๆ การตรวจสอบคุณภาพของน้ำนม และมาตรฐานของน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรม

รายวิชา 5274405

เทคโนโลยีผักและผลไม้

3 (2-3-4)

 

Vegetable and fruit technology

 

        สรีรวิทยาของผักและผลไม้ องค์ประกอบทางเคมีและคุณค่าทางอาหารของผักและผลไม้ การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีก่อนการเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาผักและผลไม้ หลักการและวิธีการแปรรูป การบรรจุและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การใช้ประโยชน์โดยตรงจากอุตสาห-กรรมผักและผลไม้ การศึกษานอกสถานที่

รายวิชา 5274406

เทคโนโลยีขนมอบ

3 (2-3-4)

 

Bakery Technology

 

        ศึกษาสมบัติและองค์ประกอบของเครื่องปรุงการผลิต ที่ใช้ในกผลิตภัณฑ์การใช้เครื่องมือ และการบำรุงรักษาเครื่องมือการผลิต คุณสมบัติและหน้าที่ของวัตถุดิบหลักและส่วนประกอบของขนมอบ ประ-เภทของขนมอบ หลัการผลิตขนมอบ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการผลิตขนมอบ การควบคุมคุณภาพ และการเสื่อมเสีย การบรรจุและการเก็บรักษา และการพัฒนาผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ และปฏิบัติการตามเนื้อหา

รายวิชา 5274407

เทคโนโลยีเครื่องดื่ม

3 (2-3-4)

 

Beverage Technology

 

        บทบาทของเครื่องดื่ม ชนิดและประเภทของเครื่องดื่ม ส่วนประกอบของเครื่องดื่ม กรรมวิธีการผลิตเครื่องดื่ม การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบเครื่องดื่ม

รายวิชา 5274408

เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Meat and Meat Product Technology

 

        ประเภทของเนื้อสัตว์และแหล่งที่มาของเนื้อสัตว์ โครงสร้างของกล้ามเนื้อ คุณสมบัติทางเคมี กายภาพและชีวภาพ องค์ประกอบของเนื้อสัตว์และส่วนต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของเนื้อหลังการฆ่า การฆ่าสัตว์และการตัดแต่ง การเปลี่ยนของสีในกล้ามเนื้อ การเสื่อมเสียของเนื้อสัตว์ หลักการถนอมและแปรรูปเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์เนื้อและการเก็บรักษา คุณภาพของผลิตภัณฑ์เนื้อและการควบคุม

รายวิชา 5274409

เทคโนโลยีเนื้อ สัตว์ปีก สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Meat, Poultry, Aquatic and Products Technology

 

        ประเภทและแหล่งที่มา โครงสร้างของกล้ามเนื้อ คุณสมบัติทางเคมี กายภาพและชีวภาพ องค์ประกอบของเนื้อสัตว์ สัตว์ปีก และสัตว์น้ำ การเปลี่ยนแปลงหลังการฆ่าหรือการจับ การตัดแต่งเนื้อ การเสื่อมเสีย หลักการถนอมและแปรรูปเนื้อสัตว์ สัตว์ปีก และสัตว์น้ำ ผลิตภัณฑ์และการเก็บรักษา คุณภาพของผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพ การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพการบรรจุและการจัดจำหน่าย ข้อกำหนดและมาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลาดและแนวโน้มของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปฏิบัติการตามเนื้อหาข้างต้น

รายวิชา 5274410

เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง

3 (2-3-4)

 

Fishery Product Technology

 

        สัตว์น้ำที่ใช้ในการปริโภค โครงสร้างและองค์ประกอบของสัตว์น้ำ คุณภาพและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของสัตว์น้ำตลอดจนการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ หลักการแปรรูปสัตว์น้ำด้วยกรรมวิธีต่างๆ การบรรจุ การเก็บรักษา การขนส่ง ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือจากกระบวนการผลิต การศึกษานอกสถานที่

รายวิชา 5274411

เทคโนโลยีธัญชาติ

3 (2-3-4)

 

Cereal Technology

 

        ศึกษาองค์ประกอบ โครงสร้างทางกายภาพและทางเคมีของธัญชาติ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี กายภาพ และชีววิทยา ระหว่างการผลิตของธัญชาติชนิดต่างๆ โดยเฉพาะข้าว ข้าวโพดและข้าวสาลี และพืชตระกูลถั่วโดยเฉพาะถั่วเหลือง ถั่วเขียวและถั่วลิสง กรรมวิธีการแปรรูปและการใช้ผลิตภัณฑ์ธัญชาติ การเก็บรักษาธัญชาติและผลิตภัณฑ์ต่างๆจากธัญชาติ ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมธัญชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และแนวโน้มทางการตลาด

รายวิชา 5274412

เทคโนโลยีขนมหวานและขนมขบเคี้ยว

3 (2-3-4)

 

Confectionery and Snack Food Technology

 

        หลักการและเทคโนโลยีในการผลิตผลิตภัณฑ์ขนมหวาน ขนมขบเคี้ยว วัตถุดิบ และคุณสมบัติของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต การควบคุมคุณภาพ การบรรจุ การเก็บรักษา และการเปลี่ยนแปลงของผลิต-ภัณฑ์ระหว่างการผลิตและการเก็บรักษา

รายวิชา 5274413

เทคโนโลยีของชา กาแฟ และโกโก้

3 (2-3-4)

 

Tea Coffee and Cocoa Technology

 

        ศึกษาประวัติความเป็นมา ลักษณะทางพฤษศาสตร์ องค์ประกอบทางเคมี การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การแปรรูปและการเก็บรักษาของชา กาแฟ และโกโก้

รายวิชา 5274414

เทคโนโลยีการแปรรูปพืชและผลิตภัณฑ์

3 (2-3-4)

 

Plant Process and Product Technology

 

        ศึกษาสรีรวิทยาของพืชแต่ละชนิด ได้แก่ ผัก ผลไม้ ธัญพืช และพืชน้ำมัน องค์ประกอบทางเคมีและคุณค่าทางอาหาร โครงสร้างทางกายภาพและทางเคมีและการเปลี่ยนแปลงระหว่างการผลิตของพืชแต่ละชนิด การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีก่อนการเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาหลักการและกรรมวิธีการแปรรูป การบรรจุและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และแนวโน้มทางการตลาด

รายวิชา 5274703

วัตถุเจือปนในอาหาร

3 (2-3-4)

 

Food Additives

 

ÃÒÂÇÔªÒ·ÕèµéͧàÃÕ¹ÁÒ¡è͹ : à¤ÁÕÍÒËÒÃ

        สารเจือปนชนิดต่างๆที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เกณฑ์การจำแนกสารเจือปนในอาหาร ในเชิงพิษวิทยา เชิงการใช้ประโยชน์คุณสมบัติของสารเจือปนที่มีผลต่ออาหารทั้งทางด้านเคมี กายภาพ ชีววิทยา และการเก็บรักษา ตลอดจนทั้งผู้บริโภค วิธีการใช้และประสิทธิภาพของสารเจือปนในอาหาร กฎหมายและมาตรฐานด้านสารเจือปนในอาหารทั้งในและต่างประเทศ วิธีการประเมินความเป็นพิษของ สารเจือปนในอาหาร สารเจือปนในอาหารชนิดต่าง ๆ ในเชิงคุณสมบัติเฉพาะ และการนำไปใช้

           5. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาประสบการณ์วิชาชีพจำนวน 5 หน่วยกิต

รายวิชา 5274802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

5 (450)

 

Field Experience in Food Science Technology

 

        การฝึกงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร หรือสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารหรือเรื่องที่ฝึกให้มีประโยชน์แก่การศึกษา ค้นคว้า การแปรรูป การจำหน่าย

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

            18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

            18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. จัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน
                6. จัดหาสถานที่ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มความรู้ให้กับนักศึกษา

            18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. ประสานงานกับสถานประกอบการเพื่อจัดหานักศึกษาเข้าทำงาน

            18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
                2. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                3. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***************

 

ภาคผนวก

 

1. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

        1.1 มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        1.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์แกรนด์รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 28-30 ตุลาคม 2545 ทำให้ได้ชื่อหลักสูตรวิชาแกน วิชาบังคับ และบางส่วนของวิชาเลือก

        1.3 ดำเนินการประชุมโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เพื่อจัดทำร่างหลักสูตร เมื่อเดือนกรกฎาคม 2548

        1.4 เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการวิพากย์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เมื่อวันที่ 1-2 สิงหาคม 2548

        1.5 ประชุมเตรียมการวิพากย์หลักสูตร ณ โปรแกรมวิชาวิทย์ฯ-อาหาร เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2548

        1.6 ประชุมปรับปรุง แก้ไขหลักสูตร ณ โปรแกรมวิชาเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2548

        1.7 ประชุมปฏิบัติการวิพาย์หลักสูตร ณ ห้องดุสิตา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2548

        1.8 ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไปและวิทยาการจัดการ

        1.9 ปรับปรุงแก้ไข นำเสนอต่อมหาวิทยาลัย วันที่ 8 ตุลาคม 2548

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

1.

รศ.ดร.กิติพงศ์ ห่วงรักษ์

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

2.

รศ.พันธ์ณรงค์ จันทร์แสงศรี

ม.นเรศวร

3.

ผศ.ดร.สุภาณี ด่านวิริยะกุล

ม.ราชภัฏจันทรเกษม

4.

ผศ.สุวรรณ คงมี

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

5.

ดร.บุญแสน เตียวนุกูลธรรม

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

6.

นางสาวอิ่มเอิบ พันสด

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

7.

นางเบญจพร รอดอาวุธ

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

8.

นายนรินทร์ เลียงหิรัญถาวร

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

9.

นางสาวลาวรรณ์ บัวสาย

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

10.

อ.จุติพรรษ์ อนิวรรตกูล

ม.ราชภัฏนครสวรรค์

11.

อ.บุณยกฤต รัตนพันธุ์

ม.ราชภัฏกำแพงเพชร

12.

อ.วชิระ สิงห์คง

ม.ราชภัฏกำแพงเพชร

13.

ผศ.ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา

ม.ราชภัฏเลย

14.

อ.โสภา ธงศิลา

ม.ราชภัฏเลย

15.

อ.เตือนใจ ศิริพาหนะกุล

ม.ราชภัฏเลย

16.

นางสาวธาริตา ปรีดีย์

ม.ราชภัฏเลย

17.

นางสาวภาวนา อุกฤษฏ์มโนรถ

บริษัทน้ำตาลเกษตรไทย จำกัด

18.

นายณรงค์รัฐ วิเชียรรัตน์

บริษัทเบียร์ไทย(1991) จำกัดมหาชน

19.

นายวีระชัย ไชยมงคล

บริษัทเบียร์ไทย(1991) จำกัดมหาชน

20.

นายสกล วจีสัจจะ

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาดิน อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

3. ภาพการประชุมปฏิบัติการวิพากย์หลักสูตร ณ ห้องดุสิตา เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2548

 

4. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร พุทธศักราช 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรปรับปรุง

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การอาหาร

คงเดิม

 

2

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

คงเดิม

 

3

ปรัชญาของหลักสูตร

มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5 ข้อ

3 ข้อ

ปรับปรุงให้เหมาะสม

5

หลักสูตร

     

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างหลักสูตร

     

    (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

    (2) หมวดวิชาเฉพาะ

(107 หน่วยกิต)

(95 หน่วยกิต)

 

         2.1 วิชาแกน

ไม่มี

24 หน่วยกิต

 

         2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

75 หน่วยกิต

57 หน่วยกิต

 

         2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

10 หน่วยกิต

9 หน่วยกิต

 

         2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

 

         2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

 

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

    (3) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลข 7 หลัก จัดเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมมี 39 รายวิชา

ปรับปรุงคำอธิบายใหม่ 16 รายวิชา

ตัดออก 80 รายวิชา
เพิ่มใหม่ 21 รายวิชา

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

5 คน

6 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

มีจำนวน 6 คน

 

 

*****************

 

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

 

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

 

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์