หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะ
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร
  17.1 จำนวนหน่วยกิต
  17.2 โครงสร้างหลักสูตร
  17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต
  17.4 แผนการศึกษา
  17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

ภาคผนวก
  ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
  คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ
  มาตรฐานด้านคุณลักษณะบัณฑิต

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรใหม่
พุทธศักราช 2549

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Public Health

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์)
  Bachelor of Science (Public Health)
ชื่อย่อ : วท.บ. (สาธารณสุขศาสตร์)
  B.Sc. (Public Health)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

    4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

    หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่จะพัฒนาบุคลากรให้มี ความรู้ ความสามารถและความชำนาญด้านสาธารณสุขชุมชนและอาชีวอนามัย โดยเน้นความเป็นผู้นำทางวิชาการและความคิดสร้างสรรค์ สามารถปฏิบัติงานของภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หรือประกอบอาชีพอิสระ รวมทั้งมีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถปฏิบัติและประสานงานกับบุคลากรในสาขาวิชาชีพอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

            1. วัตถุประสงค์ทั่วไปของหลักสูตร

                    เพื่อพัฒนาบัณฑิตสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ให้เป็นผู้นำทางวิชาการด้านสาธารณสุข สามารถออกไปปฏิบัติหน้าที่ให้การศึกษา ฝึกอบรม ให้คำปรึกษา วางแผน บริหาร วิจัย ประเมินผล รวมทั้งการให้บริการต่าง ๆ เพื่อพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ และสนองความต้องการให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐ ภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ

            2. วัตถุประสงค์เฉพาะของแขนงสาธารณสุขชุมชน

                (1) มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสภาพ การบริหารจัดการสุขภาพชุมชน และการจัดโครงการด้านสุขภาพ
                (2) เพื่อพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาชุมชน
                (3) สามารถถ่ายทอดความรู้ วินิจฉัย วางแผนดำเนินงาน และประเมินผลด้านสาธารณสุขชุมชน รวมทั้งสามารถนำทรัพยากร ภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาประยุกต์ในงานสาธารณสุข เพื่อพัฒนาชีวิตของตนเองและชุมชน

            3. วัตถุประสงค์เฉพาะของแขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                (1) มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการทำงานในอาชีพต่าง ๆ ทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพ เคมี และมีความรู้ในการป้องกัน ควบคุม อันตรายและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
                (2) ให้มีจิตสำนึกเกี่ยวกับความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ
                (3) มีความสามารถในการบริหาร และวางแผนด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในระดับต่าง ๆ รวมทั้งมีความคิดริเริ่ม มีความรับผิดชอบ และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล

5. กำหนดการเปิดสอน

        5.1 แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

        5.2 แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ / หรือเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ / หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นางชยภรณ ดีเอม

    -  วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  วท.บ. (สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา

ผลงานทางวิชาการ

    -

รายวิชาที่สอน

    1. การสาธารณสุขขั้นนำ
    2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
    3. เวชกิจฉุกเฉิน
    4. สัมมนาสาธารณสุข
    5. สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

2

นางธิติมา บุญเจริญ

    -  พย.ม.(การพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
       ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ประกาศนียบัตรพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้น
       หนึ่ง (วิทยาลัยพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ )

ผลงานทางวิชาการ

    1. เอกสารประกอบการสอนเรื่องการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
    2. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผศ. ระดับ 7

รายวิชาที่สอน

    1. พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ
    2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข
    3. วิธีวิจัยทางสาธารณสุข
    4. สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน

3

นางศุภนิตย์ คงสิบ

    -  กศ.ม. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ
    -  กศ.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ

ผลงานทางวิชาการ

    1. เอกสารประกอบการสอน เรื่องสุขภาพจิต
    2. สุขภาพผู้สูงอายุ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ 2 ระดับ 7

รายวิชาที่สอน

    1. หลักและวิธีการสุขศึกษา
    2. สุขภาพสิ่งแวดล้อม
    3. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
    4. ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

4

นางสุชาดา จันทร์ทอง

    -  ค.ม. (สุขศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  กศ.บ. (พลานามัย) วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร

ประสบการณ์

    1. หัวหน้าภาควิชาสุขศึกษา
    2. รองประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ 2 ระดับ 7

รายวิชาที่สอน

    1. กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์
    2. การส่งเสริมสุขภาพ
    3. สรีรวิทยาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

5

นางณัฐธยาน์ ศรีพุธสมบูรณ์

    -  กศ.ม.(พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ
    -  กศ.บ. (พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ

ผลงานทางวิชาการ

    1. กิจกรรมเข้าจังหวะ
    2. วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว

ประสบการณ์

    1. หัวหน้าภาควิชาพลศึกษา
    2. หัวหน้าสำนักกิจการนักศึกษา
    3. หัวหน้าภาควิชาสุขศึกษา
    4. ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    5. นายกสโมสรอาจารย์และข้าราชการพลเรือน

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผศ.ระดับ 8

รายวิชาที่สอน

    1. ปฏิบัติการการแพทย์แผนไทย
    2. สัมมนาสาธารณสุข
    3. อาชีวอนามัยและความปลอดภัยขั้นนำ
    4. สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
    5. ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน

6

นางสาวพิมรา ทองแสง

    -  ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  ศษ.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์

    1. อาจารย์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2543
    2. อาจารย์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน
    3. อาจารย์พิเศษโรงเรียนสาธิตนครสวรรค์ พ.ศ. 2545 – ปัจจุบัน

การฝึกอบรม

    1. วิทยากร การใช้แหล่งเรียนรู้ตามธรรมชาติ
    2. วิทยากร การท่องเที่ยวเชิง-อนุรักษ์
    3. วิทยากร นันทนาการ และการละลายพฤติกรรม

รายวิชาที่สอน

    1. หลักและวิธีการสุขศึกษา
    2. การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทางด้านสาธารณสุข
    3. ภาษาอังกฤษสำหรับนักสาธารณสุข
    4. ชีวสถิติสาธารณสุขชีวิตและครอบครัว

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นางณัฐธยาน์ ศรีพุธสมบูรณ์

    -  กศ.ม.(พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ
    -  กศ.บ. (พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ

ผลงานทางวิชาการ

    1. กิจกรรมเข้าจังหวะ
    2. วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว

ประสบการณ์

    1. หัวหน้าภาควิชาพลศึกษา
    2. หัวหน้าสำนักกิจการนักศึกษา
    3. หัวหน้าภาควิชาสุขศึกษา
    4. ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    5. นายกสโมสรอาจารย์และข้าราชการพลเรือน

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผศ.ระดับ 8

รายวิชาที่สอน

    1. ปฏิบัติการการแพทย์แผนไทย
    2. สัมมนาสาธารณสุข
    3. อาชีวอนามัยและความปลอดภัยขั้นนำ
    4. สัมมนาชีวอนามัยและความปลอดภัย
    5. ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน

2

นางศุภนิตย์ คงสิบ

    -  กศ.ม. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ
    -  กศ.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ

ผลงานทางวิชาการ

    1. เอกสารประกอบการสอน เรื่องสุขภาพจิต
    2. สุขภาพผู้สูงอายุ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ 2 ระดับ 7

รายวิชาที่สอน

    1. หลักและวิธีการสุขศึกษา
    2. สุขภาพสิ่งแวดล้อม
    3. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
    4. ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

3

นางธิติมา บุญเจริญ

    -  พย.ม.(การพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
       ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
    -  ประกาศนียบัตรพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง (วิทยาลัยพยาบาล -
      
สวรรค์ประชารักษ์ )

ผลงานทางวิชาการ

    1. เอกสารประกอบการสอนเรื่องการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
    2. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ประสบการณ์

    1. หัวหน้าฝ่ายพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผศ. ระดับ 7

รายวิชาที่สอน

    1. พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ
    2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข
    3. เวชกิจฉุกเฉิน
    4. วิธีวิจัยทางสาธารณสุข
    5. สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน

4

นางสุชาดา จันทร์ทอง

    -  ค.ม. (สุขศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  กศ.บ. (พลานามัย) วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร

ประสบการณ์

    1. หัวหน้าภาควิชาสุขศึกษา
    2. รองประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ 2 ระดับ 7

รายวิชาที่สอน

    1. กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์
    2. การส่งเสริมสุขภาพ
    3. สรีรวิทยาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

5

นางชยภรณ ดีเอม

    -  วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  วท.บ. (สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา

ผลงานทางวิชาการ

    -

รายวิชาที่สอน

    1. การสาธารณสุขขั้นนำ
    2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
    3. เวชกิจฉุกเฉิน
    4. สัมมนาสาธารณสุข
    5. สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

6

นางสาวพิมรา ทองแสง

    -  ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  ศษ.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์

    1. อาจารย์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2543
    2. อาจารย์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน
    3. อาจารย์พิเศษโรงเรียนสาธิตนครสวรรค์ พ.ศ. 2545 – ปัจจุบัน

การฝึกอบรม

    1. วิทยากร การใช้แหล่งเรียนรู้ตาม ธรรมชาติ
    2. วิทยากร การท่องเที่ยวเชิง-อนุรักษ์
    3. วิทยากร นันทนาการ และการละลายพฤติกรรม

รายวิชาที่สอน

    1. หลักและวิธีการสุขศึกษา
    2. การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทางด้านสาธารณสุข
    3. ภาษาอังกฤษสำหรับนักสาธารณสุข
    4. ชีวสถิติสาธารณสุขชีวิตและครอบครัว

        12.3 อาจารย์พิเศษ

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นางสาวทิพย์วรรณ สุวีรานนท์

    -  ค.ม. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  วท.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  ประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้น 1 วชิรพยาบาล

ประสบการณ์การทำงาน

    1. หัวหน้าศูนย์อนามัยโรงเรียน เขต 6 นครสวรรค์
    2. รักษาการหัวหน้าศูนย์อนามัยโรงเรียน เขต 7 ราชบุรี
    3. ศึกษาดูงานด้านสาธารณสุข , กลุ่มเด็กวัยเรียน-เยาวชน , โภชนาการ จาก
        ประเทศญี่ปุ่น , เกาหลี , อินโดนีเซีย และสิงคโปร์
    4. วิทยากรจัดทำหลักสูตรและคู่มือทักษะชีวิต กรมสุขภาพจิต กระทรวง
        สาธารณสุข
    5. วิทยากรป้องกันยาเสพติด ของสำนักงาน ป.ป.ส.

ตำแหน่ง

    -  หัวหน้ากลุ่มงานอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน ศูนย์อนามัยที่ 8

รายวิชาที่สอน

    1. การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ
    2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข
    3. การส่งเสริมสุขภาพ

2

นพ.ธีรศักดิ์ ลักษณานันท์

    -  พ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  อ.ว. (เวชศาสตร์ป้องกันคลีนิค) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  อ.ว. (อาชีวเวชศาสตร์)
    -  อ.ว. (เวชศาสตร์ครอบครัว)

ประสบการณ์การทำงาน

    1. อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
    2. อาจารย์พิเศษ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    3. อาจารย์พิเศษ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    4. อาจารย์พิเศษ คณะพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

ตำแหน่ง

    -  หัวหน้างานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จ.นครสวรรค์

รายวิชาที่สอน

    1. อาชีวเวชศาสตร์
    2. กฎหมายอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
    3. พิษวิทยาชีวอนามัย
    4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข
    5. กฎหมายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

3.

ทญ.วชิรา อินทสิทธิ์

    -  ส.ม. (บริหารงานสาธารณสุข)มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    -  ท.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  ว.ช. (ทันตกรรม)

ประสบการณ์การทำงาน

    -  ทันตแพทย์ 7

ตำแหน่ง

    -  ทันตแพทย์ ประจำโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์

รายวิชาที่สอน

    1. การบริหารงานสาธารณสุข
    2. การพัฒนาสุขภาพชุมชน

4

ภก.ปิยชาติ ไวทยกุล

    -  ภ.บ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประสบการณ์การทำงาน

    -  เภสัชกร 7

ตำแหน่ง

    1. เภสัชกรประจำกลุ่มงานเภสัชกรรม
    2. โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์

รายวิชาที่สอน

    1. เภสัชวิทยาและการแพทย์แผนไทย

5

นางรำไพ เกียรติอดิศร

    -  สม. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ์การทำงาน

    -  นักวิชาการ 8 ศูนย์อนามัยที่ 8 จ.นครสวรรค์

ตำแหน่ง

    -  หัวหน้างานศูนย์อนามัยที่ 8

รายวิชาที่สอน

    1. การประกันคุณภาพด้านบริการสุขภาพ
    2. ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน
    3. การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย

6

ผศ.สุรชัย บุญเจริญ

    -  กศ.ม. (อุตสาหกรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร
    -  ค.บ. (อุตสาหกรรมศิลป์) วิทยาลัยครูเทพสตรี

ผลงานทางวิชาการ

    1. เอกสารประกอบการสอนเรื่องวัสดุศาสตร์
    2. การจัดการอุตสาหกรรม

ตำแหน่ง

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม
       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รายวิชาที่สอน

    1. การบริหารเพื่อควบคุมการสูญเสียและการเพิ่มผลผลิต
    2. ความปลอดภัยในงานอุตสหกรรม
    3. จิตวิทยาอุตสาหกรรม
    4. กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและอันตราย

7

นายพิสิฐ เพ็ชรคง

    -  วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์การทำงาน

    -  อาจารย์ 1 ระดับ 5

ตำแหน่ง

    -  อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
       ราชภัฏนครสวรรค์

รายวิชาที่สอน

    1. วิศวกรรมความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม
    2. การระบายอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม
    3. เทคนิคการตรวจสอบความปลอดภัย

8

นายวีรชาติ จริตงาม

    -  ค.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    -  วศ.บ. (เครื่องกล) มหาวิทยาลัยรังสิต

ประสบการณ์การทำงาน

    -  อาจารย์ 1 ระดับ 5

ตำแหน่ง

    -  อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
       ราชภัฏนครสวรรค์

รายวิชาที่สอน

    1. ผลิตวัสดุกราฟฟิค เพื่องานความปลอดภัย
    2. การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม

13. จำนวนนักศึกษา

        แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา ของแขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

40

รวม

40

80

120

160

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

-

40

40

        แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา ของแขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2550

2551

2552

2553

2554

2555

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

40

รวม

40

80

120

160

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

-

40

40

14. สถานที่ และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ที่

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการ เพิ่มในอนาคต

หมายเหตุ

1

ห้องปฏิบัติการสาธารณสุข

1

2

 

2

ห้องสมุด

1

2

 

3

ห้องปฏิบัติการสอน

2

2

 

4

ห้องปฏิบัติการทำสื่อ

1

1

 

5

ห้องปฏิบัติการเคมี

    ใช้ร่วมกับโปรแกรมวิชาเคมี

6

ห้องปฏิบัติการชีววิทยา

   

    ใช้ร่วมกับโปรแกรมวิชาชีววิทยา

7

ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์

   

    ใช้ร่วมกับโปรแกรมวิชาฟิสิกส์

8

ห้องปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม

   

    ใช้ร่วมกับโปรแกรมวิชา
    วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

        14.2 อุปกรณ์

ที่

อุปกรณ์

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

หมายเหตุ

1

เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ

3 เครื่อง

5 เครื่อง

 

2

ชุดวิดีทัศน์

1 ชุด

2 ชุด

 

3

เครื่องคอมพิวเตอร์

4 เครื่อง

5 เครื่อง

 

4

เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์

1 เครื่อง

1 เครื่อง

 

5

เครื่องถ่ายเอกสาร

-

1 เครื่อง

 

6

เทปวีดีทัศน์ประกอบการเรียนสาธารณสุข

50 ชุด

100 ชุด

 

7

เครื่องรับโทรทัศน์

2 เครื่อง

3 เครื่อง

 

8

กล้องจุลทัศน์

5 ชุด

30 ชุด

 

9

เครื่องฉายสไลด์

1 เครื่อง

2 เครื่อง

 
10 หุ่นกายวิภาคของมนุษย์      
      - ตา 2 ชุด    
      - หู 1 ชุด    
      - มดลูก 1 ชุด    
      - ทารก 1-9 เดือน 1 ชุด    
      - สมอง 1 ชุด    
      - หัวใจ 1 ชุด    
      - ข้อต่อ 1 ชุด    

 

    - ไต

1 ชุด

   

11

หุ่นสำหรับปฐมพยาบาล

2 ชุด

3 ชุด

 

12

หุ่นจำลองอาหารหมู่ต่าง ๆ

1 ชุด

3 ชุด

 

13

ภาพระบบต่าง ๆ

9 ระบบ

   

15. ห้องสมุด

    15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ที่

ชื่อหนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

1

ร่าง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .....................

1 เล่ม

3 เล่ม

2

อนามัยสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

5 เล่ม

3

ราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป

1 เล่ม

3 เล่ม

4

พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535

1 เล่ม

3 เล่ม

5

พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

1 เล่ม

3 เล่ม

6

การป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน

1 เล่ม

5 เล่ม

7

คู่มือแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว

1 เล่ม

5 เล่ม

8

มนุษย์สัมพันธ์

6 เล่ม

4 เล่ม

9

การสอนสุขศึกษา

1 เล่ม

5 เล่ม

10

คู่มือหลักสถิติ

1 เล่ม

5 เล่ม

11

ภัยมืดจากสารพิษ

1 เล่ม

5 เล่ม

12

อาชีวสิ่งแวดล้อมและเทคนิคการจัดการความปลอดภัย

1 เล่ม

5 เล่ม

13

คู่มือครู บทเรียนคหกรรมศาสตร์สอดแทรประชากรศึกษาการวางแผนครอบครัว คุณภาพชีวิต

1 เล่ม

3 เล่ม

14

รูปแบบการสุขาภิบาลอาหารในกทม.

1 เล่ม

3 เล่ม

15

ลักษณะสังคมไทย

1 เล่ม

3 เล่ม

16

ล้านนากับการศึกษาแบบใหม่

2 เล่ม

3 เล่ม

17

วัตถุมีพิษ

1 เล่ม

3 เล่ม

18

อนินทรีย์เคมีเบื้องต้น

1 เล่ม

3 เล่ม

19

อาหารสำหรับครอบครัว

1 เล่ม

5 เล่ม

20

อุบัติภัยศึกษา

5 เล่ม

5 เล่ม

21

โครงการสุขภาพในโรงเรียน

10 เล่ม

-

22

การนิเทศงานด้านสุขศึกษา

5 เล่ม

5 เล่ม

23

สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

5 เล่ม

24

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท

1 เล่ม

5 เล่ม

25

รายงานการศึกษาภาวะสุขภาพอนามัยของชุมชน

1 เล่ม

5 เล่ม

26

การควบคุมโรคเรื้อนในประเทศไทย 2

1 เล่ม

3 เล่ม

27

การสอนวิทยาศาสตร์แบบพัฒนาความคิด

1 เล่ม

5 เล่ม

28

การสอนสังคมศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

29

เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนโครงสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต (Teaching Life Experience) หน่วยที่ 1 -7

1 เล่ม

2 เล่ม

30

รายงานการทดลองและวิจัยโครงการสุขศึกษาในโรงเรียน

1 เล่ม

5 เล่ม

31

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 3162305

1 เล่ม

3 เล่ม

32

โภชนาการสาธารณสุข 1

2 เล่ม

5 เล่ม

33

หนังสือเรียนวิชาพลามัย พ 103,พ 104

1 เล่ม

3 เล่ม

34

สุขศึกษา

1 เล่ม

4 เล่ม

35

คู่มืออาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ภาคเหนือ

1 เล่ม

3 เล่ม

36

สมุนไพรไทย

1 เล่ม

10 เล่ม

37

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 3164315 การนิเทศงานด้านสุขศึกษา

1 เล่ม

3 เล่ม

38

สถิติพื้นฐาน

1 เล่ม

5 เล่ม

39

มนุษย์กับสังคม

1 เล่ม

3 เล่ม

40

การสุขาภิบาลสำหรับนักเรียนผดุงอนามัย

1 เล่ม

3 เล่ม

41

การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร

2 เล่ม

3 เล่ม

42

การอนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม

1 เล่ม

3 เล่ม

43

ศัพวิทยามนุษย์

1 เล่ม

5 เล่ม

44

จริยศาสตร์เบื้องต้น

3 เล่ม

2 เล่ม

45

ชุดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 101 ทรงเป็นบิดาแห่งการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

3 เล่ม

46

ทฤษฎีการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร

1 เล่ม

3 เล่ม

47

บรรณนิเทศน์

1 เล่ม

3 เล่ม

48

ประชากรศาสตร์

1 เล่ม

5 เล่ม

49

ประชากรศึกษา

1 เล่ม

5 เล่ม

50

ประมวลความเกี่ยวกับการศึกษาในชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

51

ประสบการณ์วิชาชีพครู ตอนเทคนิคการเขียนแผนการสอนย่อย

1 เล่ม

3 เล่ม

52

ผลการทดสอบฝึกทักษะบางประการก่อนการฝึกงาน

1 เล่ม

3 เล่ม

53

พลานามัย 5 สวัสดิศึกษาและการปฐมพยาบาล

2 เล่ม

5 เล่ม

54

ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล

1 เล่ม

5 เล่ม

55

พัฒนาอนามัย

1 เล่ม

5 เล่ม

56

ฟ.ฟันแข็งแรง

2 เล่ม

3 เล่ม

57

ฟันกับฟลูออไรด์

2 เล่ม

3 เล่ม

58

ฟ้าบางกอกสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพระเครื่อง

1 เล่ม

2 เล่ม

59

ภัยพิบัติจากธรรมชาติในเขตร้อน

1 เล่ม

3 เล่ม

60

กายวิภาคศาสตร์

2 เล่ม

8 เล่ม

61

มิติใหม่ของการพัฒนางานสุขศึกษาและการวิจัย

1 เล่ม

9 เล่ม

62

พฤติกรรมสุขภาพ

1 เล่ม

9 เล่ม

63

รวมกฎหมายโรงงาน

1 เล่ม

5 เล่ม

64

ร่าง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ

1 เล่ม

5 เล่ม

65

โรคพิษสุนัขบ้าและการฉีดวัคซีนป้องกัน

1 เล่ม

3 เล่ม

66

ไข้เลือดออก

1 เล่ม

3 เล่ม

67

กฎหมายครอบครัว

1 เล่ม

5 เล่ม

68

กรมอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว

1 เล่ม

5 เล่ม

69

กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์

1 เล่ม

9 เล่ม

70

กายวิภาคพื้นฐาน 1

1 เล่ม

9 เล่ม

71

การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับชายและหญิง

1 เล่ม

9 เล่ม

72

การวางแผนและผังชุมชนเมือง ประสบการณ์ของอเมริกา

1 เล่ม

3 เล่ม

73

คู่มือการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 เล่ม

4 เล่ม

74

การควบคุมโรคไข้เลือดออก

1 เล่ม

3 เล่ม

75

การประเมินผลการจัดนิทรรศการทางวิชาการ

1 เล่ม

1 เล่ม

76

อนามัยสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

5 เล่ม

77

การป้องกันยาเสพติดวิทยาลัยครูทั่วประเทศ

1 เล่ม

3 เล่ม

78

การพยาบาลทางอายุศาสตร์ เล่ม 2

1 เล่ม

4 เล่ม

79

การพัฒนาชุมชน

1 เล่ม

5 เล่ม

80

การย่อยอาหาร

1 เล่ม

3 เล่ม

81

การลดปริมาณการใช้กระดาษ

1 เล่ม

1 เล่ม

82

การวางแผนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

4 เล่ม

2 เล่ม

83

การวิเคราะห์ภูมิหลังของผู้เข้าศึกษา

1 เล่ม

1 เล่ม

84

การศึกษากับการพัฒนาชุมชน

1 เล่ม

5 เล่ม

85

นวัตกรรมสาธารณสุขไทย

2 เล่ม

3 เล่ม

86

แนวทางดำเนินงานสุขศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

1 เล่ม

5 เล่ม

87

สารสนเทศทางกายพยาบาล

1 เล่ม

5 เล่ม

88

โคเคน-ฝิ่น-กัญชา

1 เล่ม

3 เล่ม

89

โภชนาการและการออกกำลังกาย

1 เล่ม

5 เล่ม

90

โภชนาการสาธารณสุข

1 เล่ม

5 เล่ม

91

โรค

1 เล่ม

5 เล่ม

92

กายวิภาคและสรีระวิทยา

1 เล่ม

5 เล่ม

93

การเขียนแผนทางสุขภาพ

1 เล่ม

5 เล่ม

94

สร้างสื่อการสอน เรื่องรูปทรงและปริมาตร

1 เล่ม

3 เล่ม

95

สรีรวิทยาของพืช

1 เล่ม

2 เล่ม

96

สุขภาพสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

5 เล่ม

97

สุขศาสตร์ในโรงเรียน

1 เล่ม

5 เล่ม

98

หลักการครองชีวิต และแง่คิดในการสมรส

1 เล่ม

5 เล่ม

99

อินทรีย์เคมี 3

2 เล่ม

3 เล่ม

100

อินทรีย์เบื้องต้น

1 เล่ม

4 เล่ม

101

การใช้สมุนไพร

1 เล่ม

5 เล่ม

102

หลักการบริโภคเบื้องต้น

2 เล่ม

5 เล่ม

103

เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน

1 เล่ม

3 เล่ม

104

เทคนิคการเขียนข้อสอบ

1 เล่ม

2 เล่ม

105

เพศศึกษา

2 เล่ม

5 เล่ม

106

เอกสารการสอนชุดวิชา บรรเทาสาธารณภัย

1 เล่ม

2 เล่ม

107

เอกสารการอบรมงานอนามัยโรงเรียน กองอนามัย

3 เล่ม

1 เล่ม

108

แนวทางการจัดกิจกรรมยุวกาชาด 2525

5 เล่ม

5 เล่ม

109

ประวัติการทำงานของนักวิทยาศาสตร์

2 เล่ม

2 เล่ม

110

จิตวิทยาว่าด้วยปัญญาเด็ก

1 เล่ม

2 เล่ม

111

จุลชีววิทยา

1 เล่ม

2 เล่ม

112

จุลชีววิทยาสำหรับพยาบาล

1 เล่ม

2 เล่ม

113

ชีวเคมีเล่ม 4

1 เล่ม

2 เล่ม

114

ชีววิทยา (ระดับมหาวิทยาลัย)

1 เล่ม

2 เล่ม

115

ชีววิทยา 1

1 เล่ม

2 เล่ม

116

ชีววิทยา เล่ม 2

1 เล่ม

2 เล่ม

117

ชีววิทยา เล่ม 3

1 เล่ม

2 เล่ม

118

ชีววิทยาปฏิบัติสำหรับครู 1

1 เล่ม

2 เล่ม

119

ชุดการเรียนการสอนเวชศาสตร์ป้องกันยาเสพติด 2 - 5

1 เล่ม

4 เล่ม

120

ชุดการเรียนการสอนด้านการรักษาพยาบาลหมวด 6

1 เล่ม

4 เล่ม

121

ระบบประสาทและสมอง

1 เล่ม

2 เล่ม

122

ดินและน้ำ

1 เล่ม

2 เล่ม

123

ดินมีปัญหาและการปรับปรุงแก้ไข

1 เล่ม

2 เล่ม

124

ตารางสถิติประกอบวิชา ศว. 740

1 เล่ม

1 เล่ม

125

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

1 เล่ม

2 เล่ม

126

นักบริการอุดมศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

127

สูติศาสตร์ (วิมนรัตน์ กรัยวิเชียร)

1 เล่ม

2 เล่ม

128

บริโภคศึกษา

1 เล่ม

1 เล่ม

129

สรุปการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “พืชสมุนไพรรักษาโรค”

4 เล่ม

4 เล่ม

130

ความปลอดภัยในการเดินทาง

1 เล่ม

2 เล่ม

131

การพยาบาลผู้สูงอายุ

1 เล่ม

4 เล่ม

132

โภชนาการ 1

1 เล่ม

2 เล่ม

133

เอกสารการอบรมงานอนามัยโรงเรียนสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและครู

1 เล่ม

2 เล่ม

134

การพยาบาลทางโอสถกรรมสำหรับนักผดุงครรภ์อนามัย

1 เล่ม

2 เล่ม

135

เอกสารการนิเทศการศึกษาอาหารและโภชนาการ

1 เล่ม

2 เล่ม

136

โรงเรียนโครงการสุขศึกษา สายการศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

137

พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค 2522

1 เล่ม

2 เล่ม

138

อนามัยครอบครัว

7 เล่ม

7 เล่ม

139

จรรยาพยาบาล

1 เล่ม

2 เล่ม

140

อนามัยโรงเรียน

1 เล่ม

4 เล่ม

141

สุขศึกษาเบ็ดเสร็จ

1 เล่ม

2 เล่ม

142

วิชาสุขศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

143

พลศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

144

แบบเรียนพลานามัย

1 เล่ม

2 เล่ม

145

เอกสารการอบรมอนามัยโรงเรียน

1 เล่ม

2 เล่ม

146

การพยาบาลสาธารณสุข

1 เล่ม

2 เล่ม

147

การพยาบาลโรคเด็ก

2 เล่ม

3 เล่ม

148

สวัสดิการศึกษา

1 เล่ม

4 เล่ม

149

การรักษาและการป้องกันการบาดเจ็บทางกีฬา

1 เล่ม

2 เล่ม

150

โภชนาการสำหรับครอบครัวและผู้ป่วย

1 เล่ม

4 เล่ม

151

การสุขาภิบาลอาหาร

1 เล่ม

4 เล่ม

152

วารสารกองสุขาภิบาล

1 เล่ม

2 เล่ม

153

การสุขาภิบาลอาหาร

1 เล่ม

4 เล่ม

154

การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

5 เล่ม

3 เล่ม

155

โภชนาการสาธารณสุข 2

1 เล่ม

4 เล่ม

156

โภชนาการและการออกกำลังกาย

1 เล่ม

4 เล่ม

157

อนามัยแม่และเด็ก

1 เล่ม

9 เล่ม

158

หลักการพยาบาลอายุรศาสตร์

1 เล่ม

2 เล่ม

159

ประชากรศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

160

โภชนาการสาธารณสุข 1

1 เล่ม

2 เล่ม

161

ตำราวิชาการพยาบาลมารดาและทารก

1 เล่ม

4 เล่ม

162

สุขศึกษาในโรงเรียน

1 เล่ม

4 เล่ม

163

สุขศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

164

การสอนสุขศึกษา

2 เล่ม

3 เล่ม

165

รายงานผลงาน 2526 ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดภาคเหนือ

1 เล่ม

2 เล่ม

166

การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์สุขภาพ ครั้งที่ 4

1 เล่ม

2 เล่ม

167

เอกสารแนะนำการเลือกผลิตภัณฑ์

1 เล่ม

2 เล่ม

168

ความรู้เรื่องไข้เลือดออกสำหรับชาวบ้าน

1 เล่ม

2 เล่ม

169

ปรัชญาเบื้องต้น

1 เล่ม

2 เล่ม

170

ปรสิตวิทยาสำหรับพยาบาล

1 เล่ม

1 เล่ม

171

ผลงานทางวิชาการ

2 เล่ม

2 เล่ม

172

มลพิษสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

4 เล่ม

173

การแปรรูปสมุนไพรไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

174

แบคทีเรียที่เกี่ยวข้องกับโรค

1 เล่ม

5 เล่ม

175

พันธุกรรม

1 เล่ม

4 เล่ม

176

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ 2535ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา

1 เล่ม

1 เล่ม

177

วิชาชีววิทยา เล่ม 4

1 เล่ม

2 เล่ม

178

วิถีแห่งสุขภาพ

1 เล่ม

4 เล่ม

179

วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

5 เล่ม

5 เล่ม

180

จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน

1 เล่ม

4 เล่ม

181

จิตวิทยาการศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

182

การสัมมนามลพิษทางน้ำ

1 เล่ม

2 เล่ม

183

หลักการและขั้นตอนการวิจัย

1 เล่ม

4 เล่ม

184

การวิจัยสุขศึกษาเบื้องต้น

1 เล่ม

9 เล่ม

185

การประเมินวันกำหนดคลอดโดยวิถีชีวิตความสูงของมดลูก

1 เล่ม

2 เล่ม

186

เอกสารประกอบโครงการสัมมนา เรื่องแอโรบิคเพื่อสุขภาพ

1 เล่ม

2 เล่ม

187

รายงานการศึกษาภาวะสุขภาพ

2 เล่ม

3 เล่ม

188

โภชนาการสาธารณสุข 1 เทคนิคการวัดผล

1 เล่ม

4 เล่ม

189

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เรื่องการสอนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาตามแนวหลักสูตรปัจจุบัน

5 เล่ม

2 เล่ม

190

โครงการสุขศึกษาสายการศึกษา

1 เล่ม

2 เล่ม

191

โรคเขตร้อน

16 เล่ม

16 เล่ม

192

การปฐมพยาบาลสำหรับครู

1 เล่ม

4 เล่ม

193

การปศุสัตว์และสัตวศาสตร์สำหรับประชาชน

1 เล่ม

2 เล่ม

194

การพัฒนากระบวนการฝึกหัดครูโดยใช้มิติทางพุทธธรรม

5 เล่ม

5 เล่ม

196

การร่างและวิเคราะห์โครงการตามแนวของเหตุผลสัมพันธ์

1 เล่ม

2 เล่ม

197

การวางแผนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

1 เล่ม

2 เล่ม

198

กีฏวิทยาเบื้องต้น

2 เล่ม

2 เล่ม

199

กีฏวิทยาทางการแพทย์

1 เล่ม

1 เล่ม

200

ความหวังจากมหาสมุทร

1 เล่ม

1 เล่ม

201

คำบรรยายวิชาพันธุศาสตร์

1 เล่ม

1 เล่ม

202

Control Communicable Diseases in Man

1 เล่ม

2 เล่ม

203

Data News

1 เล่ม

2 เล่ม

204

Developmental Psychology

1 เล่ม

2 เล่ม

206

Essentials of Communicable Essential

1 เล่ม

2 เล่ม

207

Focusing on Health

1 เล่ม

4 เล่ม

208

Genetic

1 เล่ม

2 เล่ม

209

2 Global Conference on Drug Abuse

2 เล่ม

2 เล่ม

210

Primary Health Care

1 เล่ม

4 เล่ม

211

Prevention

1 เล่ม

2 เล่ม

212

Inquiry techniques for Teaching Science

1 เล่ม

4 เล่ม

213

Mental Retardation

1 เล่ม

4 เล่ม

214

Plant Taxonomy

1 เล่ม

2 เล่ม

215

Review of Personality and Social

1 เล่ม

2 เล่ม

        15.2 รายชื่อสื่ออิเล็กทรอนิคส์

                การสืบค้นจากเว็บไซต์ http://127.0.0.1:5432/HWWMDS/Main.nsp ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สามารถสืบค้น วารสาร (Journal) ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ทั่วโลก

        15.3 แหล่งวิทยาการและแหล่งฝึกงาน

            15.3.1 แหล่งวิทยาการ

                1. ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                2. ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร
                3. ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล
                4. ห้องสมุดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จ.นครสวรรค์
                5. ห้องสมุดศูนย์อนามัยที่ 8 นครสวรรค์
                6. ห้องสมุดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์

            15.3.2 แหล่งฝึกงาน

                1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
                2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
                3. ศูนย์อนามัย
                4. สถานีอนามัย
                5. ฝ่ายเวชกรรมสังคม โรงพยาบาล
                6. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
                7. องค์การบริหารส่วนตำบล
                8. กองสาธารณสุขเทศบาล
                9. ศูนย์สุขภาพจิต
                10. ศูนย์วิทยาศาสตร์
                11. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
                12. กระทรวงอุตสาหกรรม
                13. โรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ
                14. นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

งบดำเนินการ              
    -  ค่าตอบแทน

20,000

40,000 40,000

40,000

40,000

40,000

40,000

    -  ค่าใช้สอย 50,000 100,000 100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

    -  ค่าวัสดุ 200,000 400,000 400,000

400,000

400,000

400,000

400,000

    -  ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

-

-

-

-

-

-

-

รวมงบดำเนินการ

270,000

540,000

540,000

540,000

540,000

540,000

540,000

งบลงทุน              

    -  ค่าครุภัณฑ์

200,000 400,000 400,000 400,000 400,000

400,000

400,000

    -  ค่าที่ดิน

-

-

-

-

-

-

-

รวมงบลงทุน

200,000

400,000

400,000

400,000

400,000

400,000

400,000

รวมทั้งหมด

470,000

940,000

940,000

940,000

940,000

940,000

940,000

17. หลักสูตร

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 133 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

    1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

    2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

    3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6
    4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 8
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 101
    1. วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 42
    2. วิชาชีพ (บังคับ) 36
    3. วิชาชีพ (เลือก) 18
    4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ 5
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6

รวมทั้งหมด

138

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2, 3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6, 7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาเกษตรศาสตร์)

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาอุตสาหกรรม)

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ – ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ x 2

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 96 หน่วยกิต แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

            (1) วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์
English for Science

3 (3-0-6)

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี
English for Technology

3 (3-0-6)

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
Introduction to Business Operation

3 (3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
General Economics

3 (3-0-6)

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์
Research in Science

3 (2-2-5)

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป
General Physics

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป
General Physics Laboratory

1 (0-2-1)

4221101

เคมีทั่วไป
General Chemistry

3 (3-0-6)

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป
General Chemistry Laboratory

1 (0-2-1)

4231101

ชีววิทยาทั่วไป
General Biology

3 (3-0-6)

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป
General Biology Laboratory

1 (0-2-1)

4291401

แคลคูลัส 1
Calculus 1

3 (3-0-6)

            (2) วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 40 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

                2.1 วิชาบังคับร่วม จำนวน 21 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4272101

กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์
Anatomy and Physiology

3 (2-2-5)

4272202

พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ
Behavioral Science and Health Behavior

3 (3-0-6)

4272302

สุขภาพสิ่งแวดล้อม
Environmental Health

3 (3-0-6)

4273401

การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทางสุขภาพ
Communication and Public Relations in Health Education

3 (3-0-6)

4273505

เวชกิจฉุกเฉิน
Emergency Medical Technique

3 (2-2-5)

4273901

วิธีวิจัยทางสาธารณสุข
Research Methodology in Public Health

3 (3-0-6)

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์
Computer for Science

3 (2-2-5)

                2.2 วิชาบังคับตามแขนงวิชา จำนวน 19 หน่วยกิต

                    แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4271201

หลักและวิธีการสุขศึกษา
Principle and Method of Health Education

3 (3-0-6)

4272301

การสาธารณสุขขั้นนำ
Introduction to Public Health

3 (3-0-6)

4273304

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข
Development Strategy in Public Health

3 (3-0-6)

4273305

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
Consumer Protection in Health Care

3 (3-0-6)

4273504

การส่งเสริมสุขภาพ
Health Promotion

3 (2-2-5)

4274103

เภสัชวิทยาและการแพทย์แผนไทย
Pharmacy and Thai Medicine

3 (3-0-6)

4274903

สัมมนาสาธารณสุข
Public Health Seminar

1 (0-2-1)

                    แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4272111

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยขั้นนำ
Introduction to Occupational Health & Safety

2 (2-0-4)

4272112

สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน
Fundamental of Industrial Hygiene

3 (3-0-6)

4272711

ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม
Industrial Safety

3 (3-0-6)

4273114

อาชีวเวชศาสตร์
Occupational Medicine

3 (3-0-6)

4273211

จิตวิทยาอุตสาหกรรม
Industrial Psychology

2 (2-0-4)

4273312

การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย
Occupational Health Administration

2 (2-0-4)

4273713

การป้องกันและการควบคุมอัคคีภัย
Fire Prevention and Control

3 (2-2-5)

4274912

สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Occupational Health and Safety Seminar

1 (0-2-1)

            (3) วิชาเฉพาะด้าน เลือก

                แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ ไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4273902

ภาษาอังกฤษสำหรับนักสาธารณสุข
English for Public Health Officer

3 (3-0-6)

4272501

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
First Aid

3 (2-2-5)

4272502

โภชนาการสาธารณสุข
Public Health Nutrition

3 (3-0-6)

4272701

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
Public Health Economic

3 (3-0-6)

4273102

ระบาดวิทยาและการควบคุมโรค
Epidemiology and Disease Control

3 (2-2-5)

4273203

ชีวิตและครอบครัว
Life and Family

3 (3-0-6)

4273303

การบริหารงานสาธารณสุข
Public Health Administration

3 (3-0-6)

4273306

การพัฒนาสุขภาพชุมชน
Community Health Development

3 (3-0-6)

4273307

การประกันคุณภาพด้านบริการสุขภาพ
Quality Insurance of Health Service

3 (3-0-6)

4273402

เทคโนโลยีและสารสนเทศทางสุขภาพ
Technology and Information in Health

3 (2-2-5)

4273503

การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ
Integrated Health Care

3 (2-2-5)

4273601

ชีวสถิติสาธารณสุข
Biostatistics for Public Health

3 (3-0-6)

4273602

การวัดและประเมินภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
Health Risk Assessment

3 (3-0-6)

4274104

ปฏิบัติการแพทย์แผนไทย
Practice in Thai Traditional Medicine

1 (0-3-0)

4274308

อาชีวอนามัย
Occupational Health

3 (3-0-6)

4274506

ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน
Health Problem and Prevention

3 (3-0-6)

4274702

กฎหมายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
Public Health and Environmental Law

3 (3-0-6)

4274902

การศึกษารายกรณี
Case Study

3 (2-2-5)

                แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ หรือรายวิชาสาธารณสุขศาสตร์ใด ๆ ที่สัมพันธ์กันไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4272311

การสุขาภิบาลในโรงงาน
Industrial Sanitation

3 (3-0-6)

4273113

สรีรวิทยาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการทำงาน
Environmental and Work Physiology

3 (3-0-6)

4273115

พิษวิทยาอาชีวอนามัย
Occupational Toxicology

3 (3-0-6)

4273116

หลักการวิศวกรรมสุขศาสตร์ในงานอุตสาหกรรม
Industrial Safety Engineering

3 (2-2-5)

4273313

กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและอันตราย
Industrial Process and Hazards

2 (2-0-4)

4273314

การบริหารเพื่อควบคุมการสูญเสียและการเพิ่มผลผลิต
Loss Control Management and Productivity Improvement

2 (2-0-2)

4273411

การผลิตวัสดุกราฟฟิคเพื่อความปลอดภัย
Graphic Production for Safety

3 (2-2-5)

4273503

การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ
Integrated Health Care

3 (2-2-5)

4273611

เทคนิคการตรวจสอบความปลอดภัย
Safety Audit and Inspection Technique

3 (2-2-5)

4273612

การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
Industrial Hygiene Sampling and Analysis

3 (2-2-5)

4273712

กฎหมายอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
Occupational Health and Safety Legislation

2 (2-0-4)

4274506

ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน
Health Problem and Prevention

3 (3-0-6)

4274613

การวางแผนและประเมินผลความปลอดภัย
Planning and Evaluation in Safety Science

3 (3-0-6)

4274714

การระบายอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม
Industrial Ventilation

3 (3-0-6)

4274911

การฝึกอบรมความปลอดภัย
Safety Training

2 (1-2-3)

            (4) วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

                4.1 แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน จำนวน 7 หน่วยกิต ให้เรียนจากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4273801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาธารณสุขชุมชน

2 (90)

 

Preparation for Professional Experience in Community Health

 

4274802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

5 (450)

 

Field Experience in Community Health

 

                4.2 แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จำนวน 7 หน่วยกิต ให้เรียนจากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4273811

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Preparation for Professional Experience in Occupational Health and Safety

2 (90)

4274812

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Field Experience in Occupational Health and Safety

5(450)

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

                ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ

        17.4 แผนการศึกษา

                17.4.1 แผนการศึกษาแขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

บังคับ

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

บังคับ

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก

1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

บังคับ

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

เลือก

1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

4271201

หลักและวิธีการสุขศึกษา

3 (3-0-6)

 

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4272101

กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์

3 (2-2-5)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4272202

พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4272301

การสาธารณสุขขั้นนำ

3 (3-0-6)

xxxxxxx

วิชาเลือก (แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน)

3 (x-x-x)

4272302

สุขภาพสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4273305

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

4273304

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

4273402

เทคโนโลยีและสารสนเทศทางสุขภาพ

3 (2-2-5)

 

4273203

ชีวิตและครอบครัว

3 (3-0-6)

 

4273503

การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ

3 (2-2-5)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4273401

การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทางสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

4273505

เวชกิจฉุกเฉิน

3 (2-2-5)

 

4273504

การส่งเสริมสุขภาพ

3 (2-2-5)

 

4273601

ชีวสถิติสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

4273901

วิธีวิจัยทางสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

4273801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

2 (90)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

2 (2-0-4)

 

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4274802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

5 (450)

 

รวม

5

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4274506

ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน

3 (3-0-6)

 

4274103

เภสัชวิทยาและการแพทย์แผนไทย

3 (3-0-6)

 

4274104

ปฏิบัติการแพทย์แผนไทย

1 (0-3-0)

 

4274903

สัมมนาสาธารณสุข

1 (0-2-1)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 3

2 (2-0-4)

 

รวม

10

 

รวมทั้งหมด

133

 

                17.4.1 แผนการศึกษาแขนงชีวอนามัยและความปลอดภัย

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

บังคับ

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

บังคับ

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก 1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

บังคับ

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

เลือก 1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4272101

กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์

3 (2-2-5)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4272202

พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

4272111

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยขั้นนำ

2 (2-0-2)

 

รวม

22

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4272711

ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

3 (3-0-6)

 

4272302

สุขภาพสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

4272112

สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน

3 (3-0-6)

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4273503

การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ

3 (2-2-5)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

4273713

การป้องกันและการควบคุมอัคคีภัย

3 (2-2-5)

 

4273211

จิตวิทยาอุตสาหกรรม

2 (2-0-4)

4273505

เวชกิจฉุกเฉิน

3 (2-2-5)

 

4273113

สรีรวิทยาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการทำงาน

3 (3-0-6)

 

4273313

กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและอันตราย

2 (2-0-4)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4273901

วิธีวิจัยทางสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

4273401

การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทางสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

4273114

อาชีวเวชศาสตร์

3 (3-0-6)

 

4273312

การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย

2 (2-0-4)

 

4273712

กฎหมายอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4273115

พิษวิทยาอาชีวอนามัย

3 (3-0-6)

 

4273811

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

2 (90)

 

xxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

2 (2-0-4)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4274812

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

5 (450)

 

รวม

5

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4274912

สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1 (0-2-1)

 

4274506

ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือก (แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย)

3 (x-x-x)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 3

2 (2-0-4)

 

รวม

9

 

รวมทั้งหมด

133

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต

รายวิชา 2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานวิทยาศาสตร์ จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มือการใช้เครื่องมือ การใช้อุปกรณ์ ฝึกการใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

English for Technology

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาถึงลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคลการบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Economics

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และกลไกทำงานของระบบราคา สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวันเพื่อการประกอบธุรกิจ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตลาด สถาบันการเงิน การภาษีอากร การค้า การลงทุน ปัญหาเศรษฐกิจและแนวทางการแก้ไขปัญหา

รายวิชา 4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Research in Science

 

        ศึกษาความรู้พื้นฐานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการวางแผนการค้นคว้าข้อมูล การเขียนโครงการ วิจัย และการทำโครงการวิจัยแก้ปัญหาในท้องถิ่น อย่างน้อย 1 โครงการ โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลการทดลองหรือการค้นคว้า รวมทั้งวิธีการเขียนรายงานอย่างมีระเบียบ การเผยแพร่และการนำเสนอโครงการวิจัย

รายวิชา 4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Physics

 

        การวัดและความแม่นยำในการวัด สเกลาร์และเวคเตอร์ การเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆ
โมเมนตัมและกฎการเคลื่อนที่ แรงและผลของแรง งาน กำลัง และพลังงาน การเคลื่อนที่ฮาร์มอนิก การเคลื่อนที่แบบคลื่น คลื่นกล สมบัติของสสาร ปรากฏการณ์ความร้อน อุณหพลศาสตร์ โดยจัดให้มีการสาธิตและการทดลองตามความเหมาะสม

รายวิชา 4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Physics Laboratory

 

        ปฏิบัติการเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ 1 ไม่น้อยกว่า 10 ปฏิบัติการ

รายวิชา 4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Chemistry

 

        ศึกษามวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้นคุณสมบัติของของแข็ง ของเหลว จลนพลศาสตร์เบื้องต้น (Kinetics) สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก เคมีนิวเคลียร์เบื้องต้น

รายวิชา 4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Chemistry Laboratory

 

        ปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคนิคเบื้องต้น และหลักปฏิบัติทั่วไปในการปฏิบัติการเคมี การจัดสารเคมี เกรดของสาร และการใช้สารเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี เทคนิคการใช้เครื่องมือพื้นฐาน จลน์ศาสตร์ สมดุลเคมี pH ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดและเบส

รายวิชา 4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Biology

 

        ศึกษาสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเนื้อเยื่อ พลังงานในสิ่งมีชีวิต และการสังเคราะห์ ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ ชีวิตกับสภาพแวดล้อม การจัดจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิตและเทคโนโลยีทางชีวภาพ

รายวิชา 4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Biology Laboratory

 

        ปฏิบัติการเรื่องสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการแบ่งเซลล์เนื้อเยื่อ การสืบพันธุ์ การจำแนกสิ่งมีชีวิต การแลกเปลี่ยนสาร การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การทำงานของระบบต่าง ๆ ในสัตว์ ฮอร์โมนพืช และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

Calculus 1

 

        ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับลิมิตของฟังก์ชัน ฟังก์ชันต่อเนื่อง อนุพันธ์และหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันอดิศัย การประยุกต์อนุพันธ์ และอินทิกรัล

 

            3. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 40 หน่วยกิต วิชาบังคับร่วม จำนวน 21 หน่วยกิต

รายวิชา 4272101

กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์

3 (2-2-5)

 

Anatomy and Physiology

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญของวิชากายวิภาคและสรีรวิทยา ความรู้เบื้องต้น และคำศัพท์ทางกายวิภาคศาสตร์ และสรีรศาสตร์โครงสร้างร่างกายมนุษย์ รูปร่าง ลักษณะ ตำแหน่ง และหน้าที่การงานของอวัยวะในระบบโครงสร้าง ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบการไหลเวียนโลหิต น้ำเหลือง ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบสืบพันธุ์ในแต่ละระบบของร่างกาย

รายวิชา 4272202

พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

Behavioral Science and Health Behavior

 

        ศึกษา ค้นคว้า และอภิปราย ความรู้พื้นฐานทางสังคม ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลและสังคม องค์ประกอบของสังคมที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลและสังคม การสื่อสารความหมาย กลไกการทำงานกลุ่มในชุมชน ศึกษาความหมาย ความสำคัญ รูปแบบการวิเคราะห์ พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมสุขภาพ วิธีการสร้างและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ หลักวิธีการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ การสร้างเครื่องมือประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

รายวิชา 4272302

สุขภาพสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Environmental Health

 

        ศึกษา ค้นคว้าความหมายของสุขภาพสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบสิ่งต่าง ๆ ของสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของมนุษย์ หลักและวิธีการจัดสุขาภิบาลที่พักอาศัย การสุขาภิบาลอาหาร การจัดการขยะ และสิ่งปฏิกูลการควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การควบคุมเหตุรำคาญ มลพิษสิ่งแวดล้อม มาตรฐานสิ่งแวดล้อม กฎหมายสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4273401

การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ทางสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

Communication and Public Relations in Health Education

 

        ศึกษา ค้นคว้า และอภิปราย ความหมายและความสำคัญของการสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์ที่มีต่อการพัฒนาสุขภาพ และสาธารณสุข ปรัชญาและองค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ กระบวนการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ความคิดสร้างสรรค์ รูปแบบและวิธีการสื่อสารในงานสาธารณสุขและประชาสัมพันธ์ การประสานงาน การทำงานเป็นทีม มนุษยสัมพันธ์ การเป็นวิทยากร และการจัดการฝึกอบรม

รายวิชา 4273505

เวชกิจฉุกเฉิน

3 (2-2-5)

 

Emergency Medical Technique

 

        ศึกษา และฝึกปฏิบัติการดูแลการบาดเจ็บ และการช่วยเหลือ ภาวะคุกคามต่อชีวิตการปฐมพยาบาล การบาดเจ็บในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การแพ้ การได้รับพิษ การช่วยฟื้นคืนชีพ การใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

รายวิชา 4273901

วิธีวิจัยทางสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Research Methodology in Public Health

 

        ศึกษาวิธีการวิจัย การออกแบบการวิจัยเกี่ยวกับสาธารณสุข ปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน การนำเสนอผลการวิจัย และการนำเสนอวิจัยไปใช้

รายวิชา 4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

        ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสื่อสาร
ข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ การนำเสนอสารสนเทศ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหรือเขียนโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เรียน

 

            4. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน

                    วิชา บังคับแขนง จำนวน 19 หน่วยกิต  

รายวิชา 4271201

หลักและวิธีการสุขศึกษา

3 (3-0-6)

 

Principle and Method of Health Education

 

        ศึกษา ค้นคว้า ความหมายขอบข่ายและแนวคิดของสุขศึกษา ประเภทของงานสุขศึกษา สภาพปัจจุบัน และปัญหาที่เกี่ยวกับสุขศึกษา กระบวนการทางสุขศึกษา วิธีการทางสุขศึกษา พฤติกรรมของบุคคลและกลุ่ม การเรียนรู้ การจูงใจ การสื่อสารในงานสุขศึกษา พฤติกรรมสุขภาพและแนวทางการเปลี่ยนแปลง

รายวิชา 4272301

การสาธารณสุขขั้นนำ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Public Health

 

        ศึกษาความหมาย ขอบข่ายและความสำคัญของการสาธารณสุข การบริหารและบริการสาธารณสุข การประกันสุขภาพ บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุข ของประเทศ และท้องถิ่น ตลอดจนแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข ระบบการบริการ การดำเนินงานและนวัตกรรมสาธารณสุขของประเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

รายวิชา 4273304

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Development Strategy in Public Health

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ขอบเขตของยุทธศาสตร์ นโนบายในการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์แห่งชาติ นโยบายระดับชาติ นโยบายด้านสาธารณสุขระดับต่าง ๆ พระราชบัญญัติสุขภาพด้านต่างๆ กฎระเบียบและการบริหารงานท้องถิ่น การจัดทำแผนงานเพื่อพัฒนางานด้านสาธารณสุข ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุข กลยุทธ์ และแนวทางการดำเนินงานการติดตามและประเมินผล

รายวิชา 4273305

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Consumer Protection in Health Care

 

        ศึกษา ค้นคว้า และอภิปราย ความหมาย ความสำคัญ ขอบเขตการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ การคุ้มครองผู้ใช้บริการสุขภาพ คุณธรรมกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อย. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ และมาตรฐานสุขาภิบาล

รายวิชา 4273504

การส่งเสริมสุขภาพ

3 (2-2-5)

 

Health Promotion

 

        ศึกษา ค้นคว้า ความหมาย ความสำคัญ และหลักการของการส่งเสริมสุขภาพพัฒนาการและสภาวะสุขภาพของบุคคลวัยต่าง ๆ การสังเกตพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นปัญหา การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ที่เหมาะสมกับเพศและวัย นโยบายการส่งเสริมสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และองค์การอนามัยโลก

รายวิชา 4274103

เภสัชวิทยาและการแพทย์แผนไทย

3 (3-0-6)

 

Pharmacy and Thai Medicine

 

        ศึกษาหลักพื้นฐานทางเภสัชกรรม หลักการใช้ยา การบริหารยา ข้อบ่งใช้ผลข้างเคียง อาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวัง ข้อห้ามในการใช้ยา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย เวชกรรมไทย การประยุกต์ใช้ยาสมุนไพรทดแทนหรือร่วมกับยาแผนปัจจุบัน ภูมิปัญญาไทย พระราชบัญญัติคุ้มครอง และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย

รายวิชา 4274903

สัมมนาสาธารณสุข

1 (0-2-1)

 

Public Health Seminar

 

        ศึกษาค้นคว้า ทำรายงาน นำเสนอและอภิปราย เกี่ยวกับการสาธารณสุขมาใช้ กระบวนการการสัมมนา

 

            5. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน

                    วิชา เลือกแขนง จำนวน 19 หน่วยกิต 

รายวิชา 4273902

ภาษาอังกฤษสำหรับนักสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

English for Public Health Officer

 

        ศึกษาโครงสร้าง ศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษ ที่ใช้กันทั่วไป ในตำรา เอกสารต่าง ๆ การอ่าน การเขียน การสนทนา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานและการให้บริการทางด้านสาธารณสุข

รายวิชา 4272501

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

First Aid

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ และหลักการปฐมพยาบาล ฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลผู้ป่วยประเภทต่างๆ การประเมินสภาพผู้ป่วย โดยการจับชีพจร การนับการหายใจ การวัดอุณหภูมิและความดันโลหิต การใช้วัสดุอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

รายวิชา 4272502

โภชนาการสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Public Health Nutrition

 

        ศึกษา ค้นคว้า ลักษณะประเภท และคุณสมบัติของสารอาหารชนิดต่าง ๆ ความต้องการอาหารและวิธีจัดอาหาร สำหรับบุคคลวัยต่าง ๆ ทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ ปัญหาโภชนาการของประเทศไทย การเฝ้าระวัง สำรวจประเมินสภาวะโภชนาการ สาเหตุและแนวทาง การป้องกันและแก้ไขปัญหาโภชนาการในชุมชนรวมทั้งโภชนาการบำบัด

รายวิชา 4272701

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Public Health Economic

 

        ศึกษา ค้นคว้า ประยุกต์วิชาเศรษฐศาสตร์สำหรับใช้ในงานด้านสาธารณสุขและสุขภาพ การจัดทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด การให้บริการสาธารณสุข และการบริการการรักษาพยาบาล การจัดสรรงบประมาณและการประเมินโครงการงานสาธารณสุข

รายวิชา 4273102

ระบาดวิทยาและการควบคุมโรค

3 (2-2-5)

 

Epidemiology and Disease Control

 

        ศึกษา ค้นคว้า ความหมาย ขอบเขต จุดมุ่งหมายและประโยชน์ของวิทยาการระบาด นิเวศวิทยาของมนุษย์ หลักการป้องกันและควบคุมโรคมาตรการการวัด การป่วยและ ตาย ระบาดวิทยาของโรคติดต่อเชื้อและปัญหาสุขภาพ การสืบสวนทางระบาดวิทยา ระบาดวิทยาทางสังคม ความผิดพลาดที่พบได้บ่อยทางระบาดวิทยา ความหมายและคำจำกัดความเกี่ยวกับการเกิดโรค ธรรมชาติของการเกิดโรค กระบวนการเกิดโรค โรคติดต่อและไม่ติดต่อ หลักและวิธีการป้องกัน ควบคุมโรค การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พระราชบัญญัติโรคติดต่อ

รายวิชา 4273203

ชีวิตและครอบครัว

3 (3-0-6)

 

Life and Family

 

        ศึกษา วิเคราะห์จิตวิทยาพื้นฐานด้านพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาการแต่ละช่วงชีวิต ทักษะชีวิตและการแก้ไขปัญหา การส่งเสริมพัฒนาการแต่ละช่วงวัย การปรับตัวให้มีคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม การสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ สุขวิทยาทางเพศ การวางแผนครอบครัว และการจัดการครอบครัวในชุมชนให้เข้มแข็ง

รายวิชา 4273303

การบริหารงานสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Public Health Administration

 

        ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ปรัชญา แนวคิด และหลักการบริหารที่ใช้ในการบริหารงาน สาธารณสุข การวางแผน การจัดองค์การ การจัดบุคลากร การอำนวยการและควบคุมงาน กระบวนการวางแผน โครงการด้านสาธารณสุข ประวัติการสาธารณสุข ระบบสาธารณสุข แผนพัฒนาสาธารณสุข และมาตรการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข รวมทั้ง การนำกฎหมายสาธารณสุขมาใช้ในการบริหารงานสาธารณสุข

รายวิชา 4273306

การพัฒนาสุขภาพชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Health Development

 

        ศึกษา วิเคราะห์ความหมาย ชนิดและลักษณะของชุมชน การวินิจฉัยชุมชน การเตรียมชุมชน การทำแผนที่ทำการวิจัยชุมชน การวางแผน การดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุขในชุมชน การควบคุมกำกับงาน การประเมินผล และการสรุปรายงาน

รายวิชา 4273307

การประกันคุณภาพด้านบริการสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

Quality Insurance of Health Service

 

        ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการและกระบวนการประกันคุณภาพ การบริการด้านสุขภาพ วิวัฒนาการของการประกันคุณภาพด้านสุขภาพของคนไทยและต่างประเทศ แนวทางในการดำเนินงานประกันคุณภาพ ด้านสาธารณสุขของไทย องค์การและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการประกันคุณภาพการบริการด้านสาธารณสุข และสิทธิทางสังคม

รายวิชา 4273402

เทคโนโลยีและสารสนเทศทางสุขภาพ

3 (2-2-5)

 

Technology and Information in Health

 

        ศึกษา ค้นคว้า แนวคิดและความหมายของเทคโนโลยี และระบบสารสนเทศ แนวทางการศึกษาค้นคว้าสารสนเทศทางสุขภาพ แหล่งสารสนเทศ ทักษะและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ ในการบริการด้านสารธารณสุขการประเมิน ประสิทธิภาพสารสนเทศและแนวโน้มของระบบสารสนเทศทางสุขภาพ

รายวิชา 4273503

การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ

3 (2-2-5)

 

Integrated Health Care

 

        ศึกษา วิเคราะห์ และฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ จิตสังคม ทั้งบุคคล ครอบครัวและชุมชนในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม การป้องกัน การรักษาพยาบาลเบื้อง ต้น และการฟื้นฟูสภาพ

รายวิชา 4273601

ชีวสถิติสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

Biostatistics for Public Health

 

        ศึกษา ค้นคว้า ความสำคัญของสถิติ ตารางชีพ และสถิติชีพที่สำคัญในงานสาธารณสุข การกระจายแบบปกติ การประมาณค่า การทดสอบสมมุติฐานด้วย วิธีการทางสถิติ การวิเคราะห์และแปลผล การสรุปผลและการนำเสนอ

รายวิชา 4273602

การวัดและประเมินภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ

3 (3-0-6)

 

Health Risk Assessment

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ หลักและวิธีการวัดและประเมินภาวะสุขภาพการวัดการเจริญเติบโต การวัดการพัฒนาเด็ก การวัดภาวะโภชนาการ การตรวจร่างกายเด็ก การใช้เครื่องมือในการวัดภาวะสุขภาพชนิดต่างๆ การประเมินผลการวัดภาวะสุขภาพ

รายวิชา 4274104

ปฏิบัติการแพทย์แผนไทย

1 (0-3-0)

 

Practice in Thai Traditional Medicine

 

        ฝึกปฏิบัติหลักการนวดแผนไทยรูปแบบต่าง ๆ การนวดแก้อาการ การบำบัดด้วยวิธีธรรมชาติการใช้สมุนไพรด้วยวิธีต่าง ๆ การอบสมุนไพร การประคบด้วยสมุนไพร การวินิจฉัยด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย การปรุงยาตามทฤษฏีแพทย์แผนไทย เช่น ยาปรับธาตุตามฤดูกาล ยาสมุนไพรตามรส ยาสมุนไพรประจำธาตุเจ้าเรือน

รายวิชา 4274308

อาชีวอนามัย

3 (3-0-6)

 

Occupational Health

 

        ความหมายและความสำคัญของอาชีวอนามัย โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ อุบัติภัยอันเกิดจากประกอบอาชีพหลักการทั่วไป ในการควบคุมการป้องกันโรค การสุขาภิบาลโรงงาน หน่วยงานราชการ องค์กร และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัย การดำเนินงานโครงการอาชีวอนามัย

รายวิชา 4274506

ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน

3 (3-0-6)

 

Health Problem and Prevention

 

        ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ภาวะสุขภาพ ปัญหาสุขภาพในเขตเมือง และชุมชน วิทยาการระบาดการติดต่อของโรค ลักษณะของโรค การวินิจฉัย การดูแลและการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ อุบัติภัยและปัญหาสุขภาพในชีวิตประจำวัน

รายวิชา 4274702

กฎหมายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Public Health and Environmental Law

 

        ศึกษาความหมาย แนวคิด ความสำคัญที่มาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข การประกอบโรคศิลปะบทบาทของกฎหมายในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข และการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนขอบเขตความรับผิดชอบของนักสาธารณสุขต่อกฎหมายทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมถึงกฎหมายทางด้านสิ่งแวดล้อม การศึกษาเป็นรายกรณี โดยใช้เครื่องมือและเทคนิคต่าง ๆ ในการรวบรวมข้อมูล และวางแผนการจัดประสบการณ์ต่าง ๆ การทดลองปฏิบัติ การสรุปและประเมินผลการศึกษารายกรณี

 

            6. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน

                    วิชาประสบการณ์วิชาชีพ  จำนวน 7 หน่วยกิต

รายวิชา 4273801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

2 (90)

 

Preparation for Professional Experience in Community Health

        จัดให้มีกิจกรรมในด้านการจัดบริการสุขภาพในสถานบริการ และกระบวนการแก้ปัญหาสาธารณสุขชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนออกฝึกปฏิบัติการวิชาชีพ โดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ

รายวิชา 4274802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

5 (450)

 

Field Experience in Community Health

 

        ฝึกปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขชุมชน ดำเนินการให้บริการสุขภาพในสถานบริการ และกระบวนการแก้ปัญหาสาธารณสุขในชุมชน

 

            7. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                    วิชา บังคับแขนง จำนวน 19 หน่วยกิต

รายวิชา 4272111

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยขั้นนำ

2 (2-0-4)

 

Introduction to Occupational Health & Safety

 

        ศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยปัญหาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ โรคจากการประกอบอาชีพ อุบัติภัยในการทำงาน หน่วยงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

รายวิชา 4272112

สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

Fundamental of Industrial Hygiene

 

        ศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสุขศาสตร์อุตสาหกรรม องค์ประกอบในการทำงานด้านต่าง ๆ ปัญหาและอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานทางสุขศาสตร์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการแก้ไข วิธีหลักการทั่วไปในการตระหนักถึงปัญหา การประเมินหาขนาดของปัญหา หลักการต่าง ๆ ที่จะใช้ในการควบคุมป้องกันอันตรายจากการทำงาน

รายวิชา 4272711

ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

3 (3-0-6)

 

Industrial Safety

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับพื้นฐานความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุ ธรรมชาติ การเกิดอุบัติเหตุ อุบัติการณ์ การประเมินผล การปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย การบันทึกรายงานการบาดเจ็บ การประเมินความถี่และความรุนแรงจากการบาดเจ็บ หลักการป้องกันควบคุมอุบัติเหตุ การตรวจความปลอดภัย การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย การส่งเสริมความปลอดภัย อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล คณะกรรมการความปลอดภัย โครงการความปลอดภัยในสถานประกอบการ

รายวิชา 4273114

อาชีวเวชศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Occupational Medicine

 

        ศึกษา ค้นคว้า ถึงแนวคิด ด้านอาชีวเวชศาสตร์ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาเหตุของการเกิดโรคที่เกิดเนื่องจากการทำงาน ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค กลไกการทำงานของร่างกายภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตราย เช่น สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมี ผลกระทบของโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม หลักการวินิจฉัยโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ การควบคุมและป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพ การฟื้นฟูสมรรถนะการทำงาน

รายวิชา 4273211

จิตวิทยาอุตสาหกรรม

2 (2-0-2)

 

Industrial Psychology

 

        ศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับหลักการประยุกต์จิตวิทยาทั่วไป ให้เข้ากับการปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม โดยเน้นปัจจัยด้านสังคมและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพกายและจิตใจของผู้ปฏิบัติงาน การป้องกันมิให้ปัจจัยดังกล่าวส่งผลทำให้เกิดการทำงานและการปฏิบัติตนที่ไม่ปลอดภัย หลักการเข้าถึงและเทคนิคการสอน การจูงใจ การบำรุงขวัญคนงาน ความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างลูกจ้าง

รายวิชา 4273312

การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย

2 (2-0-4)

 

Occupational Health Administration

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับการประยุกต์หลักการบริหารงานสาธารณสุข เข้าสู่งานอาชีวอนามัย และความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม กฎหมายและบทบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักการในการวางแผนงานอาชีวอนามัย การบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ บทบาทขององค์กรของรัฐบาล หน่วยงานเอกชน องค์กรสากลที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัย มาตรฐานด้านแรงงานชาติและสากล (TIS 18000) การบริหารงานด้านความปลอดภัย สุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก

รายวิชา 4273713

การป้องกันและการควบคุมอัคคีภัย

3 (2-2-5)

 

Fire Prevention and Control

 

        ศึกษา ค้นคว้า ถึงสาเหตุ และชนิดของการเกิดอัคคีภัย เทคนิคและวิธีการควบคุม ป้องกันอัคคีภัย การคำนวณออกแบบระบบจ่ายน้ำในการดับเพลิง การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย การวางแผนป้องกันอัคคีภัยในงานอุตสาหกรรม การวางแผนฉุกเฉินสำหรับกรณีการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง

รายวิชา 4274912

สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1 (0-2-1)

 

Occupational Health and Safety Seminar

 

        ศึกษา ค้นคว้า นำเสนอและอภิปรายเกี่ยวกับการนิเทศปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกค้นคว้าและแก้ปัญหาในสิ่งที่ตนสนใจ และจะเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติงานของตน เป็นการฝึกปฏิบัติเพื่อการค้นคว้า และแก้ปัญหา การรวบรวมเหตุผลต่าง ๆ การพิจารณาตัดสินใจ การสร้างความคิดเห็น และทักษะใหม่ ๆ การรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น การสร้างความสามารถในการพิจารณาไตร่ตรอง ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้อื่นในปัญหาด้านอาชีวอนามัย

 

            8. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                    วิชา เลือกแขนง จำนวน 19 หน่วยกิต

รายวิชา 4273902

ภาษาอังกฤษสำหรับนักสาธารณสุข

3 (3-0-6)

 

English for Public Health Officer

 

        ศึกษาโครงสร้าง ศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษ ที่ใช้กันทั่วไป ในตำรา เอกสารต่าง ๆ การอ่าน การเขียน การสนทนา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานและการให้บริการทางด้านสาธารณสุข

รายวิชา 42723111

การสุขาภิบาลในโรงงาน

3 (3-0-6)
 

Industrial Sanitation

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับมลภาวะ และของเสีย อันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม มาตรการควบคุม และการบริหารจัดการ โดยเน้นการสุขาภิบาล และควบคุมคุณภาพของน้ำ อากาศ แสง เสียง ความร้อน และเหตุรำคาญ อื่น ๆ ซึ่งมีพิษต่อสภาพแวดล้อม

รายวิชา 42731133

สรีรวิทยาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการทำงาน

3 (3-0-6)
 

Environmental and Work Physiology

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับกลไกการทำงานของร่างกายภายใต้สภาวะสิ่งแวดล้อมในการทำงานทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ขีดความสามารถ และข้อจำกัดในการทำงานของมนุษย์อันเนื่องมาจากปัจจัยภายใน ภายนอกร่างกาย การประเมินค่าความสมบูรณ์ของร่างกาย ความเครียด ความเมื่อยล้าจากการทำงาน หลักการสร้างสภาวะการทำงานที่ถูกต้อง การออกแบบงานการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงาน

รายวิชา 42731155

พิษวิทยาอาชีวอนามัย

3 (3-0-6)
 

Occupational Toxicology

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับหลักการของพิษวิทยา อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารพิษที่จะเข้าสู่ร่างกาย และกลไกปฏิกิริยาของร่างกายต่อสารพิษ คุณสมบัติ อันตรายของสารพิษที่มีผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม สารพิษที่ใช้กันมากในการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เช่น สารพิษปราบศัตรูพืช โลหะหนัก ก๊าซ สารก่อมะเร็ง มลพิษอากาศอื่น ๆ วิธีการป้องกันสารพิษ การกำจัดสารพิษ การเก็บรักษาสารพิษ

รายวิชา 42731166

หลักการวิศวกรรมสุขศาสตร์ในงานอุตสาหกรรม

3 (2-2-5)

 

Industrial Safety Engineering

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับการใช้เทคนิคทางวิศวกรรม ในการควบคุม ป้องกัน อุบัติเหตุ อุบัติภัย การป้องกันอันตรายที่เกิดจากสภาพการทำงาน กระบวนการผลิต เครื่องจักรอุปกรณ์ หม้อไอน้ำ ภาชนะมีความดัน ระบบไฟฟ้า ตัวอาคาร การเชื่อมโลหะ การซ่อมบำรุง การทำงานในสถานที่อับอากาศ การเคลื่อนย้ายวัสดุ และงานที่เป็นปัญหาพบบ่อยในโรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นประเภทงานที่กฎหมายความปลอดภัยได้กำหนดไว้เป็นงานอันตรายที่ต้องประเมินความเสี่ยง

รายวิชา 4273313

กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและอันตราย

2 (2-0-4)

 

Industrial Process and Hazards

 

        ศึกษา ค้นคว้าถึงแนวคิดการสร้างโรงงานให้ปลอดภัย การเลือกทำเล ที่ตั้ง การเลือกกระบวนการและกรรมวิธีการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะโรงงานที่มีการใช้แรงงานที่เสี่ยงต่อสภาพอันตรายจากการทำงาน จำแนกวัตถุดิบ สารเคมีที่นำมาใช้ในกระบวนการผลิต ปัญหาและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น แนวทางการควบคุมป้องกัน

รายวิชา 4273314

การบริหารเพื่อควบคุมการสูญเสียและการเพิ่มผลผลิต

2 (2-0-2)

 

Loss Control Management and Productivity Improvement

 

        ศึกษา ค้นคว้า ถึงองค์ประกอบ การบริหารจัดการและเทคนิคการควบคุมการสูญเสีย และการเพิ่มผลผลิตในกระบวนการหรือขั้นตอนในการผลิตการทำงานในองค์กร สถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรม

รายวิชา 4273411

การผลิตวัสดุกราฟฟิคเพื่อความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

Graphic Production for Safety

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับ ความหมาย ขอบข่ายและความสำคัญของวัสดุกราฟฟิคที่มีต่อการประชาสัมพันธ์ และการฝึกอบรมในงานความปลอดภัย หลักการออกแบบวัสดุกราฟฟิค ฝึกปฏิบัติออกแบบวัสดุกราฟฟิคประเภทต่าง ๆ โดยเน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ รูปแบบเนื้อหา และการนำไปใช้ให้เหมาะสม ปฏิบัติการออกแบบวัสดุกราฟฟิคประเภทต่าง ๆ เพื่อใช้ในงานความปลอดภัย

รายวิชา 4273503

การดูแลสุขภาพเชิงบูรณาการ

3 (2-2-5)

 

Integrated Health Care

 

        ศึกษา วิเคราะห์ และฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ จิตสังคม ทั้งบุคคล ครอบครัวและชุมชนในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม การป้องกัน การรักษาพยาบาลเบื้อง ต้น และการฟื้นฟูสภาพ

รายวิชา 4273611

เทคนิคการตรวจสอบความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

Safety Audit and Inspection Technique

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับเทคนิคในการตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยในการทำงานด้านระบบไฟฟ้า อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัยและบุคลากร ให้อยู่ในมาตรฐานความปลอดภัยตามที่กฎหมายกำหนด ปฏิบัติการตรวจการปฏิบัติตามแผนความปลอดภัย วิธีการค้นหาสาเหตุอุบัติภัยจากการทำงาน การรายงานและการปรับปรุง แก้ไข

รายวิชา 4273612

การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม

3 (2-2-5)

 

Industrial Hygiene Sampling and Analysis

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับหลักวิธีการประเมินสิ่งแวดล้อม ในการทำงาน เช่น สภาพความร้อน ความเย็น แสง เสียง รังสี ความดัน ความสั่นสะเทือน การเก็บตัวอย่างสารเคมีในบรรยากาศ การตรวจวัดปล่องระบายอากาศ หลักการวิเคราะห์ตัวอย่าง การใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ การแปลผลการตรวจวัดสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินถึงอันตรายต่อสุขภาพของคนงานเมื่อสัมผัสกับสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ผิดปกติไป

รายวิชา 4273712

กฎหมายอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

Occupational Health and Safety Legislation

 

        ศึกษา ค้นคว้า ถึงความสำคัญ ขอบเขต การพัฒนา และการบริหารกฎหมายอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ของประเทศ เช่น พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พระราชบัญญัติโรงงาน พระราชบัญญัติสาธารณสุข และพระราชบัญญัติอื่น และกฎกระทรวง ประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4274506

ปัญหาสุขภาพและการป้องกัน

3 (3-0-6)

  Health Problem and Prevention  

        ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ภาวะสุขภาพ ปัญหาสุขภาพในเขตเมือง และชุมชน วิทยาการระบาดการติดต่อของโรค ลักษณะของโรค การวินิจฉัย การดูแลและการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ อุบัติภัยและปัญหาสุขภาพในชีวิตประจำวัน

รายวิชา 4274613

การวางแผนและประเมินผลความปลอดภัย

3 (3-0-6)

 

Planning and Evaluation in Safety Science

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับความหมาย จุดมุ่งหมาย ความสำคัญ ขอบข่าย หลักและวิธีในการวางแผน การจัดทำแผนงาน การประเมินผลงาน การนำผลการประเมินสภาพแวดล้อม และผลการวิจัย มาใช้ในการวางแผนและประเมินผลงานด้านความปลอดภัย

รายวิชา 4274714

การระบายอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม

3 (3-0-6)

 

Industrial Ventilation

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับหลักการระบายอากาศที่ใช้ในการควบคุมป้องกันมลพิษทางอากาศ การระบายอากาศแบบธรรมชาติ การระบายอากาศทั่วไป และการระบายอากาศเฉพาะที่ การระบายอากาศในอาคาร สถานที่ในสำนักงาน การออกแบบ การคำนวณระบบระบายอากาศทั่วไป การระบายอากาศเฉพาะที่ ส่วนประกอบของระบบระบายอากาศ ท่อระบายอากาศ พัดลม ระบบขจัดมลพิษทางอากาศ การทดสอบระบบระบายอากาศ

รายวิชา 4274911

การฝึกอบรมความปลอดภัย

2 (1-2-3)

 

Safety Training

 

        ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของการฝึกอบรมความปลอดภัย หลักการฝึกอบรมความปลอดภัย เทคนิคการฝึกอบรมแบบต่าง ๆ เทคนิคการเป็นวิทยากร การจัดทำแผนและโครงการฝึกอบรมความปลอดภัย การจัดการฝึกอบรม การประเมินผลและการติดตามผล ปฏิบัติการจัดการอบรมการเป็นวิทยากร การจัดทำโครงการฝึกอบรมความปลอดภัย

 

            9. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                    วิชาประสบการณ์วิชาชีพ  จำนวน 7 หน่วยกิต

รายวิชา 4273811

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

2 (90)

 

Preparation for Professional Experience in Occupational Health and Safety

        จัดให้มีกิจกรรมในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกระบวนการแก้ปัญหา อาชีวอนามัย และความปลอดภัย เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนออกฝึกปฏิบัติการวิชาชีพโดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ

รายวิชา 4274812

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

5 (450)

  Field Experience in Occupational Health and Safety  

        ฝึกปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกระบวนการแก้ปัญหาอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในสถานประกอบการต่าง ๆ

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังต่อไปนี้

            18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. จัดให้มีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของสาขาวิชา
                7. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                8. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุก ๆ ปี

            18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

            18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

            18.4 กลไกการประกันคุณภาพของหลักสูตร

                สาขาวิชามีกลไกในการประกันคุณภาพของหลักสูตร โดยมีการดำเนินการเพื่อนำข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตรดังต่อไปนี้

                1. กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของหลักสูตรสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน และแขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
                2. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                3. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก ๆ 2 ปี
                4. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก ๆ ปี
                5. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี
                6. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        1. มีคณะกรรมการร่างหลักสูตรที่มีองค์ประกอบของคณะกรรมการที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง

        2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร

        3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก

        4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร

        5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี

        6. มีการประเมินหลักสูตรทุกรอบ 4 ปี

        7. มีแผนงานในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรสาขาวิชาทั้งฉบับทุก ๆ 5 ปี

 

************

 

ภาคผนวก

 

1. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์

        1.1 มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ. ดร. ปรัชญา เวสารัชช์ และ พลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        1.2 การประชุมกำหนดวิสัยทัศน์และปรัชญาของหลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2545

        1.3 จัดประชุมเชิงปฏิบัตการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์แกรนด์รีสร์ท จ. พิษณุโลก เมื่อวันที่ 28-30 ตุลาคม 2545 ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตรวิชาแกน วิชาบังคับและบางส่วนวิชาเลือก

        1.4 การสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2546

        1.5 ประชุมปรับปรุง แก้ไขหลักสูตร ณ โปรแกรมวิชา เมื่อ กันยายน 2547

        1.6 นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร และได้รับการอนุมัติปลายปี 2547

        1.7 ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป และวิทยาการจัดการ

        1.8 วิพากหลักสูตร ณ ห้วยป่าปกรีสอร์ท จ.อุทัยธานี เมื่อ 9 กันยายน 2548

        1.9 ปรับปรุง แก้ไข นำเสนอต่อมหาวิทยาลัย 15 กันยายน 2548

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

        1. ผศ.ณัฐธยาน์ ศรีพุทธสมบูรณ์ กศ.ม. ( พลศึกษา)

        2 นางสุชาดา จันทร์ทอง คม. ( สุขศึกษา)

        3. นางจิตตยา ไวทยกุล Post Graduate Diploma (Interdisciplinary) ศษ.ม. (ประชากรศึกษา)

        4. นางศุภนิตย์ คงสิบ กศ.ม. ( สุขศึกษา)

        5. ผศ.ธิติมา บุญเจริญ พย.ม.( การพยาบาลอายุรศาสตร์ และศัลยศาสตร์)

        6. นพ.ธีรศักดิ์ ลักษณานันท์ พบ. ( อายุรแพทย์)

        7. พญ.นัยนา ณีศะนันท์ พบ. ( กุมารแพทย์)

        8. นางรำไพ เกียรอดิสร สม. ( การสาธารณสุข)

        9. นางสาวทิพวรรณ สุรีรานนท์ กศ.ม. ( การศึกษา)

        10. นายมนัส วทานียเวช สม. ( บริหารสาธารณสุข)

        11. นางสาววีรวรรณ จันทร์ทอง ศษ.ม. ( การส่งเสริมสุขภาพ)

3. มาตรฐานด้านคุณลักษณะบัณฑิต

        3.1 บัณฑิตแขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน และแขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีคุณสมบัติด้านคุณลักษณะของบัณฑิต 4 ด้าน ดังนี้ คือ

            3.1.1 แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน

                    1.  ด้านความรู้

                        - มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสาธารณสุขชุมชน
                        - มีความรู้ด้านการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
                        - มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์

                    2.  ด้านทัศนคติ

                        - มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

                    3.  ด้านทักษะปฏิบัติ

                        - สามารถปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน
                        - มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการประสานงานและทำงานในชุมชนได้อย่างดี
                        - มีทักษะในการวางแผน การเขียนโครงการตามแผนการพัฒนาด้านสาธารณสุขได้
                        - สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารและวิชาการ รวมทั้งสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้

                    4.  ด้านคุณลักษณะ

                        - มีคุณธรรม จริยธรรม
                        - มีสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมดี

            3.1.2 แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                    1.  ด้านความรู้

                        - มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                    2.  ด้านทัศนคติ

                        - มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                    3.  ด้านทักษะปฏิบัติ

                        - สามารถปฏิบัติงานทางด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                        - มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการประสานงานและทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างดี
                        - มีทักษะในการวางแผน การเขียนโครงการตามแผนงานทางด้านอาชีวอนามัยได้
                        - สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารและวิชาการ รวมทั้งสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้

        3.2 การตรวจสอบคุณลักษณะของบัณฑิต

                - ผ่านเกณฑ์ประเมินผลคุณลักษณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                - สอบผ่านเกณฑ์การประเมินผลตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ว่าด้วยการประเมินผลการศึกษาของมหาวิทยาลัย

        3.3 บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

            3.3.1 แขนงวิชาสาธารณสุขชุมชน ระดับปริญญาตรี สาย วท. บ. และ วท.บ. ประยุกต์จะมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับการดำเนินงานดังต่อไปนี้

                - โรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลประจำจังหวัดด
                - โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลอำเภอ
                - โรงพยาบาลเอกชน
                - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ, สถานีอนามัย
                - ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานประจำภาค, ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานประจำอำเภอ
                - องค์การบริหารส่วนจังหวัด
                - องค์การบริหารส่วนตำบล
                - องค์กรเอกชนด้านสุขภาพ
                - มูลนิธิและชมรมสุขภาพต่าง ๆ

            3.3.2 แขนงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระดับปริญญาตรี สาย วท.บ. และ วท.บ.ประยุกต์ จะมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับการดำเนินงานดังต่อไปนี้

                - กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
                - กระทรวงอุตสาหกรรม
                - กระทรวงสาธารณสุข
                - กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
                - นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
                - การรถไฟแห่งประเทศไทย
                - กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมทุกชนิด
                - ฯลฯ

 

 

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์

 

 

 

 

หลักสูตรใหม่

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์