หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง
พุทธศักราช 2549 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

ภาคผนวก
 

ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2549

.....................................

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Mathematics

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์)
  Bachelor of Science (Mathematics)
ชื่อย่อ : วท.บ. (คณิตศาสตร์)
  B.Sc. (Mathematics)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่ให้ความสำคัญต่อคณิตศาสตร์ ในฐานะที่เป็นศาสตร์หนึ่งที่เป็นวิชาการชั้นสูง มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถนำคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในศาสตร์ต่าง ๆ ได้

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

            หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้

                1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็นต่อการพัฒนาท้องถิ่น และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
                2. เพื่อตอบสนองความต้องการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในด้านบุคลากรที่ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ของท้องถิ่น
                3. เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ ใฝ่หาความรู้ได้ทันต่อความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยี พัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่องสู่ความเป็นสากล และเป็นพื้นฐานของการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นไป
                4. เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นพลเมืองดีของสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

ผศ. นิพนธ์ วงษ์พานิช

    -  วท.ม. (การสอนคณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วท.บ. (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตำรา

    1) คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์

เอกสารประกอบการสอน

    1) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  พีชคณิตนามธรรม
    -  คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์
    -  พีชคณิตเชิงเส้น
    -  กำหนดการเชิงเส้น

2

ผศ.ว่าที่ ร.ต.อภิเดช มงคลปัญญา

    -  กศ.ม. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  ค.บ. (คณิตศาสตร์) วิทยาลัยครูพระนคร

ตำรา

    1) คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์

เอกสารประกอบการสอน

    1) ระบบจำนวน

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ระบบจำนวน
    -  คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์
    -  ทอพอโลยี
    -  แคลคูลัส
    -  การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3

นายยงยุทธ ยรรยงเมธ

    -  กศ.ม. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
    -  กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก

 

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ทฤษฎีเซต
    -  ทฤษฎีกราฟ
    -  หลักการคณิตศาสตร์
    -  คณิตศาสตร์เต็มหน่วย

4

นางสาวศศิโสพิต บัวดา

    -  วท.ม.(คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  ค.บ. (คณิตศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

 

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  พีชคณิตเชิงเส้น
    -  พีชคณิตนามธรรม
    -  แคลคูลัส
    -  ทฤษฎีจำนวน

5

นายวิสิษฐ์ ธนสาโร

    -  กศ.บ. (คณิตศาสตร์) วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร

 

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  แคลคูลัส
    -  เตรียมฝึกประสบการณ์
    -  พีชคณิตนามธรรม
    -  สมการเชิงอนุพันธ์

    12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

ผศ.ดร. นวลศรี ชำนาญกิจ

    -  กศ.ด. (คณิตศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    -  ค.ม. (การศึกษาคณิตศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน

ตำรา

    1) รากฐานเรขาคณิต
    2) สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

เอกสารประกอบการสอน

    1) คณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา
    2) แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1, 2,3
    3) เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด
    4) เรขาคณิตเบื้องต้น
    5) หลักสถิติ
    6) แคลคูลัสสำหรับธุรกิจ

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  สมการเชิงอนุพันธ์
    -  เรขาคณิต
    -  แคลคูลัส
    -  คณิตศาสตร์เต็มหน่วย
    -  ตรรกศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์

2

ผศ.วิทยา วาจาบัณฑิตย์

    -  วท.ม. (การสอนคณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  ป.ชั้นสูงวิชาเฉพาะคณิตศาสตร์ วิทยาลัยวิชาการศึกษาปทุมวัน
    -  กศ.บ. (คณิตศาสตร์) วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร

ตำรา

    1) แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1

เอกสารประกอบการสอน

    1) หลักการคณิตศาสตร์

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  หัวหน้าภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  หลักการคณิตศาสตร์
    -  แคลคูลัส
    -  ทฤษฎีจำนวน
    -  การวิเคราะห์เชิงจริง

3

ผศ.วิสาข์ เกษประทุม

    -  ค.ม.(สถิติการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  กศ.บ.เกียรตินิยมอันดับ 2 (คณิตศาสตร์) วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร

ตำรา

    1) สถิตินอนพาราเมตริก
    2) สถิติธุรกิจ
    3) ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

เอกสารประกอบการสอน

    1) หลักการคณิตศาสตร์
    2) สถิติวิเคราะห์ 1

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  สถิตินอนพาราเมตริก
    -  สถิติวิเคราะห์
    -  สถิติเชิงคณิตศาสตร์
    -  ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

4

ผศ. นิพนธ์ วงษ์พานิช

    -  วท.ม. (การสอนคณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วท.บ. (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตำรา

    1) คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์

เอกสารประกอบการสอน

    1) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  พีชคณิตนามธรรม
    -  คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์
    -  พีชคณิตเชิงเส้น
    -  กำหนดการเชิงเส้น

5

ผศ.ว่าที่ ร.ต.อภิเดช มงคลปัญญา

    -  กศ.ม. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  ค.บ. (คณิตศาสตร์) วิทยาลัยครูพระนคร

ตำรา

    1) คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์

เอกสารประกอบการสอน

    1) ระบบจำนวน

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ระบบจำนวน
    -  คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์
    -  ทอพอโลยี
    -  แคลคูลัส
    -  การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

6

อ. ยงยุทธ ยรรยงเมธ

    -  กศ.ม. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร
    -  กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก

 

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ทฤษฎีเซต
    -  ทฤษฎีกราฟ
    -  หลักการคณิตศาสตร์
    -  คณิตศาสตร์เต็มหน่วย

7

อ.รุ่งรัตติกาล ม่วงไหม

    -  วท.ม.(สถิติประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    -  วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ 2 (สถิติประยุกต์)สถาบันเทคโนโลยี -
       พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

งานวิจัย

    1) โครงการพัฒนาองค์ความรู้บึงบอระเพ็ดเชิงบูรณาการ

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  การวิจัยดำเนินงาน

8

อ.วิสิษฐ์ ธนสาโร

    -  กศ.บ. (คณิตศาสตร์) วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร

 

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  แคลคูลัส
    -  เตรียมฝึกประสบการณ์
    -  พีชคณิตนามธรรม
    -  สมการเชิงอนุพันธ์

9

อ.ศศิโสพิต บัวดา

    -  กศ.ม.(คณิตศาสตร์)มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  ค.บ. (คณิตศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

 

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  พีชคณิตเชิงเส้น
    -  พีชคณิตนามธรรม
    -  แคลคูลัส
    -  ทฤษฎีจำนวน

13. จำนวนนักศึกษา

นักศึกษา

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

ชั้นปีที่ 2

ชั้นปีที่ 3

ชั้นปีที่ 4

40

-

-

-

40

40

-

-

40

40

40

-

40

40

40

40

40

40

40

40

รวม

40

80

120

160

200

บัณฑิตที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา

-

-

-

40

40

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        1. อาคารสถานที่

ลำดับ

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการ

1

2

3

4

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ห้องเรียน

ห้องสมุด

ห้องสมุดภาควิชา

1

-

1

1

2

4

1

1

        2. อุปกรณ์การสอน

ลำดับ

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

ชุดคอมพิวเตอร์

เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ

ชุดวิดีทัศน์และเครื่องรับโทรทัศน์

เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์

เครื่องพิมพ์สี

เครื่องถ่ายเอกสาร

เครื่องถ่ายสำเนาระบบดิจิตอล

เครื่องฉายภาพทึบแสง

โปรเจคเตอร์

15 ชุด

3 เครื่อง

-

2

1

-

-

-

-

30 ชุด

5 เครื่อง

1 เครื่อง

2 เครื่อง

1 เครื่อง

1 เครื่อง

1 เครื่อง

1 เครื่อง

1 เครื่อง

15. ห้องสมุด

ที่

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่

จำนวนที่ต้องการ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63

64

65

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81

82

83

84

85

86

87

88

เลขคณิต พีชคณิต และเรขาคณิต

คณิตศาสตร์พื้นฐาน

หลักการคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์เบื้องต้น

คณิตศาสตร์แผนใหม่

คณิต 101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

คณิตศาสตร์ช่างยนต์

คณิตศาสตร์ช่างอิเล็กทรอนิค

คณิตศาสตร์ช่าง

คณิตศาสตร์สำหรับสถิติ (พีชคณิตเชิงเส้น)

คณิตศาสตร์เชิงตัวเลข สำหรับคอมพิวเตอร์

คณิตศาสตร์เพื่อชีวิต

หลักคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์เทคนิค

คณิตศาสตร์ดีสครีต

คณิตศาสตร์ทั่วไป

คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

คณิตตรรกศาสตร์

สมการดิฟเฟอเรนเชียล

ทฤษฎีจำนวน

ภาษาคณิตศาสตร์

รวมสูตรและตารางคณิตศาสตร์ทั่วไป

คณิตศาสตร์ 3 ตรีโกณมิติ

ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์คณิตศาสตร์ธุรกิจ

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค

การวิเคราะห์จำนวนจริงเบื้องต้น

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

เอกสารหน่วยการเรียนการสอนการพัฒนาความคิดเชิงตรรกะ

ศัพท์ทางคณิตศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

คู่มือวิชาการศึกษาเทคนิคและวิธีสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่

การสัมมนาวิชาคณิตศาสตร์

ประวัติคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์การเงิน

คณิตศาสตร์ช่างอุตสาหกรรม

คณิตศาสตร์พื้นฐานสำหรับช่างอิเล็กทรอนิค

การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ถดถอย

การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

คณิตศาสตร์พานิชยการ

ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์คณิตศาสตร์บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์

คณิตศาสตร์ประกันชีวิต

คณิตศาสตร์ไฟฟ้า

ทฤษฎีความน่าจะเป็นและสถิติ

คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ

คณิตศาสตร์สำหรับสถิติ

คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

หลักการสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนประถม

วิธีสอนคณิตศาสตร์ชั้นประถม (การศึกษา7)

การวิเคราะห์และการออกแบบระบบ

การวิเคราะห์และการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์

โครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์

โครงสร้างข้อมูลและอัลกอลิทึม

โครงสร้างข้อมูลและเทคนิคการจัดไฟล์

ระบบสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์

ระบบการจัดการฐานข้อมูล

General Mathematics

Topics in Modern Mathematics

An introduction to the Element of Mathematics

The Elements of Real Analysis

Modern Fundamentals of Mathematics

Mathematics for General Education

Mathematics with Applications in Management

Discovering Meaning in Elementary School Mathematics

A Survey of College Mathematics

Mathematics for a Liberal Education

Mathematics ideas and Uses

Growth in Mathematics

Modern School Mathematics Structure and Use

Elementary Technical Mathematics with Calculus

Building Mathematics Skills

Mathematics

Complex Analysis

Fundamentals of Freshman Mathematics

The Mathematical Graphics Guidebook

Mathematics Dictionary

Teaching Primary Mathematics : Strategy and Evaluate

Calculus

Advanced Calculus

Introduction to Operations Research

Complex Variables

Applied Mathematics 1

Discrete Mathematics (Number and Beyond)

Study Guide Mathematics

Intermediate Algebra

Applied Numerical Analysis

Differential Equations

Plane Trigonometry A new Approach

 

2

20

11

15

1

10

7

1

5

5

2

10

10

4

5

11

5

1

2

3

5

2

1

2

7

5

3

3

5

3

5

5

6

2

1

10

5

11

3

6

10

9

10

10

5

5

7

5

1

1

2

2

1

2

2

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

15

25

20

20

15

15

20

20

20

20

20

20

15

15

15

15

20

20

20

20

15

25

20

30

25

20

20

20

20

30

20

15

10

10

20

20

20

20

10

15

15

20

15

20

20

20

20

20

15

15

20

20

20

20

20

20

10

10

10

10

1

10

10

10

10

10

5

5

10

5

5

10

10

5

5

10

5

10

10

5

5

5

5

5

5

5

5

5

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ

2549

2550

2551

2552

2553

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

    -  ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

30,000

100,000

100,000

20,000

30,000

100,000

100,000

20,000

30,000

100,000

100,000

20,000

30,000

100,000

100,000

20,000

30,000

100,000

100,000

20,000

รวมงบดำเนินการ

25,000

25,000

25,000

25,000

25,000

    -  ค่าครุภัณฑ์

    -  ค่าที่ดิน

    -  ค่าสิ่งก่อสร้าง

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

รวมงบลงทุน

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

เงินทั้งหมด

35,000

35,000

35,000

35,000

35,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาชาวิชาคณิตศาสตร์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

            จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร นักศึกษาจะต้องเรียนแบบใดแบบหนึ่งดังนี้

                แบบเอกเดี่ยว จะต้องเรียนไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต
                แบบเอก – โท จะต้องเรียนไม่น้อยกว่า 134 หน่วยกิต
                แบบเอก – เอก จะต้องเรียนไม่น้อยกว่า 161 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

โครงสร้างของหลักสูตร

เอกเดี่ยว

เอก-โท

เอก-เอก

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

31

31

    1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

9

9

    2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

8

8

    3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

6

6

    4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8

8

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

94

97

124

    1. วิชาแกน

33

33

33

    2. วิชาเฉพาะด้าน

54

42

42

    3. วิชาโท/วิชาเอกอื่น

-

15

42

    4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

7

7

7

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

6

6

รวมทั้งหมด

131

134

161

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก แต่ละหลักมีความหมายดังนี้

                หลักแรก แทนคณะ

                หลักที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                หลักที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                หลักที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                หลักที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            คณะที่เปิดสอน

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                หมู่วิชาของคณะวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 400 วิทยาศาสตร์ 421 ฟิสิก 422 เคมี 423 ชีววิทยา 429 คณิตศาสตร์ 430 สถิติประยุกต์ 431 คอมพิวเตอร์

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ สำหรับเอกเดี่ยวจำนวนไม่น้อยกว่า 91 หน่วยกิต เอก-โท จำนวนไม่น้อยกว่า 97 หน่วยกิต และเอก-เอก จำนวนไม่น้อยกว่า 124 หน่วยกิต โดยแบ่งรายวิชาเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

            (1) วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 
 

English for Science

   

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 
 

Introduction to Business Operation

   

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 
 

General Economics

   

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 
 

Research in Science

   

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 
 

General Physics

   

4211601

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 
 

General Physics Laboratory

   

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 
 

General Chemistry

   

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 
 

General Chemistry Laboratory

   

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 
 

General Biology

   

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 
 

General Biology Laboratory

   

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 
 

Calculus 1

   

4311701

คอมพิวเตอร์เพื่อวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 
 

Science for Computer

   

                    เลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เพิ่มอีก 3 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2313701

ภาษาอังกฤษสำหรับมนุษย์ศาสตร์

3(3-0-6)

 
 

English for Humanities

   

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 
 

English for Social Science

   

2313703

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปกรรม

3(3-0-6)

 
 

English for Fine and Applied Arts

   

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3(3-0-6)

 
 

English for Technology

   

2313705

ภาษาอังกฤษในงานวิศวกรรม

3(3-0-6)

 
 

English for Engineering Work

   

2313709

ภาษาอังกฤษสำหรับครู

3(3-0-6)

 
 

English for Teachers

   

            (2) วิชาเฉพาะด้าน แบบเอกเดี่ยว จำนวนไม่น้อยกว่า 54 หน่วยกิต

                    1. แบบเอก–โท จำนวนไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต
                    2. แบบเอก–เอก จำนวนไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต

            ดังรายวิชาที่ต้องเรียนต่อไปนี้

                    2.1 บังคับร่วม (ทั้งเอกเดี่ยว เอก-โท เอก-เอก)  จำนวน 21 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4291201

หลักการคณิตศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

Principle of Mathematics

   

4292401

แคลคูลัส 2

3 (3-0-6)

 
 

Calculus 2

   

4292601

พีชคณิตเชิงเส้น 1

3 (3-0-6)

 
 

Linear Algebra 1

   

4293301

พีชคณิตนามธรรม 1

3 (3-0-6)

 
 

Abstract Algebra 1

   

4293401

แคลคูลัส 3

3 (3-0-6)

 
 

Calculus 3

   

4293402

สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

3 (3-0-6)

 
 

Ordinary Differential Equations

   

4294404

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

Mathematical Analysis

   

                    2.2 บังคับเพิ่มเฉพาะ เอกเดี่ยว 12 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4291701

เทคนิคการเขียนโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

3(2 -2-5)

 
 

Programming Technique in Mathematics

   

4302201

ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

3 (3-0-6)

 
 

introduction to Probability and Statistics

   

4293901

โครงงานพิเศษทางคณิตศาสตร์

3 (2-2-5)

 
 

Special Project in Mathematics

   

4294407

การวิเคราะห์เชิงตัวเลข

3 (3-0-6)

 
 

Numerical Analysis

   

                    2.3 บังคับเพิ่มเฉพาะ เอก-โท 3 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4302201

ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

3 (3-0-6)

 
 

Introduction to Probability and Statistics

   

                2.4 บังคับเพิ่มเฉพาะ เอก-เอก 3 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4291701

เทคนิคการเขียนโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

3(2 -2-5)

 
 

Programming Technique in Mathematics

   

                2.5 วิชาเฉพาะด้านเลือก จำนวนหน่วยกิตที่ต้องเรียนมีดังนี้

                        1. แบบเอกเดี่ยว เลือกเรียน 21 หน่วยกิต
                        2. แบบเอก–โท เลือกเรียน 18 หน่วยกิต
                        3. แบบเอก–เอก เลือกเรียน 18 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้วในวิชาเอกบังคับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4291606

คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์

3 (3-0-6)

 
 

Mathematics for Computer

   

4291701

เทคนิคการเขียนโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

3(2 -2-5)

เอกเดี่ยว/เอก-เอก

เลือกไม่ได้

 

Programming Technique in Mathematics

 

4291702

การประมวลผลข้อมูลและแฟ้มข้อมูล

3 (3-0-6)

 
 

Data and File Processing

   

4292201

ระบบจำนวน

3 (3-0-6)

 
 

Number System

   

4292202

ตัวแบบทางคณิตศาสตร์

3(2 -2-5)

 
 

Mathematical Model

   

4292602

พีชคณิตเชิงเส้น 2

3 (3-0-6)

 
 

Linear Algebra 2

   

4293101

ประวัติคณิตศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

History of Mathematics

   

4293201

ทฤษฎีเซต

3 (3-0-6)

 
 

Set Theory

   

4293302

การสร้างต้นแบบและการจำลองสถานการณ์

3(2 -2-5)

 
 

Modeling and Simulation

   

4293303

คณิตศาสตร์เต็มหน่วย

3 (3-0-6)

 
 

Discrete Mathematics

   

4293501

รากฐานเรขาคณิต

3 (3-0-6)

 
 

Foundation of Geometry

   

4293604

กำหนดการเชิงเส้น

3 (3-0-6)

 
 

Linear Programming

   

4293605

คณิตศาสตร์ประกันภัย

3 (3-0-6)

 
 

Actuarial Mathematics

   

4293606

ทฤษฎีเกม

3 (3-0-6)

 
 

Game Theory

   

4293607

คณิตศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์กายภาพ

3 (3-0-6)

 
 

Mathematics in Physical Science

   

4293608

ทฤษฎีดอกเบี้ย

3 (3-0-6)

 
 

Theory of Interests

   

4293708

โปรแกรมสำเร็จรูปด้านคณิตศาสตร์

3(2- 2-5)

 
 

Programming Package for Mathematics

   

4293709

คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคณิตศาสตร์

3(2 -2-5)

 
 

Computer Assisted Instruction in Mathematics

   

4293901

โครงงานพิเศษทางคณิตศาสตร์

3 (2-2-5)

เอกเดี่ยว

เลือกไม่ได้

 

Special Project in Mathematics

 

4294201

ทฤษฎีจำนวน

3 (3-0-6)

 
 

Theory of Numbers

   

4294202

ตรรกศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

Mathematical Logic

   

4294301

พีชคณิตนามธรรม 2

3 (3-0-6)

 
 

Abstract Algebra 2

   

4294303

ทฤษฎีสมการ

3 (3-0-6)

 
 

Theory of Equations

   

4294401

สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย

3 (3-0-6)

 
 

Partial Differential Equations

   

4294402

แคลคูลัสชั้นสูง

3 (3-0-6)

 
 

Advanced Calculus

   

4294403

การวิเคราะห์เวกเตอร์

3 (3-0-6)

 
 

Vector Analysis

   

4294407

การวิเคราะห์เชิงตัวเลข

3 (3-0-6)

เอกเดี่ยว

เลือกไม่ได้

 

Numerical Analysis

 

4294408

การวิเคราะห์เชิงจริง

3 (3-0-6)

 
 

Real Analysis

   

4294410

การวิเคราะห์เชิงซ้อน 1

3 (3-0-6)

 
 

Complex Analysis 1

   

4294411

การวิเคราะห์เชิงซ้อน 2

3 (3-0-6)

 
 

Complex Analysis 2

   

4294501

เรขาคณิตนอกแบบของยุคลิด

3 (3-0-6)

 
 

Non-Euclidean Geometry

   

4294502

เรขาคณิตเชิงภาพฉาย

3 (3-0-6)

 
 

Projective Geometry

   

4294503

เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์

3 (3-0-6)

 
 

Differential Geometry

   

4294504

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น

3 (3-0-6)

 
 

Introduction to Graph Theory

   

4294505

ทอพอโลยีเบื้องต้น

3 (3-0-6)

 
 

Introduction to Topology

   

4294506

ทอพอโลยี

3 (3-0-6)

 
 

Topology

   

4294603

ทฤษฎีรหัส

3 (3-0-6)

 
 

Coding Theory

   

4294604

ทฤษฎีออพทิไมเซชันและการประยุกต์

3 (3-0-6)

 
 

Optimization Theory and Applications

   

4294605

ทฤษฎีควบคุม

3 (3-0-6)

 
 

Control Theory

   

4294606

ทฤษฎีสินค้าคงคลัง

3 (3-0-6)

 
 

Inventory Theory

   

4294901

สัมมนาคณิตศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

Seminar in Mathematics

   

4294902

การศึกษาส่วนบุคคล

3 (3-0-6)

 
 

Individual Study

   

4302101

สถิติวิเคราะห์ 1

3 (3-0-6)

 
 

Statistical Analysis 1

   

4302102

สถิติวิเคราะห์ 2

3 (3-0-6)

 
 

Statistical Analysis 2

   

4302201

ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

3 (3-0-6)

เอกเดี่ยว/เอก-โท

เลือกไม่ได้

 

introduction to Probability and Statistics

 

4302202

สถิติเชิงคณิตศาสตร์ 1

3 (3-0-6)

 
 

Mathematical Statistics 1

   

4302203

สถิติเชิงคณิตศาสตร์ 2

3 (3-0-6)

 
 

Mathematical Statistics 2

   

4303301

การวิเคราะห์การถดถอย

3 (3-0-6)

 
 

Regression Analysis

   

4303302

สถิตินอนพาราเมตริก

3 (3-0-6)

 
 

Nonparametric Statistics

   

4303303

การวิเคราะห์อนุกรมเวลา

3 (3-0-6)

 
 

Time Series Analysis

   

4303422

ประชากรศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

Demography

   

4303501

การวิจัยดำเนินงาน 1

3 (3-0-6)

 
 

Operation Research 1

   

4303502

การวิจัยดำเนินงาน 2

3 (3-0-6)

 
 

Operation Research 2

   

4304301

การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ

3 (3-0-6)

 
 

Statistical Quality Control

   

4304308

การวิจัยเบื้องต้น

3 (3-0-6)

 
 

Principle of Research

   

4311401

ระบบปฏิบัติการ

3 (2-2-5)

 
 

Operating System

   

4311402

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 
 

Data Communication and Computer Networks

   

4312201

ระบบฐานข้อมูล

3 (2-2-5)

 
 

Database System

   

4313401

โครงสร้างข้อมูลและอัลกอลิทึม

3 (2-2-5)

 
 

Data Structure and Algoruthm

   

            (3) วิชาโท/หรือวิชาเอกอื่น จำนวนหน่วยกิตที่ต้องเรียนมีดังนี้

                    1. แบบเอก–โท จะต้องเรียนวิชาโทไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต ตามข้อกำหนดของวิชาโทนั้น ๆ
                    2. แบบเอก–เอก จะต้องเรียนวิชาเอกอื่นไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต ตามข้อกำหนดของวิชาเอกนั้น ๆ

            (4) วิชาประสบการณ์วิชาชีพ ให้เรียน 7 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4294801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

2(150)

 
 

Preparation for Professional Experience in Mathematics

   

4294802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

5(350)

 

Field Experience in Mathematics

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนอย่างน้อย 6 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียน โดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชาคณิตศาสตร์

        17.4 แผนการศึกษา

            แผนการศึกษาของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มี 2 แผน ดังนี้

                17.4.1 แผนการศึกษาแบบเอกเดี่ยว

ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

4291201

หลักการคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

4291401

แคลคูลัส 1

3(3-0-6)

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3(3-0-6)

รวม

18

ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

4292401

แคลคูลัส 2

3(3-0-6)

4302201

ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

3(3-0-5)

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

รวม

18

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

4293401

แคลคูลัส 3

3(3-0-6)

4292601

พีชคณิตเชิงเส้น 1

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 1

3(3-0-6)

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3(3-0-6)

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1(0-2-1)

รวม

19

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

4293402

สมการอนุพันธ์แบบสามัญ

3(3-0-6)

4291701

เทคนิคการเขียนโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

4293301

พีชคณิตนามธรรม 1

3(3-0-6)

4221101

เคมีทั่วไป

3(3-0-6)

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1(0–2-1)

รวม

18

ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2(2-0-4)

4294404

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

4003901

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3(3-0-6)

4211601

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1(0-2-1)

 

คณิตเลือก 2

3(3-0-6)

 

เลือกเสรี 1

3(3-0-6)

รวม

18

ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

2(90)

4294407

การวิเคราะห์เชิงตัวเลข

3(3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 3

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 4

3(3-0-6)

 

เลือกภาษาอังกฤษ

3(3-0-6)

 

เลือกเสรี 2

3(3-0-6)

รวม

20

ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

5(350)

รวม

5

ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

 

คณิตเลือก 5

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 6

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 7

3(3-0-6)

4293901

โครงงานพิเศษทางคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

รวม

15

                17.4.2 แผนการศึกษาแบบเอก-โท

ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

4291201

หลักการคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

4291401

แคลคูลัส 1

3(3-0-6)

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3(3-0-6)

รวม

18

ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

4292401

แคลคูลัส 2

3(3-0-6)

4302201

ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 1

3(3-0-6)

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

รวม

21

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

4293401

แคลคูลัส 3

3(3-0-6)

4292601

พีชคณิตเชิงเส้น 1

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 2

3(3-0-6)

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3(3-0-6)

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1(0-2-1)

รวม

19

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

4293402

สมการอนุพันธ์แบบสามัญ

3(3-0-6)

 

วิชาโท 1

3(3-0-6)

4293301

พีชคณิตนามธรรม 1

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 3

3(3-0-6)

4221101

เคมีทั่วไป

3(3-0-6)

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1(0-2-1)

รวม

21

ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2(2-0-4)

4294404

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

4003901

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3(3-0-6)

4211601

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1(0-2-1)

 

เลือกเสรี 1

3(3-0-6)

 

วิชาโท 2

3(3-0-6)

รวม

18

ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

2(90)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

วิชาโท 3

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 4

3(3-0-6)

 

เลือกภาษาอังกฤษ

3(3-0-6)

 

เลือกเสรี 2

3(3-0-6)

รวม

17

ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

5(350)

รวม

5

 

ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

 

คณิตเลือก 5

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 6

3(3-0-6)

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

 

วิชาโท 4

3(3-0-6)

 

วิชาโท 5

3(3-0-6)

รวม

15

                17.4.2 แผนการศึกษาแบบเอก-เอก

ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

4291201

หลักการคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

4291401

แคลคูลัส 1

3(3-0-6)

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

 

เอกอื่น 1

3(2-2-5)

รวม

21

ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

4292402

แคลคูลัส 2

3(3-0-6)

4292601

พีชคณิตเชิงเส้น 1

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 2

3(2-2-5)

 

เอกอื่น 3

3(2-2-5)

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3(2 -2-5)

รวม

22

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

4293401

แคลคูลัส 3

3(3-0-6)

4291701

เทคนิคการเขียนโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

 

คณิตเลือก 1

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 4

3(3-0-6)

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3(3- 0-6)

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1(0-2-1)

รวม

22

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2(2-0-4)

4293402

สมการอนุพันธ์แบบสามัญ

3(3-0-6)

4293301

พีชคณิตนามธรรม 1

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 5

3(2-2-5)

4221101

เคมีทั่วไป

3(3-0-6)

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1(0-2-1)

รวม

22

ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294404

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

4003901

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

 

คณิตเลือก 2

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 6

3(2-2-5)

 

เอกอื่น 7

3(3-0-6)

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3(3-0-6)

4211601

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1(0-2-1)

 

เลือกเสรี 1

3(3-0-6)

รวม

22

ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

2(90)

 

คณิตเลือก 3

3(3-0-6)

 

คณิตเลือก 4

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 8

3(2-2-5)

 

เอกอื่น 9

3(3-0-6)

 

เลือกภาษาอังกฤษ

3(3-0-6)

 

เลือกเสรี 2

3(3-0-6)

รวม

20

ปีที่ 3 ภาคฤดูร้อน

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

4294802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

5(350)

รวม

5

ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 10

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 11

3(2-2-5)

 

คณิตเลือก 5

3(3-0-6)

 

รวม

12

ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต (ท-ป-อ)

 

คณิตเลือก 6

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 12

3(3-0-6)

 

เอกอื่น 13

3(2-2-5)

 

เอกอื่น 14

3(3-0-6)

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

รวม

15

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกนจำนวน 36หน่วยยกิต

รายวิชา 2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานวิทยาศาสตร์ จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มือการใช้เครื่องมือ การใช้อุปกรณ์ ฝึกการใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 2313701

ภาษาอังกฤษสำหรับมนุษย์ศาสตร์

3 (3-0-6)

English for Humanities

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดี มานุษยวิทยา วัฒนธรรม โบรานคดี เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Social Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่านน

รายวิชา 2313703

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปกรรม

3 (3-0-6)

 

English for Fine and Applied Arts

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี และการแสดง เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

English for Technology

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่านน

รายวิชา 2313705

ภาษาอังกฤษในงานวิศวกรรม

3 (3-0-6)

 

English for Engineering Work

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2313709

ภาษาอังกฤษสำหรับครู

3 (3-0-6)

 

English for Teachers

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด  ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านหลักสูตรการสอน นวัตกรรม การเรียนการสอน จิตวิทยา การวัดและการประเมินผล เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์  เช่น การรู้ศัพท์  การอ้างถึง  คำเชื่อม  ข้อความ  การจับใจความสำคัญ  เหตุและผล  ทัศนคติของผู้เขียน  และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Economics

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และกลไกทำงานของระบบราคา สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวันเพื่อการประกอบธุรกิจ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตลาด สถาบันการเงิน การภาษีอากร การค้า การลงทุน ปัญหาเศรษฐกิจและแนวทางการแก้ไขปัญหาา

รายวิชา 4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Research in Science

 

        ศึกษาความรู้พื้นฐานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการวางแผนการค้นคว้าข้อมูล การเขียนโครงการ วิจัย และการทำโครงการวิจัยแก้ปัญหาในท้องถิ่น อย่างน้อย 1 โครงการ โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลการทดลองหรือการค้นคว้า รวมทั้งวิธีการเขียนรายงานอย่างมีระเบียบ การเผยแพร่และการนำเสนอโครงการวิจัย

รายวิชา 4211101

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Physics

 

        การวัดและความแม่นยำในการวัด สเกลาร์และเวคเตอร์ การเคลื่อนที่ในลักษณะต่าง ๆ โมเมนตัมและกฎการเคลื่อนที่ แรงและผลของแรง งาน กำลัง และพลังงาน การเคลื่อนที่ฮาร์มอนิก การเคลื่อนที่แบบคลื่น คลื่นกล สมบัติของสสาร ปรากฏการณ์ความร้อน อุณหพลศาสตร์ โดยจัดให้มีการสาธิตและการทดลองตามความเหมาะสม

รายวิชา 4211102

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Physics Laboratory

 

        ปฏิบัติการเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ 1 ไม่น้อยกว่า 10 ปฏิบัติการ

รายวิชา 4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Chemistry

 

        ศึกษามวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้นคุณสมบัติของของแข็ง ของเหลว จลนพลศาสตร์เบื้องต้น (Kinetics) สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก เคมีนิวเคลียร์เบื้องต้น

รายวิชา 4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Chemistry Laboratory

 

        ปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคนิคเบื้องต้น และลักปฏิบัติทั่วไปในการปฏิบัติการเคมี การจัดสารเคมี เกรดของสาร และการใช้สารเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี เทคนิคการใช้เครื่องมือพื้นฐาน จลน์ศาสตร์ สมดุลเคมี pH ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดและเบส

รายวิชา 4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Biology

 

        ศึกษาสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเนื้อเยื่อ พลังงานในสิ่งมีชีวิต และการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ ชีวิตกับสภาพแวดล้อม การจัดจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิตและเทคโนโลยีทางชีวภาพ

รายวิชา 4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Biology Laboratory

 

        ปฏิบัติการเรื่องสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการแบ่งเซลล์เนื้อเยื่อ การสืบพันธุ์ การจำแนกสิ่งมีชีวิต การแลกเปลี่ยนสาร การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การทำงานของระบบต่าง ๆ ในสัตว์ ฮอร์โมนพืช และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

Calculus 1

 

        ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับลิมิตของฟังก์ชัน ฟังก์ชันต่อเนื่อง อนุพันธ์และหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันอดิศัย การประยุกต์อนุพันธ์ และอินทิกรัล

รายวิชา 4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

        ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ การนำเสนอสารสนเทศ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหรือเขียนโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เรียน

 

            3. วิชาเฉพาะด้านบังคับ จำนวน 37 หน่วยกิต

รายวิชา 4291201

หลักการคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

 

Principle of Mathematics

 

        ธรรมชาติและโครงสร้างคณิตศาสตร์ จำนวนจริง ตรรกศาสตร์ วิธีการพิสูจน์แบบต่าง ๆ เซต ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

รายวิชา 4291606

คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์

3(3-0-6)

 

Mathematics for Computer

 

        ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับตรรกศาสตร์ เซต ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ระบบเลขฐานต่าง ๆ โดยเฉพาะเลขฐาน 2, 8, 16 เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์ พีชคณิตบูลีน

รายวิชา 4291701

เทคนิคการเขียนโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

 

Programming Technique in Mathematics

 

        หลักการและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม อัลกอริทึม เครื่องมือการออกแบบโปรแกรม (ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน) คำสั่งและฟังก์ชันต่าง ๆ วิเคราะห์โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สามารถออกแบบโปรแกรมและเขียนโปรแกรม รวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานจริงได้

รายวิชา 4291702

การประมวลผลข้อมูลและแฟ้มข้อมูล

3(3-0-6)

 

Data and File Processing

 

        ความหมาย วิวัฒนาการและหลักการประมวลผลข้อมูล ชนิดและหน้าที่ของหน่วยความจำสำรอง การประมวลผลข้อมูล ลักษณะโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ ความหมาย ลักษณะและชนิดของแฟ้มข้อมูล เช่น SEQUENTIAL, RANDOM, INDEX, ISAM, MSAM, TREE, B-TREE, INVERTED การเข้าถึงข้อมูล การค้นหาและการจัดเก็บแฟ้มข้อมูล

รายวิชา 429220101

ระบบจำนวน

3(3-0-6)

 

Number System

 

        การสร้างระบบจำนวน จำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็ม สมบัติต่างๆของจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ จำนวนจริง และจำนวนเชิงซ้อน

รายวิชา 4292202

ตัวแบบทางคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

 

Mathematical Model

 

        ตัวแบบทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น ขั้นตอน เทคนิคในการสร้างตัวแบบ การวิเคราะห์ปัญหา การกำหนดนัยทั่วไป การตรวจสอบนัยทั่วไป การสรุปเป็นตัวแบบ การแปลความหมายของคำตอบ และการนำตัวแบบทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้กับปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในด้านต่าง ๆ

รายวิชา 429240101

แคลคูลัส 2

3(3-0-6)

 

Calculus 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4291401 Calculus 1

        ลำดับ อนุกรม อนุกรมกำลัง หลักเกณฑ์โลปิตาล อินทิกรัลจำกัดเขต เทคนิคการ อินทิเกรต การประยุกต์อินทิกรัลจำกัดเขต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ อนุพันธ์และอินทิกรัลของฟังก์ชันสองตัวแปร

รายวิชา 4292601

พีชคณิตเชิงเส้น 1

3(3-0-6)

 

Linear Algebra 1

 

        เมทริกซ์และการดำเนินการบนเมทริกซ์ ตัวกำหนด ระบบสมการเชิงเส้น ปริภูมิเวกเตอร์ ปริภูมิผลคูณภายใน การแปลงเชิงเส้นของปริภูมิเวกเตอร์ ค่าเจาะจง เวกเตอร์เจาะจง และการประยุกต์

รายวิชา 4292602

พีชคณิตเชิงเส้น 2

3(3-0-6)

 

Linear Algebra 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4292301 พีชคณิตเชิงเส้น 1

        พหุนามแบบบัญญัติ ปริภูมิฟังก์ชันเชิงเส้น รูปแบบเชิงเส้นคู่ รูปแบบกำลังสองและการประยุกต์

รายวิชา 4293101

ประวัติคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

 

History of Mathematics

 

        คณิตศาสตร์ว่าด้วยระบบจำนวนของชนชาติต่าง ๆ ก่อนศตวรรษที่ 17 ปรัชญาคณิตศาสตร์และแนวคิดบางประการเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ปัจจุบัน ประวัติและผลงานเด่น ๆ ของนักคณิตศาสตร์ที่สำคัญ ๆ ความเป็นมาของการศึกษาคณิตศาสตร์ในประเทศไทย

รายวิชา 429320101

ทฤษฎีเซต

3(3-0-6)

 

Set Theory

 

        การสร้างทฤษฎีเซตโดยอาศัยระบบสัจพจน์ สัจพจน์ของการเลือก เซตลำดับ จำนวนเชิงการนับ จำนวนอันดับที่

รายวิชา 4293301

พีชคณิตนามธรรม 1

3(3-0-6)

 

Abstract Algebra 1

 

        กลุ่ม วง อินทิกรัลโดเมน สนาม

รายวิชา 4293302

การสร้างต้นแบบและการจำลองสถานการณ์

3(2-2-5)

 

Modeling and Simulation

 

        การสร้างและการวิเคราะห์ต้นแบบเชิงคณิตศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง การสร้างต้นแบบและต้นแบบของปัญหา การหาคำตอบของปัญหา การจำลองสถานการณ์ การวิเคราะห์ผลลัพธ์

รายวิชา 4293303

คณิตศาสตร์เต็มหน่วย

3(3-0-6)

 

Discrete Mathematics

 

        การนับ ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด ทฤษฎีกราฟ การแทนกราฟด้วยเมทริกซ์ เมทริกซ์ต้นไม้ การแยกจำพวกข่ายงาน พีชคณิตบูลีน วงจรเชิงวิธีจัดหมู่ ออโตมาต้า ไวยากรณ์และภาษา ระบบพีชคณิตแบบโพเซต และแลตทิต

รายวิชา 429340101

แคลคูลัส 3

3(3-0-6)

 

Calculus 3

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4292401 Calculus 2

        อนุกรมอนันต์และการขยายฟังก์ชันหลายตัวแปรเป็นอนุกรมอนันต์ เส้นตรง ระนาบและพื้นผิวในปริภูมิสามมิติ เวกเตอร์ อนุพันธ์ย่อยและอินทิกรัลของฟังก์ชันหลายตัวแปรและการประยุกต์ และสมการเชิงอนุพันธ์เบื้องต้น

รายวิชา 4293402

สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

3(3-0-6)

 

Ordinary Differential Equations

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4292401 Calculus 2

        กำเนิดของสมการเชิงอนุพันธ์ สมการอันดับหนึ่งระดับขั้นหนึ่ง สมการอันดับหนึ่งระดับขั้นสูงกว่าหนึ่ง การประยุกต์สมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่ง ระดับขั้นหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นที่มีสัมประสิทธิ์เป็นค่าคงตัวและไม่เป็นค่าคงตัว ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ ผลการแปลงลาปลาซ

รายวิชา 429350101

รากฐานเรขาคณิต

3(3-0-6)

 

Foundation of Geometry

 

        พัฒนาการของเรขาคณิตยุคต่าง ๆ เรขาคณิตแบบยุคลิด เรขาคณิตการแปลง เรขาคณิตเชิงภาพฉาย เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด

รายวิชา 4293604

กำหนดการเชิงเส้น

3(3-0-6)

 

Linear Programming

 

        กำหนดการเชิงเส้น ปัญหากำหนดการเชิงเส้น ผลเฉลยโดยกราฟ ระเบียบวิธีซิมเพลกซ์ ปัญหาคู่เสมอกัน สภาพเสื่อมคลาย กำหนดการเชิงจำนวนเต็ม การประยุกต์ของกำหนดการเชิงเส้น เช่น ปัญหาการขนส่ง (Transportation Problem) ปัญหาการจัดงาน (Assignment Problem)

รายวิชา 4293605

คณิตศาสตร์ประกันภัย

3(3-0-6)

 

Actuarial Mathematics

 

        ทฤษฎีและหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประกันภัย ทฤษฎีความน่าจะเป็นของการประกันภัย ความหมายและลักษณะของการประกันชีวิตและการประกันภัยอื่น ๆ ความน่าจะเป็นของการมีชีวิตและการตาย การคิดดอกเบี้ย ตารางมรณะ ค่ารายปี การคำนวณค่าเบี้ยประกันแบบต่าง ๆ เงินสำรองประกันชีวิต

รายวิชา 4293606

ทฤษฎีเกม

3(3-0-6)

 

Game Theory

 

        นิยาม ยุทธวิธี สมดุล เกมผลบวกเป็นศูนย์ รูปแบบปกติ ทฤษฎีมินิแมกซ์ ยุทธวิธีที่ดีที่สุด เกมสมมาตร การใช้โปรแกรมเชิงเส้น ทฤษฎียูทิลิตี้ เกม n- คน เกมในรูปแบบที่กว้างขึ้น

รายวิชา 4293607

คณิตศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์กายภาพ

3(3-0-6)

 

Mathematics in Physical Science

 

        การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายการย้อมติดสีหิน ระบบขัดฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์ ระบบการหมักสาร เป็นต้น

รายวิชา 429360808

ทฤษฎีดอกเบี้ย

3(3-0-6)

 

Theory of Interests

 

        ดอกเบี้ยคงต้น ดอกเบี้ยทบต้น ส่วนลดและดอกเบี้ย ค่ารายปี ค่ารายงวด ส่วนประกอบค่ารายปี ตารางเงินผ่อนและกองทุนสะสม อัตราดอกเบี้ยที่เป็นจริง อัตราส่วนลดที่เป็นจริง อัตราดอกเบี้ยจากการลงทุน หุ้น พันธบัตร หลักทรัพย์ การชำระหนี้แบบต่าง ๆ การใช้คณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์ด้านการเงิน

รายวิชา 4293708

โปรแกรมสำเร็จรูปด้านคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

 

Programming Package for Mathematics

 

        การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ โดยยกตัวอย่างในการบรรยายและการฝึกปฏิบัติ รวมไปถึงการสร้างโปรแกรมโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปนั้น ๆ เพื่อหาผลเฉลยของปัญหา

รายวิชา 4293709

คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

 

Computer Assisted Instruction in Mathematics

 

        การนำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน การสร้างโปรแกรม หรือการนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาพัฒนาการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์

รายวิชา 4293901

โครงงานพิเศษ

3(2-2-5)

 

Special Project

 

        สำรวจและวิจัยในหัวข้อที่สนใจหรือเรื่องในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และเขียนรายงานทางวิชาการถึงที่มาและความสำคัญของเรื่องที่นำเสนอ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน และข้อสรุปที่ได้ โดยการเขียนรายงานและนำเสนอ

รายวิชา 4294201

ทฤษฎีจำนวน

3(3-0-6)

 

Theory of Numbers

 

        การหารลงตัว จำนวนเฉพาะ สมภาค ทฤษฎีบทส่วนตกค้างกำลังสอง สมการไดโอแฟนไทน์ ฟังก์ชันของออยเลอร์ สัญลักษณ์ของเลอจองด์ บทตั้งของเกาส์ สัญลักษณ์ของยาโคบี

รายวิชา 429420202

ตรรกศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

 

Mathematical Logic

 

        โครงสร้างคณิตศาสตร์ กฎแห่งการอ้างอิง ความสมเหตุสมผล การพิสูจน์

รายวิชา 4294301

พีชคณิตนามธรรม 2

3(3-0-6)

 

Abstract Algebra 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4293301 พีชคณิตนามธรรม 1 และ 4292301 พีชคณิตเชิงเส้น 1

        ไอดีล ยุคลิคเดียน โดเมน ริงพหุนาม ฟิลด์ภาคขยาย ความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีของกาลัวส์

รายวิชา 4294303

ทฤษฎีสมการ

3(3-0-6)

 

Theory of Equations

 

        สมการพหุนาม สมบัติของสัมประสิทธิ์และรากของสมการ สมการกำลังสอง สมการกำลังสาม สมการกำลังสี่ การประมาณรากสมการ

รายวิชา 4294401

สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย

3(3-0-6)

 

Partial Differential Equations

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4293402 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

        กำเนิดของสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการอันดับหนึ่ง สมการอันดับสอง สมการเชิงวงรี สมการเชิงไฮเพอร์โบลา สมการเชิงพาราโบลา สมการคลื่น สมการความร้อน อินทิกรัลของอนุพันธ์

รายวิชา 4294402

แคลคูลัสชั้นสูง

3(3-0-6)

 

Advanced Calculus

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4293401 Calculus 3

        อินทิกรัลตามเส้น อินทิกรัลตามผิว ฟังก์ชันแกมมาและบีตา ฟังก์ชันของกรีน อนุกรม ฟูริเยร์ ผลการแปลงฟูริเยร์ บทนำสู่แคลคูลัสของการแปรผัน

รายวิชา 4294403

การวิเคราะห์เวกเตอร์

3(3-0-6)

 

Vector Analysis

 

        พีชคณิตของเวกเตอร์ อนุพันธ์ของเวกเตอร์ อินทิกรัลของเวกเตอร์ พิกัดเชิงเส้นโค้ง และเทนเซอร์เบื้องต้น้น

รายวิชา 4294404

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3(3-0-6)

 

Mathematical Analysis

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4292401 แคลคูลัส 2

        ระบบจำนวนจริง ลิมิตของฟังก์ชันและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องเอกรูป ทฤษฎีอนุพันธ์และปริพันธ์ ลำดับและอนุกรมของจำนวนจริง การหาอินทิกรัลรีมันน์

รายวิชา 4294407

การวิเคราะห์เชิงตัวเลข

3(3-0-6)

 

Numerical Analysis

 

        ความผิดพลาดและผลของความผิดพลาด การหารากจริงของสมการแบบไม่เป็นเชิงเส้น การหารากของระบบสมการเชิงเส้น การหารากของระบบสมการแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง การประมาณค่าของฟังก์ชัน การหาอนุพันธ์เชิงตัวเลข และการอินทิเกรตเชิงตัวเลข

รายวิชา 4294408

การวิเคราะห์เชิงจริง

3(3-0-6)

 

Real Analysis

 

        อินทิกรัลรีมันน์ – สตีลต์เชส (The Riemann-Stieltjes integral ) ลำดับและอนุกรมของฟังก์ชัน ทฤษฎีของเลเบล์ก

รายวิชา 4294410

การวิเคราะห์เชิงซ้อน 1

3(3-0-6)

 

Complex Analysis 1

 

รายวิชาที่ต้องเรียนก่อน 4293401 แคลคูลัส 3

        จำนวนเชิงซ้อน การหาอนุพันธ์ การหาปริพันธ์ ทฤษฎีบทของโคซี สูตรปริพันธ์ของโคซี อนุกรรมของเทเลอร์ อนุกรมของโลรองต์ ส่วนตกค้าง การส่งคงแบบ และการประยุกต์

รายวิชา 4294430

การวิเคราะห์เชิงซ้อน 2

3(3-0-6)

 

Complex Analysis 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนก่อน 4294410 การวิเคราะห์เชิงซ้อน 1

        ฟังก์ชันวิเคราะห์ อนุกรมกำลัง การแปลงเมอบิอุส ปริพันธ์เชิงซ้อน ทฤษฎีโคซี สูตรของปริพันธ์โคซีและผลสืบเนื่อง แคลคูลัสของส่วนตกค้าง ฟังก์ชันฮาร์มอนิก

รายวิชา 4294501

เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด

3(3-0-6)

 

Non-Euclidean Geometry

 

        พัฒนาการเรขาคณิตนอกแบบยุคลิด เรขาคณิตไฮเพอร์โบลิก เรขาคณิตอิลลิปติก เรขาคณิตเชิงทรงกลม ความไม่ต้องกันของเรขาคณิตนอกแบบยุคลิด

รายวิชา 4294502

เรขาคณิตเชิงภาพฉาย

3(3-0-6)

 

Projective Geometry

 

        มโนภาพเบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตเชิงภาพฉาย ภาวะคู่กัน (dual) ความสัมพันธ์ ฮาร์มอร์นิก ภาคตัดกรวย ทฤษฎีบทปาสคาลและบริอองซองขั้วและเชิงขั้ว พื้นที่ผิวกำลังสอง เรขาคณิตอิงระยะทาง

รายวิชา 4294503

เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์

3 (3-0-6)

 

Differential Geometry

 

รายวิชาที่ต้องเรียนก่อน : 4293402 สมการอนุพันธ์สามัญ

        ทฤษฎีเส้นโค้งและผิว โดยวิธีสมการเชิงอนุพันธ์

รายวิชา 4294504

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Graph Theory

 

        จุดกำเนิดของทฤษฎีกราฟ กราฟต้นไม้ ออยเลอร์เลียน ฮามิลโทเนียนกราฟ พลานาลิตี้ ภาวะคู่กัน การระบายสีกราฟ ไดกราฟ และแมทซิ่ง

รายวิชา 4294505

ทอพอโลยีเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Topology

 

รายวิชาที่ต้องเรียนก่อน 4293401 แคลคูลัส 3

        ย่านใกล้เคียง เซตเปิด เซตปิด ภายใน ขอบ ลิมิตของเซต ลิมิตของลำดับ ลำดับโคชี ลิมิตของฟังก์ชัน ภาวะต่อเนื่อง ภาวะต่อเนื่องในปริภูมิเมทริกซ์ สมบัติบางประการของฟังก์ชันต่อเนื่อง ความต่อเนื่องเอกรูป ปริภูมิย่านใกล้เคียง ปริภูมิทอพอโลยี ความสมมูลเชิงทอพอโลยี

รายวิชา 4294506

ทอพอโลยี

3(3-0-6)

 

Topology

 

รายวิชาที่ต้องเรียนก่อน 4294505 ทอพอโลยีเบื้องต้น

        มโนภาพเชิงทอพอโลยีพื้นฐาน เส้นและระนาบของทอพอโลยี ปริภูมิเชิงทอพอโลยี ฐานและฐานย่อยของทอพอโลยี ภาวะต่อนื่องและการสมมูลเชิงทอพอโลยี สมานสัณฐานและยืนยงเชิงทอพอโลยี ปริภูมิอิงระยะทาง

รายวิชา 4294603

ทฤษฎีรหัส

3(3-0-6)

 

Coding Theory

 

        รหัส ความคลาดเคลื่อน อัตราเร็วของข่าวสาร ความเชื่อถือได้ พีชคณิตบนรหัส รหัสเชิงเส้น การใช้เมทริกซ์ในรหัสเชิงเส้น แมกซิมัมไลลิฮูดสำหรับรหัสเชิงเส้น ขอบเขตของรหัส รหัสสมบูรณ์ รหัสชามมิง รหัสขยาย รหัสโกเลย์ รหัสไซคลิก

รายวิชา 4294604

ทฤษฎีออพทิไมเซชันและการประยุกต์

3(3-0-6)

 

Optimization Theory and Applications

 

        ออพทิไมเซชันของฟังก์ชันตัวแปรเดียวและหลายตัวแปร ทฤษฎี และเทคนิคการแก้ปัญหาในโปรแกรมเชิงเส้นและโปรแกรมไม่เป็นเชิงเส้น ตัวอย่างออพทิไมเซชันและการประยุกต์

รายวิชา 4294605

ทฤษฎีควบคุม

3(3-0-6)

 

Control Theory

 

        ทฤษฎีที่ใช้ในการควบคุมผลระบบต่าง ๆ ได้แก่ ระบบกลศาสตร์ ระบบเคมี และระบบไฟฟ้า การจำลองเลียนแบบระบบเหล่านี้ เทคนิคการแก้ปัญหา และการเปลี่ยนระบบ การวิเคราะห์เสถียรภาพ ผลตอบสนองความถี่

รายวิชา 4294801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

2(90)

 

Preparation for Professional Experience in Mathematics

 

        จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพใด ด้านการรับรู้ลักษณะ และโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาด้านผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพ

รายวิชา 4294802

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพคณิตศาสตร์

5(350)

 

Field Experience in Mathematics

 

        ให้ทำการฝึกงานที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ สถิติ หรือคอมพิวเตอร์กับหน่วยงานของรัฐบาล หรือเอกชน

รายวิชา 4294901

สัมมนาคณิตศาสตร์

3(2-3-4)

 

Seminar in Mathematics

 

        สัมมนาในเรื่องที่นักศึกษาสนใจหรือให้สอดคล้องกับท้องถิ่น ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน

รายวิชา 4294902

การศึกษาส่วนบุคคล

3(1-4-4)

 

Individual Study

 

        เรื่องพิเศษทางคณิตศาสตร์ที่กำลังเป็นที่สนใจร่วมกันระหว่างนักศึกษาและอาจารย์

รายวิชา 4302101

สถิติวิเคราะห์ 1

3(3-0-6)

 

Statistical Analysis 1

 

        การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เปอร์เซ็นต์ไทล์ เดไซล์ และควอไทล์ การกระจาย ความเบ้ ความโด่ง ความน่าจะเป็น การแจกแจง ความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มแบบไม่ต่อเนื่องและแบบต่อเนื่อง ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม ความแปรปรวนและความเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงทวินาม การแจกแจงปัวซอง การ แจกแจงไฮเพอร์จีออเมตริก การแจกแจงปกติ การแจกแจงแบบที การแจกแจงไคกำลังสอง การ แจกแจงแบบเอฟ ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง ทฤษฎีการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย สัดส่วน และความแปรปรวนของประชากรหนึ่งกลุ่มและสองกลุ่ม

รายวิชา 4302102

สถิติวิเคราะห์ 2

3(3-0-6)

 

Statistical Analysis 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4302101 สถิติวิเคราะห์ 1

        การทดสอบไคกำลังสอง การทดสอบแบบเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนชนิดทางเดียวและสองทาง การเปรียบเทียบพหุคูณ การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ สถิติแบบนอนพาราเมตริกเบื้องต้น เลขดรรชนีและอนุกรมเวลาเบื้องต้น

รายวิชา 4302201

ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Probability and Statistics

 

        ความหมาย ขอบเขต และประโยชน์ของสถิติ ระเบียบวิธีการทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การจัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เปอร์เซนต์ไทล์ เดไซล์ และควอไทล์ การวัดการกระจาย ความเบ้ ความโด่ง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น ค่าคาดหมาย และความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและแบบต่อเนื่อง ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง ทฤษฎีการประมาณค่าและการทดสอบสมมุติฐาน เกี่ยวกับค่าเฉลี่ย สัดส่วน และความแปรปรวนของประชากรหนึ่งกลุ่มและสองกลุ่ม

รายวิชา 4302202

สถิติเชิงคณิตศาสตร์ 1

3(3-0-6)

 

Mathematical Statistics 1

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4292401 แคลคูลัส 2

        ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นร่วม การแจกแจงความน่าจะเป็นมาร์จินัล การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มอิสระ ค่าคาดหวังและความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม โมเมนต์และฟังก์ชันบังเกิดโมเมนต์ โมเมนต์ร่วมและฟังก์ชันบังเกิดโมเมนต์ร่วม ทฤษฎีบทเชบีเชฟ การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรไม่ต่อเนื่อง การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรแบบต่อเนื่อง การแปลงตัวแปร

รายวิชา 4302203

สถิติเชิงคณิตศาสตร์ 2

3(3-0-6)

 

Mathematical Statistics 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4302202 สถิติเชิงคณิตศาสตร์ 1

        ทฤษฎีตัวอย่างสุ่ม การแจกแจงของตัวสถิติที่มีจากประชากรปกติ ทฤษฎีลิมิต การอนุมานเชิงสถิติ การประมาณค่าแบบจุด ตัวประมาณค่าที่ดี (ความไม่เอนเอียง มีประสิทธิภาพ มีความแนบนัย และมีความเพียงพอ) การหาตัวประมาณค่าโดยวิธีโมเมนต์ วิธีอัตราส่วนภาวะความน่าจะเป็นสูงสุด วิธีกำลังสองน้อยที่สุด และวิธีของเบย์ ทฤษฎีการทดสอบสมมติฐานของนีย์แมนและเพียร์สัน การทดสอบที่มีอำนาจสูงสุด การทดสอบอัตราส่วนภาวะน่าจะเป็น และการทดสอบไคกำลังสอง

รายวิชา 4303301

การวิเคราะห์ถดถอย

3(3-0-6)

 

Regression Analysis

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4302102 สถิติวิเคราะห์ 2

        ตัวแบบการถดถอยเชิงเส้น และข้อสมมุติที่เกี่ยวข้อง สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การประมาณค่าพารามิเตอร์ของสัมประสิทธิ์การถดถอย การพยากรณ์ การทดสอบสมมติฐานของสัมประสิทธิ์การถดถอย การตรวจสอบความเหมาะสมของตัวแบบการถดถอย การพัฒนาตัวแบบ การเปรียบเทียบตัวแบบของสมการถดถอยที่ไม่ใช่เชิงเส้น การประมาณค่าพารามิเตอร์ของสมการถดถอยที่ไม่ใช่เชิงเส้น ความหมายของสัมประสิทธิ์การถดถอย การทดสอบสมการถดถอยที่ไม่ใช่ เชิงเส้นโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน

รายวิชา 4303302

สถิตินอนพาราเมตริก

3(3-0-6)

 

Nonparametric Statistics

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4302102 สถิติวิเคราะห์ 2

        การทดสอบสมมติฐานในกรณีตัวอย่างกลุ่มเดียว ตัวอย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน ตัวอย่างมากกว่าสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ตัวอย่างมากกว่าสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน การวัดความสัมพันธ์และการทดสอบความมีนัยสำคัญโดยใช้สถิตินอนพาราเมตริก

รายวิชา 4303303

การวิเคราะห์อนุกรมเวลา

3(3-0-6)

 

Time Series Analysis

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4302102 สถิติวิเคราะห์ 2

        ตัวแบบอนุกรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม การแยกส่วนประกอบ เทคนิคการปรับให้เรียบ การวิเคราะห์ความผันแปรตามฤดูกาล การวิเคราะห์ความผันแปรตามวัฏจักร ความผันแปรที่ไม่สม่ำเสมอ การถดถอยที่ใช้ข้อมูลอนุกรมเวลา การพยากรณ์โดยใช้วิธี Box และ Jenkins การพยากรณ์โดยใช้อนุกรมเวลา และการตรวจสอบการพยากรณ์

รายวิชา 4303501

การวิจัยดำเนินงาน 1

3(3-0-6)

 

Operation Research 1

 

        ตัวแบบการวิจัยดำเนินงาน กำหนดการเชิงเส้น ปัญหาควบคู่ การวิเคราะห์ความไว ปัญหาการขนส่ง ปัญหาการจัดงาน การตัดสินใจและทฤษฎีเกม

รายวิชา 4303502

การวิจัยดำเนินงาน 2

3(3-0-6)

 

Operation Research 2

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน วิชา 4303501 การวิจัยดำเนินงาน 1

        การวิเคราะห์ข่ายงาน CPM และ PERT ตัวแบบสินค้าคงคลัง ตัวแบบแถวคอย การจำลองปัญหา และกำหนดการไดนามิค

รายวิชา 4304301

การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ

3(3-0-6)

 

Statistical Quality Control

 

รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 4302101 สถิติวิเคราะห์ 1

        หลักการของการควบคุมคุณภาพ การสร้างคุณภาพ แผนภูมิควบคุมตัวแปร แผนภูมิควบคุมลักษณะ เทคนิคการควบคุมคุณภาพอื่น ๆ การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับตัวแปร การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับลักษณะ วิธีสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับอื่นๆ และระบบควบคุมคุณภาพ ISO

รายวิชา 4304308

การวิจัยเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Principle of Research

 

        ความหมายของการวิจัย การวางแผนและวิธีการวิจัยเบื้องต้น วิธีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การสร้างและการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การสุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย และการประเมินผลการวิจัย

รายวิชา 4311401

ระบบปฏิบัติการ

3(2-2-5)

 

Operating Systems

 

        ศึกษาหลักการพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ ชนิดของระบบดำเนินงาน ขบวนการ การโปรแกรมขนาน การติดต่อแบบได้จังหวะ บริเวณวิกฤต ซีมาฟอร์ ล็อคถาวร ระบบการจัดแฟ้มข้อมูล การป้องกันทรัพยากร หน่วยความจำโดยตรง หน่วยความจำแคชและหน่วยความจำเสมือน

รายวิชา 4311402

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3(2-2-5)

 

Data Communications and Computer Networks

 

        ศึกษาทฤษฏีและเทคโนโลยีที่สำคัญของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย การส่งข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูลและการควบคุมความผิดพลาด อุปกรณ์ทางด้านการสื่อสาร สื่อกลาง มาตรฐานระบบเปิด พื้นฐานอินเตอร์เน็ทและทีซีพี/ไอพีโปรโตคอล เทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะใกล้และระยะไกล

รายวิชา 4312201

ระบบฐานข้อมูล

3(2-2-5)

 

Database System

 

        ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล เป้าหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล ความไม่พึ่งพิงของข้อมูลบูรณภาพและความเชื่อถือได้ การจัดองค์การเชิงตรรกะและเชิงกายภาพ เค้าร่างและเค้าร่างย่อย ตัวแบบข้อมูลเชิงลำดับชั้น เชิงข่ายงาน และเชิงสัมพันธ์ บรรทัดฐานข้อมูล ภาษานิยามข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การจัดแฟ้มข้อมูล ความปลอดภัยของแฟ้มข้อมูล ระบบการสำรอง ข้อมูลและการเรียกคืน การวิเคราะห์ออกแบบข้อมูล การบริหารฐานข้อมูล

รายวิชา 4313401

โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม

3(2-2-5)

 

Data Structure and Algorithm

 

        ศึกษาโครงสร้างการเก็บข้อมูลแบบ แสตก คิว ลิงค์ลิส ทรี กราฟ ตารางแฮช เทคนิคการจัดเรียง และ การค้นหาข้อมูล การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม หลักพื้นฐานการจัดการหน่วยความจำ

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

            18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

            18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

            18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

            18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***********************

 

ภาคผนวก

 

ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรปรับปรุง

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์

คงเดิม

จัดเป็น 3 แบบ คือ เอก - เดี่ยว, เอก - โท และ เอก - เอก

2

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์)

คงเดิม

ไม่มีการปรับปรุง

3

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

3 ข้อ

4 ข้อ

ปรับปรุงใหม่ให้เหมาะสม

5

หลักสูตร

ไม่มีข้อกำหนดรายวิชาคอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ

เรียนคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 5 นก. เรียนภาษาอังกฤษ
อย่างน้อย 12 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 น.ก.
และหมวดวิชาเฉพาะ 6 น.ก.

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 143 หน่วยกิต

เอกเดี่ยวไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต
เอก-โท ไม่น้อยกว่า 134 หน่วยกิต
เอก-เอก ไม่น้อยกว่า 161 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

    (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

    (2) หมวดวิชาเฉพาะ

100 หน่วยกิต

เอกเดี่ยว91 นก.,เอก-โท97 นก,.เอก-เอก124 นก .

 

         2.1 วิชาแกน

12 หน่วยกิต

33 หน่วยกิต

 

         2.2 วิชาเฉพาะด้าน

66 หน่วยกิต

เอกเดี่ยว 54 นก., เอก-โท 42 นก., เอกคู่ 42 นก.

 

         2.3 วิชาโท/วิชาเอกอื่น

ไม่มี

เอกเดี่ยว – นก.,เอก-โท 15นก.,เอก-เอก 42 นก.

 

         2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

7 หน่วยกิต

คงเดิม

         2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

    (2) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลข 7 หลัก จัดเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมมี 68 รายวิชา

มี 69 รายวิชา
ปรับปรุง คำอธิบายใหม่ 67 รายวิชา

ตัดออก 1 รายวิชา
เพิ่มใหม่ 2 รายวิชา

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ไม่ระบุ

5 คน

 

 

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาคณิตศาสตร์

 

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

 

 

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์