หลักสูตรศิลปบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

งบประมาณ

15

หลักสูตร
  15.1 จำนวนหน่วยกิตรวม
  15.2 โครงสร้างหลักสูตร
  15.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

16

แผนการศึกษา

17

คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

ภาคผนวก
  ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
(หลักสูตรนานาชาติ)
  คำวิพากษ์หลักสูตรและการปฏิบัติ
  คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
(หลักสูตรนานาชาติ)

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
(หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2549

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in English for Business Communication (International Program)

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ) (หลักสูตรนานาชาติ) 
  Bachelor of Arts (English for Business Communication) (International Program )
ชื่อย่อ : ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ)
  B.A. (English for Business Communication)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์เฉพาะของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญา

                หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) มุ่งความเป็นเลิศในการผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น

        4.2 วัตถุประสงค์เฉพาะของหลักสูตร : เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะดังนี้

                1. เป็นผู้ที่มีความสามารถพัฒนาความเชื่อมั่นและความชัดเจนในการนำทักษะภาษาอังกฤษไปใช้ในการสื่อสาร
                2. เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถที่จะเรียนและนำความรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็นไปใช้ในสาขาวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมในโลกของธุรกิจ
                3. เป็นผู้ที่สามารถพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และความคิดเชิงวิจารณ์ในการพัฒนางานในวิชาชีพทางธุรกิจ ทั้งภาครัฐและเอกชน
                4. เป็นผู้ที่สามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างอิสระ และด้วยความพร้อมที่จะเรียนรู้ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยจิตสำนึกของตัวเองตลอดชีวิต
                5. เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการศึกษาต่อไปในระดับที่สูงขึ้นด้วยความเชื่อมั่นที่จะประสบผลสำเร็จ

5. กำหนดการเปิดสอน

        ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าจากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และหรือเป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับของการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ผู้เข้าศึกษาเป็นนักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติ

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        คัดเลือกผู้เข้าศึกษาตามเกณฑ์การคัดเลือกการเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และวิธีการการรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

8. ระบบการศึกษา

        จัดการศึกษาเป็นแบบระบบทวิภาค ภาคการศึกษาละ 15 สัปดาห์ การคิดหน่วยกิตรายวิชาทฤษฎี 1 หน่วยกิตเท่ากับ 1 ชั่วโมง โดยมีการคิดหน่วยกิตภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และการฝึกงานตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548

9. ระยะเวลาการศึกษา

        หลักสูตร 4 ปีการศึกษาแบบเต็มเวลา ศึกษาได้ไม่เกิน 8 ปีการศึกษา และสำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 6 ภาคการศึกษาปกติ

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนได้ภาคการศึกษาปกติละ 9 - 22 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิ

ตำแหน่ง/วิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ / ประสบการณ์

1

น.ส.ดิศราวรรณ เลิศลาย

    -  กศ.บ (ภาษาอังกฤษ) เกียรตินิยมอันดับ 2
    -  ศศ.ม.(การสอนภาษาอังกฤษ)
    -  Dip TEFL (ทุนรัฐบาลประเทศออสเตรเลีย)
    -  MA (Applied Linguistics) Second Class Honors
       (ทุนรัฐบาลประเทศนิวซีแลนด์)

 หัวหน้าผู้ประสานงาน โครงการจัดการสอนหลัก สูตรนานาชาติ โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ

วิชาที่สอน

    1. Public Speaking in English
    2. Argumentation, Negotiation and Persuasion Technique
    3. Debate & Discussion
    4. English for Standardized Test 1,2
    5. English for Job Application

    1. เอกสารประกอบการ สอน 4 เล่ม
    2. ตำรา 2 เล่ม
    3. บทความทางวิชาการ 13 เรื่อง

2

นางดาเรศ นฤมล

    -  กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
    -  กศ.ม.(ภาษาศาสตร์การศึกษา)
    -  Dip in Applied Linguistics

ผู้อำนวยการศูนย์ภาษา

วิชาที่สอน

    1. Introduction to Linguistics
    2. English Phonetics and Syntax
    3. ภาษาอังกฤษพื้นฐาน
    4. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
    5. ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

    1. เอกสารประกอบการ สอน 3 เล่ม
    2. ตำรา 3 เล่ม
    3. บทความทางวิชาการ 15 เรื่อง

3

ดร.จุฑาภรณ์ เจิมขุนทด

    -  กศ.บ. ( ภาษาอังกฤษ )
    -  M.A ( English Education )
    -  Cert. in Co – Operative Learning
    -  Cert. in Teaching Literature
    -  Cert. in Curriculum Development
    -  Cert. in Research Supervision
    -  Ph.D. ( Comparative Literature )

วิชาที่สอน

    1. Literature Appreciation
    2. English for Thai Studies
    3. English for Mass Media
    4. English for Tourism and Hotel Management
    5. English for Job Application

 

     1. เอกสารประกอบการสอน 3 เล่ม
     2. ตำรา 3 เล่ม 3
.    3. บทความทางวิชาการ 15เรื่อง

4

ว่าที่ ร.ท.สำราญ จันทร์ทอง

    -  กศ.บ (ภาษาอังกฤษ)
    -  Dip in TESL
    -  Dip in Applied Linguistics
    -  Cert. in Teacher Training Program
    -  ศศ.ม (ภาษาอังกฤษ)

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    1. English for Media
    2. English Reading Strategies
    3. Critical Reading in English
    4. ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้
    5. การพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ

    1. เอกสารประกอบการ สอน 3 เล่ม
    2. ตำรา 1 เล่ม
    3. บทความทางวิชาการ 12 เรื่อง

5

Mr.Luke Dillon

    -  B.A. (English Literature)
    -  TESOL Certificate

วิชาที่สอน

    1. Literature Appreciation
    2. English for Thai Studies
    3. English for Mass Media
    4. English for Tourism and Hotel Management
    5. English for Job Application

 

6

ผศ.สุภาพร พรพิบูลย์

    -  อ.บ. (ภาษาอังกฤษ- ภาษาฝรั่งเศส )
    -  ค.บ. (ภาษาอังกฤษ)
    -  ค.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ)
    -  Dip. TEFL
    -  Cert. in Contemporary English Usage & Practice
    -  Cert. in American Studies
    -  Cert. in Secondary School Educator
    -  Cert. in Reading at the Primary Level
    -  Cert. in Business French

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกียรติคุณ ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์

    1. เอกสารประกอบการ สอน 4 เล่ม
    2. ตำรา 2 เล่ม
    3. บทความทางวิชาการ 10 เรื่อง

        12.2. อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิ

ตำแหน่ง/วิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ / ประสบการณ์

1

ผศ.เสาวดี ธนวิภาคะนนท์

    -  กศ.บ ( ภาษาไทย )
    -  ค.ม. ( การสอนภาษาไทย )

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ตำแหน่งบริหาร

    -  คณบดีคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

วิชาที่สอน

    1. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
    2. ภาษาไทยเพื่อการค้นคว้า
    3. การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

    1. เอกสารวรรณกรรมศึกษา
    2. บทความเรื่อง สำนวนไทย

2

ผศ.พรทิพย์ ชูศักดิ์

    -  อ.บ. ( ภาษาอังกฤษ )

    -  อ.ม. ( ปรัชญาและศาสนา)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  บัณฑิตอุดมคติไทย

    1. เอกสารประกอบการ สอน 2 เล่ม
    2. ตำรา 2 เล่ม
    3. บทความทางวิชาการ 2 เล่ม

3

นายถุงเงิน ปานสำลี

    -  กศ.บ. ( ฟิสิกส์-คณิตศาสตร์ )
    -  กศ.ม. ( ฟิสิกส์ )

ตำแหน่งบริหาร

    -  รองอธิการบดีฝ่ายกิจกรรมพิเศษ มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครสวรรค์

วิชาที่สอน

    1. การใช้สารสนเทศ
    2. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
    3. คอมพิวเตอร์เพื่อการอาชีพ

    1. เอกสารประกอบการ สอน 3 เล่ม
    2. ตำรา 3 เล่ม
    3. บทความทางวิชาการ 2 เล่ม

4

ดร.สุภาวรรณ วงศ์คำจันทร์

    -  ศษ.บ. ( ชีววิทยา )
    -  วท.ม. ( ชีววิทยา )
    -  วท.ด. ( ชีววิทยา )

ตำแหน่งบริหาร

    -  รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาที่สอน

    1. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
    2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

 

5

ดร.สาวิตรี เพชรช่วย

    -  วท.บ. ( Polymer )
    -  วท.ม. ( Polymer )
    -  Ph.D. (Polymer Science and Technology)

ตำแหน่งบริหาร

    - ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์

วิชาที่สอน

    1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม
    2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

 

6

นางกันยา กาวิน

    -  วท.บ. ( ชีววิทยา )
    -  วท.ม. ( สัตววิทยา )

ตำแหน่งบริหาร

    -  อาจารย์ประจำสังกัดภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาที่สอน

    1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม
    2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

 

7

ดร.สนั่น กัลปา

    -  พธ.บ. ( เกียรตินิยม อันดับ 2 )
    -  M.A. ( Political Science )
    -  Ph.D. ( Political Science )

ตำแหน่งบริหาร

    -  อาจารย์สังกัดภาควิชาพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

วิชาที่สอน

    1. วิถีไทย
    2. วิถีโลก
    3. บริบททางสังคมกับการเรียนรู้

 

8

รศ.เฉลี่ย พิมพันธุ์

    -  กศ.บ. ( พลานามัย )
    -  ค.ม. ( พลศึกษา )

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  รองศาสตราจารย์
    -  อาจารย์ประจำสังกัดภาควิชาพลศึกษา และนันทนาการ คณะครุศาสตร์

วิชาที่สอน

    1. กีฬาและนันทนาการ
    2. สุขภาพเพื่อชีวิต

    1. เอกสารคำสอน 3 เรื่อง
    2. ตำรา 3 เรื่อง
    3. งานวิจัย 1 เรื่อง

9

รศ.สมเกียรติ เนตรประเสริฐ

    -  กศ.บ. ( พลานามัย )
    -  M.S. PE. ( Recreation )

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -   รองศาสตราจารย์ อาจารย์ประจำสังกัดภาควิชา พลศึกษาและนันทนาการ คณะครุศาสตร์

วิชาที่สอน

    1. สุขภาพเพื่อชีวิต
    2. กีฬาและนันทนาการ

    1. เอกสารคำสอน 2 เรื่อง
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง
    3. ตำรา 2 เรื่อง

10

ผศ.สุนทรสวัสติ์ เค้าศรีวงษ์

    -  กศ.บ. ( พลานามัย ),
    -  M.A.T. (Physical Education)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์
    -  อาจารย์ประจำสังกัดภาควิชาพลศึกษา และนันทนาการ คณะครุศาสตร์

วิชาที่สอน

    1. สุขภาพเพื่อชีวิต
    2. กีฬาและนันทนาการ

    1. เอกสารคำสอน 2 เรื่อง
    2. งานวิจัย 2 เรื่อง
    3. ตำรา 1 เรื่อง

11

นางสาวฉัทท์ศิญา รุ่งรังษี

    -  อ.บ. ( ภาษาจีน )
    -  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  กศ.ม. ( จิตวิทยาการศึกษา ) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  พนักงานมหาวิทยาลัย สังกัดภาควิชา
    -  จิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์

วิชาที่สอน

    1. Chinese Grammar
    2. Chinese 1
    3. Chinese 2
    4. Chinese Reading Skill
    5. Chinese Writing Skill

 

        12.3 อาจารย์พิเศษ ( ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัย )

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิ

ตำแหน่ง/วิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ / ประสบการณ์

1

Ms.Chen Manhuan

    -  ศศ.บ. ( ภาษาอังกฤษ ) วิทยาลัยครู นครสวรรค์
    -  ผู้เชี่ยวชาญในการสอนภาษาจีนให้กับ นักเรียนไทย ณ. สมาคมฮากกา,
       จังหวัด นครสวรรค์
    -  อดีตนักศึกษาทุน UNESCO เดินทางจาก ประเทศจีนมาศึกษาระดับ
       ปริญญาตรี โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ (ศศ.บ.) ณ วิทยาลัยครูนครสวรรค์

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    1. ภาษาจีน 1
    2. ภาษาจีน 2
    3. หลักภาษาจีน
    4. วัฒนธรรมจีน

 

2

นายปิติ อุตกฤษฏานนท์

    -  พ.บ. ( พาณิชยศาสตร์บัณฑิต ) มหาวิทยาลัธรรมศาสตร์
    -  ประกาศนียบัตรภาษาจีน จากมหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรม ปักกิ่ง
       ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    1. ภาษาจีน 1
    2. ภาษาจีน 2
    3. หลักภาษาจีน
    4. วัฒนธรรมจีน
    5. การเขียนภาษาจีน

 

3

นายราชัน อินทัศน์

    -  ศศ.บ. ( ภาษาจีน ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    1. การฟัง-พูดภาษาจีน 1
    2. ภาษาจีนเพื่อการธุรกิจ
    3. ภาษาจีนเพื่องานเลขานุการ
    4. ภาษาจีนเพื่อการโรงแรม
    5. ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว

 

4

Ms.Sun Yuhua

    -  B.Ed. ( Chinese )
    -  Suntong Teacher’s College.,R.P China

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    -  วัฒนธรรมจีน
    -  หลักภาษาจีน

 

5

นายพรสวัสดิ์ วิมลอนันต์

    -  วท.บ. ( เคมีอุตสาหกรรม ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  M.A. ( International Business with Merit ) The University of
       Wollongong

ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    -  Computer Programming for Business
    -  Documentation Secretarial Techniques and Office Management

 

6

นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร

    -  วท.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเจ้าเกล้า
       ( วิทยาเขตลาดกระบัง )
    -  M.A. (Business Administration) The University of Toledo,
       Ohio, U.S.A.

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

    -  รองประธานหอการค้าจังหวัดนครสวรรค์ ( ฝ่ายการต่างประเทศ )

วิชาที่สอน

    -  Commercial Correspondence & Presentation Skill
    -  Secretarial Techniques and Office Management

 

7

นายอุเทน จิตสุทธิภากร

    -  ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัย เชียงใหม่
    -  M.Sc. (International Administration), Central Michigan University,
       Michigan, U.S.A

ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัย

    -  ผู้จัดการบริษัท เดชชัยรับเบอร์ จำกัด

วิชาที่สอน

    -  English for Advertising and Sales Promotion
    -  English for Importing and Exporting

 

8

นายเกรียงศักดิ์ ชีวสิทธิรุ่งเรือง

    -  ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  M.Sc (Agriculture & Applied Economics) The University of
       Wisconsin , Riverfall, Wisconsin , U.S.A.

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    -  English for Business and Technology 1
    -  English for Business and Technology 2

 

9

Ms.Noemi D. Bolanos

    -  Higher Certificate in Hotel & Restaurant
    -  Management, Tanchuling Colleges, Imperial Court Subd.,
       Legazpi City 4500 , Philippines

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    -  Personality Development for Career
    -  English for Restaurant Management
    -  English for Tourism and Hotel Management

 

10

Mr.Francis Leslie Stephenson

    -  B.A. ( Business Accounting ), Nepean College of Advanced
       Education, Australia

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    -  English for Business Communication
    -  Secretarial Techniques and Office Management
    -  Academic Writing

 

11

Ms. Shi Yi

    -  B.Ed. ( Teaching Chinese for foreigners )
    -  Guangxi University for Nationalities , P.R.China

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

    -  อาจารย์พิเศษ ( ประเภทอัตราจ้างชาวจีน ) สังกัดภาควิชาภาษาต่างประเทศ

วิชาที่สอน

    1. การอ่านภาษาจีน
    2. การเขียนภาษาจีน
    3. จิตรกรรมจีน
    4. นาฏศิลป์และระบำพื้นเมืองจีน

 

12

Ms.Megumi Hirayama

    -  B.A. (Economics) Kyoto-Sangyo University, Cert. in Teaching
       Japanese as a Foreign Language , Tokyo Legal Mind Co.Ltd.,
    -  Cert. in English Language Courses, World Wide School of English ,
       Auckland , New Zealand

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

    -  Basic Japanese 1
    -  Basic Japanese 2
    -  Japanese for Tourism 1
    -  Japanese for Tourism 2

 

13. จำนวนนักศึกษา

นักศึกษา

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

20

20

20

20

20

ชั้นปีที่ 2

-

20

20

20

20

ชั้นปีที่ 3

-

-

20

20

20

ชั้นปีที่ 4

-

-

 

20

20

รวม

20

40

60

80

80

บัณฑิตที่คาดว่าจะจบการศึกษา

-

-

-

20

20

14. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ

2549

2550

2551

2552

2553

งบดำเนินการ

    - ค่าตอบแทน

    - ค่าใช้สอย

    - ค่าวัสดุ

856,300

30,000

20,000

856,300

30,000

20,000

856,300

30,000

20,000

856,300

30,000

20,000

856,300

30,000

20,000

 

906,300

906,300

906,300

906,300

906,300

งบลงทุน

    - ค่าครุภัณฑ์

    - ค่าที่ดิน

 

200,000

 

 

200,000

 

 

200,000

 

 

200,000

 

 

200,000

 

รวมงบลงทุน

200,000

200,000

200,000

200,000

200,000

รวมทั้งหมด

1106,300

1106,300

1106,300

1106,300

1106,300

        * หมายเหตุ : เป็นงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเป็นรายปีจากมหาวิทยาลัย

15. หลักสูตร

        15.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

                 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 130 หน่วยกิต

        15.2 โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

    1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

    2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

    3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

    4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

93

    1. วิชาแกน

36

    2. วิชาเอก

30

    3. วิชาโท

20

    4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

7

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

130

        15.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 93 หน่วยกิต

            1. วิชาแกน จำนวน 36 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3(3-0-6)

 

English for Learning

 

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่อการอาชีพ

3(2-2-5)

 

Computer for Career

 

2311102

Listening & Speaking 1

3(2-2-5)

 

การฟังและการพูด 1

 

2311401

Background in English and Chinese Culture

3(3-0-6)

 

ภูมิหลังด้านวัฒนธรรมอังกฤษและจีน

 

2311402

Cross – Cultural Communication in Business

3(3-0-6)

 

การสื่อสารต่างวัฒนธรรม

 

2312107

Academic writing

3(2-3-4)

 

การเขียนเชิงวิชาการ

 

2313201

Translation 1

3(2-2-5)

 

การแปล 1

 

2314602

English for Business Communication

3(3-0-6)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

 

3211701

Personality Development for Career

3(2-3-4)

 

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่ออาชีพ

 

3211702

Secretarial Techniques and Office Management

3(3-0-6)

 

เทคนิคงานเลขานุการและการจัดการสำนักงาน

 

3212701

Commercial Correspondence & Presentation S kills

3(2-3-4)

 

การติดต่อทางธุรกิจและทักษะการนำเสนอ

 

3212702

Computer Programming for Business Documentation

3(2-3-4)

 

การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ

 

            2. วิชาเอก

                วิชาบังคับ ให้เรียน 20 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2301103

Introduction to Linguistics

2(2-0-4)

 

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

 

2303106

English Phonetics and Syntax

2(2-0-4)

 

สัทศาสตร์และวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ

 

2311101

English Grammar 1

3(3-0-6)

 

ไวยากรณ์อังกฤษ 1

 

2311104

English Grammar 2

3(3-0-6)

 

ไวยากรณ์อังกฤษ 2

 

2311105

Listening and Speaking 2

3(2-2-5)

 

การฟังและการพูด 2

 

2313101

English Reading Strategies

2(2-0-4)

 

กลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ

 

2313105

English Paragraph Writing

3(2-3-4)

 

การเขียนอนุเฉทภาษาอังกฤษ

 

2314307

Literature Appreciation

2(1-3-2)

 

สุนทรีภาพทางวรรณคดี

 

                วิชาเอกเลือก ให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312101

Listening and Speaking 3

3(2-2-5)

 

การฟังและการพูด 3

 

2312601

English in Mass Media

2(2-0-4)

 

ภาษาอังกฤษในสื่อมวลชน

 

2312602

English for Tourism and Hotel Management

2(1-3-2)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม

 

2312709

English for Advertising and Sale Promotion

2(1-3-2)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

 

2312710

English for Thai Studies

2(2-0-4)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาประเทศไทย

 

2313111

Critical Reading in English

2(2-0-4)

 

การอ่านเชิงวิจารณ์แลเชิงวิเคราะห์

 

2313218

Translation 2

3(2-2-5)

 

การแปล 2

 

2313601

English for Restaurant Management

2(1-3-2)

 

ภาษาอังกฤษสำหรับการภัตตาคาร

 

2313602

English for Importing and Exporting

2(2-0-4)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเข้าและส่งออก

 

2313603

English for Business and Technology 1

2(1-3-2)

 

ภาษอังกฤษสำหรับธุรกิจและเทคโนโลยี 1

 

2313604

English for Business and Technology 2

2(1-3-2)

 

ภาษอังกฤษสำหรับธุรกิจและเทคโนโลยี 2

 

2313605

English for Airline Business 1

2(2-0-4)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน 1

 

2313606

English for Airline Business 2

2(2-0-4)

 

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน 2

 

2313707

Argumentation, Negotiation and Persuasion Techniques

2(1-3-2)

 

เทคนิคการโต้แย้ง การเจราจาต่อรอง และการโน้มน้าว

 

2313708

Debate & Discussion

2(1-3-2)

 

การอภิปรายและการโต้วาที

 

2313713

English for Job Application

2(2-0-4)

 

ภาษาอังกฤษสำหรับการสมัครงาน

 

2313710

English for Standardized Test 1

2(1-3-2)

 

ภาษาอังกฤษสำหรับข้อสอบมาตรฐาน 1

 

2313711

English for Standardized Test 2

2(1-3-2)

 

ภาษาอังกฤษสำหรับข้อสอบมาตรฐาน 2

 

2313712

Public Speaking in English

2(1-3-2)

 

การพูดในที่สาธารณะ

 

2314103

Listening and Speaking 4

3(2-2-5)

 

การฟังและการพูด 4

 

2314211

Translation 3

2(1-3-2)

 

การแปล 3

 

            3. วิชาโท

                บังคับ เรียนจำนวน 14 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2272104

Chinese 1

3(3-0-6)

 

ภาษาจีน 1

 

2272105

Chinese 2

3(3-0-6)

 

ภาษาจีน 2

 

2272202

Chinese Listening and Speaking 1

2(1-3-2)

 

การฟังและการพูดภาษาจีน 1

 

2272204

Chinese Listening and Speaking 2

2(1-3-2)

 

การฟังและการพูดภาษาจีน 2

 

2273103

Chinese Reading Skill

2(2-0-4)

 

ทักษะการอ่านภาษาจีน

 

2273104

Chinese Writing Skill

2(1-3-2)

 

ทักษะการเขียนภาษาจีน

 

                เลือก เรียนจำนวน 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2273709

Business Chinese

2( 1-3-2)

 

ภาษาจีนธุรกิจ

 

2273709

Business Chinese

2( 1-3-2)

 

ภาษาจีนธุรกิจ

 

2273711

Chinese for Hotels and Tourism

2(1-3-2)

 

ภาษาจีนเพื่อการโรงแรมและการท่องเที่ยว

 

2273712

Chinese for Secretary

2(1-3-2)

 

ภาษาจีนเพื่องานเลขานุการ

 

            4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 7 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2313803

Preparation for Professional Experience in Career

2( 90 )

 

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษนานาชาติ

 

2314803

Field Experience in Language and Literary Works

5(450)

 

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษนานาชาติ

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

16. แผนการศึกษา ( Study Plan )

The First Year / Semester 1

The First Year / Semester 2

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

2310101

Foundation English

3(3-0-6)

2310102

English for Communication

3(3-0-6)

4000103

Computer for Learning

2(1-2-3)

0000000

เลือกจากหมวดศึกษาทั่วไป 2 วิชา

5(x-x-x)

0000000

เลือกจากหมวดศึกษาทั่วไป 1 วิชา

2(x-x-x)

2311402

Cross - Cultural Communication

3(3-0-6)

2311401

Background in English and Chinese Culture

3(3-0-6)

2313201

Translation 1

3(2-3-4)

2314602

English for Business Communication

3(3-0-6)

2311104

English Grammar 2

3(3-0-6)

2311101

English Grammar 1

3(3-0-6)

3211702

Secretarial Techniques and Office Management

3(3-0-6)

2311102

English Listening-Speaking 1

3(2-3-4)

     
  รวม

19

   

20

The Second Year / Semester 1

The Second Year / Semester 2

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

0000000

เลือกจากหมวดศึกษาทั่วไป 4 วิชา

8(x-x-x)

0000000

เลือกจากหมวดศึกษาทั่วไป 4 วิชา

8(x-x-x)

4311702

Computer for Career

3(2-2-5)

2312107

Academic Writing

3(2-3-4)

2311105

English Listening and Speaking 2

3(2-3-4)

2310103

English for Learning

3(3-0-6)

2272104

Chinese 1

3(3-0-6)

2301103

Introduction to Linguistics

2(2-0-4)

xxxxxxx

เลือกเสรี

3(x-x-x)

2272104

Chinese 2

3(3-0-6)

  รวม

20

   

19

The Third Year / Semester 1

The Third Year / Semester 2

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

3212701

Commercial Correspondence and Presentation Skills

3(2-3-4)

3212702

Computer Programming for Business Documentation

3(2-3-4)

2303106

English Phonetics and Syntax

2(2-0-4)

2313105

English Paragraph Writing

3(2-3-4)

2313101

English Reading Strategies

2(2-0-4)

2313710

English for Standardized Test 1

2(1-3-2)

2312602

English for Tourism and Hotel Management

2(1-3-2)

2313605

English for Airline Business 1

2(2-0-4)

2272202

Chinese Listening and Speaking 1

2(1-3-2)

2272204

Chinese Listening and Speaking 2

2(1-3-2)

2273103

Chinese Reading Skill

2(2-0-4)

2273104

Chinese Writing Skill

2(1-3-2)

     

2273709

Business Chinese

2(1-3-2)

     

xxxxxxx

เลือกเสรี

3(x-x-x)

  รวม

13

   

19

The Fourth Year / Semester 1

The Fourth Year / Semester 2

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

Subject Code

Names of Courses

Credit / period

3211701

Personality Development for Career

3(2-3-4)

2314803

Field Experience in Language and Literary Works

5(450)

2314307

Literature Appreciation

2(1-3-2)

     

2313711

English for Standardized Test 2

2(1-3-2)

     

2313602

English for Importing and Exporting

2(2-0-4)

     

2273711

Chinese for Hotels and Tourism

2(1-3-2)

     

2273712

Chinese for Secretary

2(1-3-2)

     

2313803

Preparation of Professional Experience in Career

2(90)

     
  รวม

15

   

5

17. คำอธิบายรายวิชา

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 88 หน่วยกิต

            1. คำอธิบายรายวิชาแกน จำนวน 36 หน่วยกิต

รายวิชา 2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

English for Learning

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

 

Computer for Career

 

        ศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยวกับโครงสร้างและวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่าง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น การใช้ซอฟต์แวร์ชุดสำนักงาน ระบบฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์เวอร์คชีต เวอร์ดโปรเซสเซอร์ ฯลฯ

รายวิชา 2311102

การฟังและการพูด 1

3(2-2-5)

 

Listening and Speaking 1

 

        รายวิชานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะฝึกทักษะพื้นฐานทั่วไปในการฟังและพูดภาษาอังกฤษ นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น เล่าเรื่อง สนทนา ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ตามสถานการณ์ในชีวิตประจำวันตามที่กำหนดให้

        This course is to develop basic listening and speaking skills. The students participate in various activities, such as story telling, dialogs, and interaction with peers in given everyday situations.

รายวิชา 2313201

การแปล 1

3(2-3-4)

 

Translation 1

 

        ศึกษาหลักเบื้องต้นในการแปล แปลไทยเป็นอังกฤษและอังกฤษเป็นไทย อย่างตามระบบ ตั้งแต่ระดับประโยคจนถึงระดับข้อความสั้น ๆ ฝึกแปลบทความ, ปาฐกถา และข้อมูลโฆษณาผลิตภัณฑ์ วิธีใช้ วิธีทำต่าง ๆ

        This course introduces fundamental principles of translation. Students systematically practise translating English to Thai and Thai to English, from sentence level to short passages. Practical applications include the translation of articles, speeches and commercial descriptions of products, directions, etc.

รายวิชา 2311401

ภูมิหลังด้านวัฒนธรรมอังกฤษและจีน

3(3-0-6)

 

Background in English and Chinese Cultures

 

        ศึกษาคุณลักษณะและภูมิหลังทางวัฒนธรรมของประเทศที่พูดภาษาอังกฤษและภาษาจีนในหัวข้อต่าง ๆ ในแง่ประวัติศาสตร์ ศาสนา การปกครอง ระบบสังคม โครงสร้างครอบครัว, วิถีชีวิต,เทคโนโลยี, วรรณกรรม, ทัศนศิลป์, ดนตรี, เหตุการณ์สำคัญและเทศกาลต่าง ๆ

        A study of Characteristics and cultural backgrounds of English speaking countries and Chinese speaking countries. Topics include history, religion, politics, social system, structure of families, ways of life, technology, literature, visual art, music, major events, festivals.

รายวิชา 2311402

การสื่อสารต่างวัฒนธรรม

3(3-0-6)

 

Cross - Cultural Communication

 

        ศึกษาคุณลักษณะทางวัฒนธรรมอื่น ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม การสื่อสารและภาษา ความแตกต่างด้านการสื่อสารกับปัญหาความเข้าใจกันระหว่างประเทศ การใช้การสื่อสารแบบผสมผสานวัฒนธรรมในการปรับความสัมพันธ์

        Discovering characteristics of other culture, inter-relationships between culture, communication and language. Communicating differences and international problems. Using cross -cultural communication to improve relationship.

รายวิชา 2314602

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

3(3-0-6)

 

English for Business Communication

 

        ศึกษาการเขียนและการพูดเพื่อการสื่อสารในเชิงธุรกิจ ศึกษาศัพท์ในวงธุรกิจ ทำความเข้าใจขบวนการในการสื่อสาร ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร ในบริบทเชิงธุรกิจ ตระหนักถึงบทบาทในการสื่อสารในวัฒนธรรมอื่น ๆ ตลอดจนฝึกสื่อสารในเชิงธุรกิจเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม

        Study writing and speaking for business communication, vocabulary items, used in business. Understand communication process between the sender and the receiver in business context. Realize

communication roles in other cultures.

รายวิชา 2312107

การเขียนเชิงวิชาการ

3(2-3-4)

 

Academic Writing

 

        ฝึกเขียนงานที่เรียบเรียงตามองค์ประกอบที่ดี แสดงความคิดเห็นจากสังเกตการณ์ของงาน ทำความเข้าใจกับลักษณะภาษาเขียน โดยเน้นด้านศัพท์ วากยสัมพันธ์ และความต่อเนื่องของภาษาเขียนในตำรา สื่อประสม คู่มือ คำสั่งในห้องปฏิบัติการ วิธีใช้ วิธีทำต่างๆ ตลอดจนบทคัดย่องานวิจัย สามารถเขียนสรุปหัวข้อจากเรื่องที่อ่านได้ สามารถสืบค้นหัวข้อที่กำหนดให้จากห้องสมุดได้ จากแหล่งข้อมูลอย่างน้อย 4 ถึง 5 แหล่งมารวบรวมเขียนเป็นรายงานความยาว 300 ถึง 500 คำนั้นได้ ผลิตแผ่นพับนำเที่ยวได้มีแบบฝึกหัดจดบันทึก การเขียนย่อความและการเขียนอ้างอิงก่อนให้ทำรายงานจริง และย้ำในเรื่องความคงเส้นคงวาในรูปแบบที่ใช้ในแต่ละงานเขียน

        Practise in writing relatively well- organised objective papers based not on one’s opinions, but only on one’s observations. Understand specific feature of written English, with emphasis on lexis, syntax and discourse used in textbooks, multimedia, manuals, laboratory instructions, directions, research abstract. Write summaries of material, read to develop an idea or theme. Be able to research a topic in the library, collect information from four or five sources and combine the material into a single paper of 300 to 500 words. Produce travel brochure as suggested. Do exercises on note - taking, precis writing, making references are introduced as preparation before actual writing of the papers. Consistency of any formats concerned must be emphasized.

รายวิชา 3212701

การติดต่อทางธุรกิจและทักษะการนำเสนอ

3(2-3-4)

 

Commercial Correspondence and Presentation Skills

 

        ฝึกเขียนจดหมายธุรกิจต่าง ๆ ฝึกการนำเสนอรายงานทางวิชาการอย่างมีขั้นตอนตั้งแต่การเลือกหัวข้อ การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล การเตรียมนำเสนอข้อมูล รายงาน และบทความทางธุรกิจด้วยโสตทัศนูปกรณ์ที่เหมาะสม

        Practices writing types of business letters, effective presentations, topic selections, Search for information, documentation techniques. Present of reports and business articles with appropriate audio-visual, multimedia equipment.

รายวิชา 3212702

การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ

3(2-3-4)

 

Computer Programming for Business Documentation

 

        ศึกษา ฝึกปฏิบัติการ และประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือเบื้องต้นในการจัดสร้าง บันทึกเปิด จัดพิมพ์เอกสารทางธุรกิจ จัดรูปแบบ แก้ไข เคลื่อนย้าย คัดลอกข้อความ จัดสร้างแทรกแผนภูมิ ตาราง ฐานข้อมูล ตลอดจนรูปภาพ รวมทั้งวัตถุอื่น ๆ ลงในเอกสารธุรกิจ

        Study, practise for the skills and apply how to use application software of computer programming for the tool to create, save/open, type, form, undo, move, copy and insert the tables, charts, database, as well as pictures, etc. in the business documentation.

รายวิชา 3211702

เทคนิคงานเลขานุการและการจัดการสำนักงาน

3(3-0-6)

 

Secretarial Techniques and Office Manage

 

        ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเลขานุการ การจัดองค์การในสำนักงาน งานบริการด้านการสื่อสาร ส่งแฟกซ์ โทรศัพท์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนรายงานต่าง ๆ การใช้เอกสารอ้างอิงและแหล่งข้อมูลที่จำเป็นในหน้าที่เลขานุการ การต้อนรับแขก มนุษยสัมพันธ์ในสำนักงาน การพัฒนางานเลขานุการ ความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการของสำนักงาน บทบาทในการจัดสำนักงาน การวางแผนผังระบบการจัดเก็บเอกสาร งานจัดซื้อ, การใช้และการควบคุมวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน การจำแนกความสำคัญ และการแจกงาน การอำนวยการ การควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพ

        Fundamental secretarial knowledge, office organization, communication service, sending faxes, telephoning, e-mailing , writing various kinds of reports, necessary references and information sources for secretarial duties, welcoming guests, human relationship in office, improvement of secretarial work, knowledge and understanding in office work, roles in office arrangement, office planning, filing, buying, using and controlling office equipment and material, working priority , distributing and effective directing

รายวิชา 3211701

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่ออาชีพ

3(2-3-4)

 

Personality Development for Career

 

        การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่ออาชีพ ศึกษาความหมายและขอบเขตของคำว่าบุคลิกภาพ องค์ประกอบที่ทำให้มนุษย์มีบุคลิกภาพต่างกัน บุคลิกภาพของบุคคลในอาชีพ การปรับพฤติกรรม มนุษยสัมพันธ์ และการส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ในองค์กรเพื่อพัฒนาการทำงาน

        Studying the meaning and scope of the word “personality”. Components that cause people to have different personality. Personality in career people, behavioral adjustment, human relationship and promotion of human relationship in the organization for working development.

 

        2. คำอธิบายรายวิชาวิชาเอก บังคับ จำนวน 20 หน่วยกิต

รายวิชา 2301103

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

2(2-0-4)

 

Introduction to Linguistics

 

        ศึกษาความหมายของภาษาศาสตร์ สาขาของภาษาศาสตร์ ภาษาและคุณสมบัติของภาษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของภาษา นำความรู้เรื่องวากยสัมพันธ์อังกฤษมาวิเคราะห์ประโยคลักษณะต่าง ๆ ของภาษาอังกฤษ ศึกษาอรรถศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความหมาย บอกความหมายของคำศัพท์เฉพาะในภาษาศาสตร์ สรุปเรื่อง Cohesion, coherence และ collocation ภาษาพูดและภาษาเขียนเพื่อให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ และมีความรู้ความเข้าใจในคำศัพท์เฉพาะของสาขาวิชานี้

        Students are to study the definition of linguistics, branches of linguistics, language and its characteristics, components of language. English syntax is used as a basic for sentence analysis. Semantics is also explored so as to analyze the relationship of meaning, identify the meaning of technical terms, summaries the concept of cohesion and coherence collocation in spoken and written language. The aim is to introduce basic knowledge of linguistics and to familiarise student with jargon in this field.

รายวิชา 2303106

สัทศาสตร์และวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ

2(2-0-4)

 

English Phonetics and Syntax

 

        ศึกษาและอธิบายระบบเสียงพยัญชนะ สระ การลงเสียงหนักเบา ทำนองเสียง จังหวะเสียง และการเชื่อมเสียง ฝึกออกเสียงให้ถูกต้อง และเน้นเสียงที่เป็นปัญหาสำหรับคนไทย อ่านสัทอักษรและฝึกถ่ายทอดเสียงโดยใช้สัทอักษรนำความรู้เกี่ยวกับระบบเสียงมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเสียงพยัญชนะและสระภาษาอังกฤษ และสามารถออกเสียงได้อย่างถูกต้องและใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา อ่านสัทอักษรและถ่ายทอดเสียงโดยใช้สัทอักษร และตระหนักในความสำคัญของการออกเสียงที่ถูกต้อง และศึกษาวากยสัมพันธ์ของวลี อนุประโยค ตลอดจนสามารถอธิบายความหมายของประโยคได้

        The contents include examining and identifying consonant and vowel sound system, stress, intonation, and assimilation; oral practice focusing on problem sounds for Thai students; reading and transcribing phonetic alphabets. The application of sound system in everyday communication is encouraged. Students are expected to understand English consonants and vowel sound system, pronounce correctly in a near native-like manner, read and transcribe phonetics, alphabet, and realise the importance of correct pronunciation. Syntax of phrases, clauses and simple sentences are introduced for students to analyze. Ambiguity of sentence meaning is also discussed.

รายวิชา 2311101

ไวยากรณ์อังกฤษ 1

3(3-0-6)

 

English Grammar 1

 

        ศึกษาวิเคราะห์ภาษาพูดและภาษาเขียนในปริบทของการสื่อสารโดยเน้นโครงสร้างภาษาเรื่องประโยค อนุประโยค กาล ลำดับคำ ความสอดคล้องระหว่างประธานกับกริยา โดยเอาใจใส่ในเรื่อง ความถูกต้องด้านวากยสัมพันธ์ ตามหลักไวยากรณ์

        Analyze spoken and written text in a communicative context focusing on language structures such as sentences, clauses, tenses, word orders, subject-verb agreement. Particular attention is paid to syntactic accuracy.

รายวิชา 2311104

ไวยากรณ์อังกฤษ 2

3(3-0-6)

 

English Grammar 2

 

        เป็นรายวิชาต่อเนื่องจากไวยากรณ์อังกฤษ 1 โดยศึกษาให้ละเอียดมากขึ้น มีความซับซ้อนมากขึ้น ให้นักศึกษาสามารถสาธิตการใช้โครงสร้างภาษาที่เหมาะสมในสถานการณ์เฉพาะอย่างตามที่กำหนดไว้

        As a continuation of English Grammar 1, this course deals with more detailed study. The language is of increasing linguistic complexity. Students are required to demonstrate the ability to use the language structures appropriate to a specific situation.

รายวิชา 2311105

การฟังและการพูด 2

3(2-2-5)

 

Listening and Speaking 2

 

        พัฒนาทักษะเพิ่มเติมจากรายวิชาการฟังและพูด 1 โดยลดโครงสร้างที่กำหนดให้เกี่ยวกับการสนทนาลงเรื่อย ๆ ให้แสดงความคิดเห็น ความรู้สึกส่วนตัว การแนะนำ การให้ความช่วยเหลือ การตอบรับ การปฏิเสธ โดยวิธีการสนทนาและอภิปราย

        This course builds on acquired skills in Listening and Speaking 1 and directs students into less structured conversations expressing opinions/ personal feelings, making suggestions, and offering / accepting/ declining. Through dialogs and discussions.

รายวิชา 2313101

กลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ

2(2-0-4)

 

English Reading Strategies

 

        ศึกษายุทธวิธีการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ ในระดับอเนกรรตถประโยค ที่มีการซ้อนใจความ และการอ่านระดับอนุเฉท เพื่อให้เข้าใจรูปแบบภาษา การอ้างอิง การเชื่อมโยงด้วยบริบท ทักษะการหาความหมายของคำศัพท์ใหม่ การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ และรายละเอียดเฉพาะ

        Basic Strategies for reading efficiency at the complex sentence level, including embedded forms and at the paragraph level, understanding language patterns, including references and connectives using context clues and word-study skills for discovering meaning of new words. Reading for main ideas and particular details.

รายวิชา 2313105

การเขียนอนุเฉทภาษาอังกฤษ

3(2-3-4)

 

English Paragraph Writing

 

        เน้นองค์ประกอบพื้นฐานในการเขียนข้อความระดับอนุเฉท โดยมีหัวข้อใจความสำคัญและรายละเอียดสนับสนุน มีการโยงประเด็นเพื่อแสดงความต่อเนื่องของความคิด ในการเพิ่มประเด็น การเรียงลำดับ การเปรียบเทียบ การยกตัวอย่างเหตุผลเป็นต้น

        This course focuses on the basic organisation of written text at paragraph level: topic, main idea and supporting details. Discourse markers are introduced to show the development of ideas in terms of addition, sequence, comparison, contrast, exemplification, cause and effect, and so on.

รายวิชา 2314307

สุนทรีภาพทางวรรณคดี

2(1-3-2)

 

Literature Appre

 

        ศึกษาเชิงวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างงานเขียนที่จัดเป็นวรรณคดีกับงานเขียนทั่วไปที่ไม่ใช่วรรณคดี อ่านร้อยแก้ว และร้อยกรองที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักทั้งที่เป็น Classic และร่วมสมัย โดยวิเคราะห์และรับรู้ถึงลักษณะและองค์ประกอบของความเป็นงานวรรณกรรม ความงดงามทางศิลปะของภาษารูปแบบต่าง ๆ ของงานเขียนเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และความซาบซึ้งในวรรณคดี และสามารถถอดความและเขียนอธิบายเป็นภาษาเขียนธรรมดาได้

        A critical study of literary language of prose and poetry in contrast with non-literary texts. Read samples of selected well-known literary works, both classical and contemporary, to analyze and perceive the features of literariness, aesthetics, means of understanding and appreciating, and methods of literary evaluation Rewriting of texual samples from literary style to normal written language.

 

        3. คำอธิบายรายวิชาเอก เลือก จำนวน 10 หน่วยกิต

รายวิชา 2312101

การฟังและการพูด 3

3(2-2-5)

 

Listening and Speaking 3

 

        ฝึกฟังและพูดในโครงสร้างทางภาษาที่ซับซ้อนขึ้นในการสื่อสารทางธุรกิจและในวิชาการมีจุดประสงค์อยู่ที่ความสามรถในการใช้ภาษาได้จริง, โดยรู้จักใช้สำนวน วลี ท่าทาง พื้นฐานประกอบ การโทรศัพท์ การสัมภาษณ์ การตกลง การไม่ตกลง การร้องขอ เป็นต้น

        This course moves students towards more complicated language structures used in business and academic context, aiming towards increasingly authentic language usage, (using basic idioms, phrases and expressions, telephoning, interviewing, agreeing / disagreeing, requesting, etc.)

รายวิชา 2312601

ภาษาอังกฤษในสื่อมวลชน

2(2-0-4)

 

English in Mass Media

 

        ศึกษาหลักการและสไตล์ของภาษาที่ใช้ในเรื่องสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนอินเตอร์เน็ตเป็นลักษณะองค์ประกอบของข่าว เอกสารส่งเสริมการขาย บทความ สารคดี โฆษณา บรรยาย ปาฐกถา และบันเทิง

        A study of principles and styles of language used in printed media, and electronic media as well as the internet. Particular attention to features of news, promotional literature, articles, documentaries, dvertisements, talks, entertainments.

รายวิชา 2312602

ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม

2(1-3-2)

 

English for Tourism and Hotel Management

 

        ศึกษาภาษาอังกฤษและศัพท์เฉพาะทางที่ใช้ในธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยว ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับศิลป วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปการละคร ดนตรีและสถาปัตยกรรม เป็นการฟังพูด อ่าน เขียน และการอ่านเพื่อความเข้าใจจากบทความ ข้อความ หนังสือที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการโรงแรม การท่องเที่ยว และการสนทนาในชีวิตประจำวัน ฝึกกับสถานการณ์จำลอง

        A study of English and technical terms used in the hotel business as well as in tourist services, technical terms relating to art, culture, geography, history, dramatic art, music and architecture, the practice of listening, speaking, writing, and reading comprehension from articles and books concerning hotel management and administration, tourism and daily conversation. Students will also practice working in simulated situations.

รายวิชา 2312709

ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

2(1-3-2)

 

English for Advertising and Sales Promo

 

        ฝึกวิเคราะห์และใช้ภาษาในการโฆษณาและการส่งเสริมการขายจากสื่อของจริง โดยใช้สถานการณ์จำลองประกอบ

        Practice analyzing language used in advertising and sales promotion from authentic materials and practice using the language in the language in the way as such by using simulation.

รายวิชา 2312710

ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาประเทศไทย

2(2-0-4)

 

English for Thai Studies

 

        ศึกษาวิถีชีวิตด้านต่าง ๆ ของไทย โดยครอบคลุมเรื่องภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศาสนา ความเชื่อ ภาษาและวัฒนธรรม ฝึกใช้ภาษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเหล่านี้ในแง่การจัดการนำเที่ยว และที่พัก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมไปผักผ่อน และเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ต่าง ๆ เป็นต้น

        This course deals with Thai ways of lift in many aspects e.g. geography, history, religion, value, belief, language and culture. Students are also trained to use English in various situational activities and historical stories, etc.

รายวิชา 2313111

การอ่านเชิงวิจารณ์แลเชิงวิเคราะห์

2(2-0-4)

 

Critical Reading in English

 

        อ่านอย่างรู้จักวิจารณ์ โดยตั้งคำถามเชิงวิเคราะห์และเชิงพินิจพิจารณาด้วยตนเอง เพื่อให้เข้าถึงเจตนารมณ์ของผู้เขียน วิเคราะห์รูปแบบอันหลากหลายของบทอ่านจากหลายมุมมอง

        Reading critically, setting own analytical questions so as to determine the intent of the writer, analyzing a variety of reading text from different perspectives

รายวิชา 2313218

การแปล 2

2(1-3-2)

 

Translation 2

 

        เป็นรายวิชาต่อเนื่องกับการแปล 1 โดยศึกษาหลักการและเทคนิคการแปลไทยเป็นอังกฤษ และอังกฤษเป็นไทยที่ยากและซับซ้อนขึ้น ยาวขึ้น ทั้งข้อความและบทความหลากหลายรูปแบบภายใต้บริบททางวิชาการและอาชีพ และให้โอกาสเลือก แปลหัวข้อที่นักศึกษาเองมีความสนใจ

        This course is the continuation of Translation 1 and aims to introduce more difficult and complex principles and techniques of translation with focus on translating English to Thai and Thai to English. Practical application include more complex, difficult and longer passages and articles in various styles and contexts mainly used in academic fields of study and careers. Students are allowed to have choice of translation their interesting topics.

รายวิชา 2313601

ภาษาอังกฤษสำหรับการภัตตาคาร

2(1-3-2)

 

English for Restaurant Manageme

 

        ศึกษาบริการด้านอาหาร เครื่องดื่มและงานด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภัตตาคาร โครงสร้าง หน้าที่รับผิดชอบ ของผู้จัดการ และตำแหน่งอื่น ๆ การทำแผนเมนู การคำนวณค่าใช้จ่าย ราคา การขาย และการตลาด การควบคุมแต่ละส่วน การควบคุมคุณภาพ การบริการจัดเลี้ยง การจัดโต๊ะ ชนิดต่าง ๆ ของการเสริฟ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารเครื่องดื่มทั้งของไทยและของต่างประเทศ การถืออุปกรณ์บริการ และทัศนศึกษาประกอบการเรียน

        A study of food and beverage service and related works, structure, duties and responsibilities of the manager and other position, menu planing, cost calculation, price, sales and marketing, portion control, quality control, banquet service, table setting, types of serving, general knowledge of Thai and international food and beverages, including the handing of service equipment, and field trips.

รายวิชา 2313602

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเข้าและส่งออก

2(2-0-4)

 

English for Importing and Exporting

 

        ศึกษาศัพท์เทคนิค โครงสร้าง สำนวน และเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ใช้กันเป็นปกติในการนำเข้าและส่งออกสินค้า การขนส่ง การตลาดระหว่างประเทศ ขั้นตอนการนำเข้า / ส่งออก โดยมีการฝึกปฏิบัติ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน

        A study of technical terms, structures, expressions and related documents commonly used in import and export shipping, international marketing, and import/export procedures, practice in listening, speaking, writing and reading.

รายวิชา 2313603

ภาษอังกฤษสำหรับธุรกิจและเทคโนโลยี 1

2(1-3-2)

 

English for Business and Technology 1

 

        ฝึกใช้ภาษาอังกฤษโดยแบ่งทักษะสัมพันธ์ ได้แก่ ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อจุดประสงค์ในการติดต่อประสานงานทั้งในและนอกสำนักงาน ตลอดจนเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในสาขาอาชีพโดยฝึกอ่านบทความด้านธุรกิจ การเงิน และเทคโนโลยีจากนิตยสารธุรกิจและจากเว็บไซด์เพื่อจับใจความสำคัญ ฝึกเขียนสรุปและเขียนรายงานอย่างง่าย ฝึกการฟังและพูดในสถานการณ์ต่าง ๆ การนัดหมาย การสังสรรค์ทางธุรกิจ และการฝึกเขียนทางธุรกิจที่ไม่ซับซ้อน เช่น บันทึกช่วยจำ โทรสาร

        Integrated four skill practice of listening, speaking, reading and writing for business and technology.

รายวิชา 2313604

ภาษอังกฤษสำหรับธุรกิจและเทคโนโลยี 2

2(1-3-2)

 

English for Business and Technology 2

 

        ฝึกใช้ภาษาอังกฤษโดยเน้นทักษะสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับรายวิชาภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี 1 ฝึกใช้ภาษาอังกฤษในหน้าที่และงานทางธุรกิจและเทคโนโลยีที่ซับซ้อน เช่น การแนะนำองค์กร การบรรยายผลิตภัณฑ์ การประชุม การเจรจาต่อรองธุรกิจ และฝึกการเขียน จดหมายเชิญประชุม รายงานการประชุม เอกสารเสนอราคา จดหมายทางธุรกิจแบบต่าง ๆ

        Integrated four skill practice of listening, speaking, reading and writing for business and technology in more complex business situations.

รายวิชา 2313605

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน 1

2(2-0-4)

 

English for Airline Business 1

 

        ศึกษาศัพท์เทคนิคและสำนวนที่จำเป็นเกี่ยวกับธุรกิจการบิน เช่น บริษัทนำเที่ยว พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินและภาคพื้นดิน การพูดในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ทักทาย ต้อนรับ รับโทรศัพท์ลูกค้าและจดบันทึกทางโทรศัพท์ จัดแผนการเดินทาง บริการสำรองที่นั่ง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราค่าโดยสาร ออกบัตรโดยสาร จัดตารางเวลา อ่านค่าโดยสาร บัตรโดยสาร สำรองที่นั่ง บริการลูกค้า

        Rhetoric, Terminology and Useful Phrase for Airline Business; Airline Business Information; Coordination.

รายวิชา 2313606

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน 2

2(2-0-4)

 

English for Airline Business 2

 

        ฝึกใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ซับซ้อนขึ้น ๆ ได้แก่ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น การเปลี่ยนแปลงเที่ยวการบิน ปัญหาเกี่ยวกับผู้โดยสาร การขอโทษ การประนีประนอม ฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์จำลอง

        Advanced English for Airline Business; Communication Skills; Problem Solvings and Public Relations.

รายวิชา 2313707

เทคนิคการโต้แย้ง การเจราจาต่อรอง และการโน้มน้าว

2(1-3-2)

 

Argumentation, Negotiation and Persuasion Techniques

 

        ศึกษาทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อการโต้แย้ง การโน้มน้าว การเจรจาต่อรอง อย่างมีประสิทธิภาพ ในสถานการณ์ต่าง ๆ จิตวิทยาในการต่อรอง ฝึกในสถานการณ์จำลองและบทบาทสมมุติ

        Studying theories and practice of argumentation, negotiation and negotiation and making effective use in different situations, psychology of negotiation, using simulation techniques and roleplays.

รายวิชา 2313708

การอภิปรายและการโต้วาที

2(1-3-2)

 

Debate and Discussion

 

        ศึกษาหลักการและเทคนิคในการอภิปรายและโต้วาทีโดยใช้ภาษาอังกฤษ ฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่มในการอภิปรายและโต้วาที

        A study of principles and techniques of discussions and debates in English. Group practice in performing panel discussions as well as debates.

รายวิชา 2313713

ภาษาอังกฤษสำหรับการสมัครงาน

2(2-0-4)

 

English for Job Applic

 

        ฝึกค้นหางานจากสื่อมวลชน ทำความเข้าใจและฝึกเขียนประวัติย่อส่วนตัวจดหมายสมัครงาน ฝึกการกรอกแบบฟอร์มใบสมัครงานต่าง ๆ ใบแนะนำตัว ศึกษาหลักการและเทคนิค และฝึกเพื่อการสอบสัมภาษณ์ โดยเน้นการรวบรวมข้อมูลในการตอบคำถามในการสัมภาษณ์ เพื่อฝึกในสถานการณ์จำลอง

        Practice searching for jobs from the mass media, understanding how to write or complete bio-data or resume, application letters, different application forms, recommendations studying principles and techniques and training for job interviews, emphasizing data collection for answering in an interview simulation.

รายวิชา 2313710

ภาษาอังกฤษสำหรับข้อสอบมาตรฐาน 1

2(1-3-2)

 

English for Standardized Test 1

 

        รายวิชานี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความคุ้นเคยแก่นักศึกษาในเรื่องรูปแบบและภาษาที่ใช้ในการสอบข้อสอบมาตรฐานต่าง ๆ คือ TOEIC, TOEFL และ IELTS เพื่อเป็นการเตรียวตัวก่อนสอบข้อสอบเหล่านี้ในโอกาสอันใกล้ตามข้อกำหนดของการสอบเข้าทำงานหรือศึกษาต่อในสถาบันต่าง ๆ

        This course aims at familiarizing students with the format and language used in standardized teats, i.e. : TOEIC, TOEFL and IELTS as a preparation for taking such texts in the near future as required by many institute wether for jobs or further studies.

รายวิชา 2313711

ภาษาอังกฤษสำหรับข้อสอบมาตรฐาน 2

2(1-3-2)

 

English for Standardized Test 2

 

        เป็นวิชาที่ต่อหนึ่งจากภาษาอังกฤษเพื่อข้อสอบมาตรฐาน หนึ่ง โดยสำรวจและฝึกศึกษามาตรฐานอื่น ๆ เช่น G-MAT, GRE, CU-TEP และ TU-GET เป็นต้น เรียนรู้กลวิธีที่มีประสิทธิภาพในการทำข้อสอบเหล่านี้ให้ได้ผลดี

        This is a continuation of English for standardized Test 1 by exploring and practicing other standardized tests like G-MAT, GRE, CU-TEP, TU-GET and so on. Learning effective strategies for taking these tests.

รายวิชา 2313712

การพูดในที่สาธารณะ

2(1-3-2)

 

Public Speaking in English

 

        เน้นการพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการพูดในที่สาธารณะที่มีผู้ฟังหลายประเภทในบทบาทธุรกิจ สังคม และวิชาการ การเขียนคำกล่าวสุนทรพจน์ ลีลา และเทคนิคในการนำเสนอ ฝึกโต้วาทีในเรื่องที่เป็นประเด็นขัดแย้ง และการฝึกฝนเทคนิคการโต้วาที

        A practical course in public speaking. Emphasis on message organization, critical evaluation, evidence and reasoning. Basic principles are applied in a variety of formal and informal public speaking situation.

รายวิชา 2314103

การฟังและการพูด 4

3(2-2-5)

 

Listening and Speaking 4

 

        ฝึกทำความเข้าใจบทความต่าง ๆ ละคร สาระคดี ข่าว รายงาน วีดีทัศน์ เสนอความคิดเห็น โดยกำหนดให้มีการรายงานปากเปล่า

        This course provides practice in comprehending articles, plays, documentaries, news, reports, and video types and then forming and expressing opinions on them. Oral presentation is required.

รายวิชา 2314211

การแปล 3

2(1-3-2)

 

Translation 3

 

        เป็นรายวิชาสำหรับปีสุดท้ายของการศึกษาเท่านั้น นักศึกษาจะต้องฝึกแปลปากเปล่าระหว่างภาษไทยเป็นภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่ว และสลับกันไปมาแบบล่ามในสถานการณ์จำลอง

        This is an advanced course for final year students only. Students will be required to translate orally between the Thai and English languages, Fluently and alternately. Students will be able to act as interpreters in a simulation of read lift situations.

 

    5. คำอธิบายรายวิชาโท บังคับ จำนวน 14 หน่วยกิต

รายวิชา 2272104

ภาษาจีน 1

3(3-0-6)

 

Chinese 1

 

        ศึกษาเน้นในด้านการฟังและพูดภาษจีนเบื้องต้น ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ภาษานี้ในการทำงาน บทเรียนจะประกอบด้วยรูปแบบการสนทนาในชีวิตประจำวันแบบง่าย

        Studying basic listening and speaking skills in Chinese in care where this language is required in working. Simple conversations in daily life are also included.

รายวิชา 2272105

ภาษาจีน 2

3(3-0-6)

 

Chinese 2

 

        ศึกษาภาษาจีนที่จำเป็นต้องใช้ในวงการธุรกิจ โดยเน้นสถานการณ์จำลอง และให้ความรู้เรื่องวิธีการปฏิบัติตนในการติดต่อธุรกิจกับชาวจีน

รายวิชา 2272202

การฟังและการพูดภาษาจีน 1

2(1-3-2)

 

Chinese Listening and Speaking 1

 

        ฝึกการฟังบทสนทนา การเล่าเรื่อง การอธิบายอย่างง่าย ฝึกสนทนาทั่วไปในชีวิตประจำวัน เพื่อใช้ภาษาจีนได้คล่องแคล่ว โดยเน้นความสามารถในการฟังและการพูด

        Practicing listening to conversations, stories, simple explanations. Practicing daily life conversations emphasizing on fluency and ability in listening and speaking.

รายวิชา 2272204

การฟังและการพูดภาษาจีน 2

2(1-3-2)

 

Chinese Listening and Speaking 2

 

        การศึกษาต่อเนื่องจากรายวิชาการฟังและการพูดภาษาจีน 1 แต่ในหัวข้ออื่น ๆ ที่กว้างขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจและความคล่องแคล่วยิ่งขึ้น

        A continuation of Chinese listening and speaking 1 but in other areas in a wider scope so as confidence and fluency.

รายวิชา 2273103

ทักษะการอ่านภาษาจีน

2(2-0-4)

 

Chinese Reading Skill

 

        ศึกษาหลักเบื้องต้นของตัวอักษร ฝึกอ่านคำศัพท์ วลี ประโยค ข้อความสั้น ๆ จากเอกสารจริง สามารถสรุปและตอบคำถามได้

        Studying basic principles of Chinese alphabets, practising reading vocabulary items, phrases, short passages from authentic material, able to make a summary and answers questions.

รายวิชา 2273104

ทักษะการเขียนภาษาจีน

2(1-3-2)

 

Chinese Writing Skill

 

        ฝึกเขียนข้อความอย่างง่ายเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่นจดหมายส่วนตัว บันทึกประจำวัน เพื่อฝึกให้สามารถนำคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เรียนไปแล้วมาสื่อความหมายของตนให้ผู้อื่นทราบได้

        Practising writing simple sentences about messages in daily life such as personal letters, diaries, so as to use the learned vocabulary items to relate stories to other people.

 

        4. คำอธิบายรายวิชาโท เลือก จำนวน 6 หน่วยกิต

รายวิชา 2273709

ภาษาจีนธุรกิจ

2(1-3-2)

 

Business Chinese

 

        ศึกษาภาษาจีนที่จำเป็นต้องใช้ในวงการธุรกิจ เน้นการใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสาร เช่น บันทึกข้อความ โทรศัพท์ที่ติดต่อภายในและภายนอกบริษัท พร้อมทั้งศึกษาเทคนิคและสำนวนที่จำเป็นในการติดต่อธุรกิจ ตลอดจนฝึกใช้ภาษาจีนในการสนทนาทางธุรกิจ ให้สอดคล้องกับโครงสร้าง รูปแบบขั้นตอน ระเบียบปฏิบัติและมารยาท โดยใช้สถานการณ์จำลอง

        Study Chinese that is necessary in the business field emphasized in using language for communication; for examples in writing memo, in telephone messaging both internal and external contact as well as study the techniques and idioms essential in business contact. Practicing business conversation in Chinese according to structures, formats, procedures and manners in a simulation situation.

รายวิชา 2273711

ภาษาจีนเพื่อการโรงแรมและการท่องเที่ยว

2(1-3-2)

 

Chinese for Hotels and Touris

 

        ฝึกทักษะในด้านการฟังและพูดในภาษาสำนวนที่ใช้ในการบริการ และแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยจัดสถานการณ์จำลองในการปฏิบัติงาน เช่น สนามบิน โรงแรม ภัตตาคาร ร้านค้า เป็นต้น

        Practice in Listening and Speaking in the sentence patterns used in the service and suggest the tourist attractions in Thailand by providing the learners with the situation in working practice field; such as, at the airports, hotels, restaurants, shopping centers, shops, etc.

รายวิชา 2273712

ภาษาจีนเพื่องานเลขานุการ

2(1-3-2)

 

Chinese for Secretary

 

        ฝึกศึกษาภาษจีนที่จำเป็นต่องานเลขานุการ เช่นการจดบันทึกคำสั่งงานการติดต่อนัดหมาย การโทรศัพท์ การเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร บันทึกข้อความ การจองเกี่ยวกับอาหารที่พัก การเตรียมการเดินทาง และตั๋วต่าง ๆ การต้อนรับแขก การทำระเบียบวาระการประชุม การบนทึกการประชุม การเขียนรายงานการประชุม

        Learning Chinese necessary for secretarial jobs such as note-taking from diction, making appointments, telephoning, writing e-mail, faxes, memorandums, making reservations for food, accommodation, and travel arrangements, tickets welcoming guest, making agenda taking minutes and writing reports.

 

        5. คำอธิบายรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 7 หน่วยกิต

รายวิชา 2313803

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษนานาชาติ

2(90)

 

Preparation for Professional Experience in Career

 

        จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในด้านการรับรู้ ลักษณะ และโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพโดยเน้นทักษะขั้นพื้นฐานและระดับสูงด้วยการปฏิบัติงานและกิจกรรม

        Provide the learners with various types of activities to prepare them to get ready before going to be trained in the field experience in Language and Literary Works to gain the overall concepts, charac teristics and the opportunities in successful employment, emphasize to develop the learners to obtain knowledge, working skills, attitudes, motivation and quality of being the appropriate person in careers focusing in both basic and advanced skills with job performance.

รายวิชา 2314803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษนานาชาติ

5(450)

 

Field Experience in Language and Literary Works

 

        รายวิชานี้เป็นการฝึกงานในสถานปรกอบการ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แตกแขนงออกไปจากที่เรียนในห้องเรียน มีการเขียนรายงานประกอบการฝึกงาน

        Provide the learners with the opportunity to gain and widen field experience in Language and Literary Works both in governmental and private sector to obtain knowledge, skills, attitudes, experience in careers then analyze the result of the job training, later summarye in the form of seminar, exhibition or project works.

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ ) ประกันคุณภาพหลักสูตรในประเด็น ดังนี้

        ประเด็นการบริหารหลักสูตร

                1. แต่งตั้งกรรมการร่างหลักสูตร โครงการจัดการสอนหลักสูตรนานาชาติ โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
                2. คณะกรรมการจากอาจารย์
                3. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยวิพากษ์หลักสูตร
                4. พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรตามคำทักท้วงและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ
                5. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                6. สภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์พิจารณากลั่นกรองหลักสูตร
                7. คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบหรือรับรองหลักสูตร

        ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. ตำราและเอกสาร ( ดังรายละเอียดที่แนบมาข้างท้าย )
                2. ห้องปฏิบัติการทางภาษา 1 ห้อง
                3. โสตทัศนวัสดุ เช่น โปรเจ็กเตอร์มัลติมีเดีย วีดีทัศน์ คอมพิวเตอร์
                4. แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เช่น การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย, โรงแรมชั้นนำ, ธนาคารทั้งภาครัฐและเอกชน, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, กรมศุลกากร , องค์การนานาชาติ , ตำรวจท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ,
                    บริษัทนำเที่ยวและอื่น ๆ

        ประเด็นการสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. มีทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาและทุนให้เปล่าอื่น ๆ
                2. มีอาจารย์ที่ปรึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ )

        ประเด็นความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิตก่อนเปิดหลักสูตร

            สำรวจความพึงพอใจและความต้องการแรงงานจากหน่วยทั้งภาครัฐและเอกชนโดยใช้แบบสอบถามกับบุคคลต่อไปนี้

                1. บัณฑิตโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ ( หลักสูตรนานาชาติ )
                2. เจ้าหน้าที่ของรัฐ จำนวน 10 คน
                3. ข้าราชการการเมืองท้องถิ่นจำนวน 12 คน
                4. นักธุรกิจ จำนวน 9 คน

            จากการสำรวจปรากฏว่า ร้อยเปอร์เซนต์ของผู้กรอกแบบสอบถามเห็นสมควรให้เปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ )

        หลังเปิดหลักสูตร

                1. สำรวจจำนวนบัณฑิตที่ได้ทำงาน โดยใช้แบบสอบถาม
                2. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
                3. สำรวจความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ )

19. การพัฒนาหลักสูตร

        ดัชนีบ่งชี้มาตรฐานและคุณภาพการศึกษา สำหรับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ ) คือ

        1. การได้งานทำของบัณฑิต ( ประเมินบัณฑิตทุกรุ่น )
        2. ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตและผู้ที่เกี่ยวข้อง ( ประเมินทุก 2 ปี )
        3. ความพึงพอใจของบัณฑิตที่มีต่อหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน ( ประเมินทุก 4 ปี )
        4. การศึกษาต่อของบัณฑิตในระดับที่สูงขึ้น ( ประเมินบัณฑิตทุกรุ่น )
        5. พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรทุก 4 ปี กำหนดประเมินครั้งแรกปี 2554 ( เริ่มการประเมินข้อ 3 )

 

ภาคผนวก

 

1. ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ )

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ ) มีกระบวนการร่างหลักสูตร ดังนี้

        1. กระบวนการร่างหลักสูตร

                1.1 มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาราชภัฏจากผู้ทรงคุณวุฒิคือ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

                1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ.โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์ แกรนด์รีสอร์ท จ.พิษณุโลก เมื่อวันที่ 28-30 ตุลาคม 2545

                1.3 สำรวจความคิดเห็นของบัณฑิต เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546

                1.4 ดำเนินการประชุมเพื่อร่างหลักสูตร เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547 โดยมีคณะกรรมการร่างหลักสูตรตามคำสั่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ดังนี้

                        1.4.1  นางสาวดิศราวรรณ เลิศลาย - กศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) ,ศศ.ม. , Dip. TEFL, MA (Second Class Honours)
                        1.4.2 นางดาเรศ นฤมล - กศ.บ. , กศ.ม.
                        1.4.3 นายประจักร์ รอดอาวุธ - กศ.บ. , ศศ.ม.
                        1.4.4 นางจุฑาภรณ์ เจิมขุนทด - กศ.บ. , M.A. , Ph.D.
                        1.4.5 ว่าที่ร้อยโทสำราญ จันทร์ทอง - กศ.บ. , ศศ.ม.

                1.5 ศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง , มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และมหาวิทยาลัยบูรพา

                1.6 ประชุมปฏิบัติการวิพากษ์หลักสูตร ณ ห้อง 314 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เมื่อวันที่ โดยมีคณะกรรมการร่างหลักสูตร ที่ได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ดังนี้

                        1.6.1 นางสาวดิศราวรรณ เลิศลาย - กศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) , ศศ.ม. , Dip. TEFL, M.A. in Applied Linguistics ( Second Class Honours )
                        1.6.2 นางดาเรศ นฤมล - กศ.บ. , กศ.ม. Dip. in Applied Linguistics
                        1.6.3 นายประจักร์ รอดอาวุธ - กศ.บ. , ศศ.ม. ( ศึกษาต่อปริญญาเอก )
                        1.6.4 นางจุฑาภรณ์ เจิมขุนทด - กศ.บ. , M.A. , Ph.D.
                        1.6.5 ว่าที่ร.ท. สำราญ จันทร์ทอง - กศ.บ. , ศศ.ม. Dip. in TESL., Dip in Applied Ling.,  Cert. in Teacher Training.

                1.7 ประชุมปรับปรุงเพื่อแก้ไขหลักสูตร เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2548

                1.8 นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร

                1.9 คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกวิพากษ์หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาภาษาไทยเพื่ออาชีพ ดังรายนามต่อไปนี้

                        19.1. ผศ.สุภาพร พรพิบูลย์ - อ.บ. (ภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส)

                                -  ค.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ)
                                -  อ.บ. (ภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส)
                                -  ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) - Dip. TEFL
                                -  Cert. in Contemporary English Usage & Practice
                                -  Cert. in American Studies
                                -  Cert. in Secondary School Educator
                                -  Cert. in Reading at the Primary Level
                                -  Cert. in Business French

                        19.2. Ms.Chen Manhuan - ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) วิทยาลัยครูนครสวรรค์

                                -  ผู้เชี่ยวชาญในการสอนภาษาจีนให้กับนักเรียนไทย ณ. สมาคมฮากกา อดีตนักศึกษาทุน - UNESCO เดินทางจากประเทศจีนมาศึกษา
                                -  ระดับปริญญาตรี โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ ( ศศ.บ. ) ณ. วิทยาลัยครูนครสวรรค์

                        19.3. นายวิรัช ตั้งประดิษฐ์ - วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) บัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปีการศึกษา 2547

                                -  นายกสมาคมตงฮั้วนครสวรรค์
                                -  กรรมการสภาอุตสาหกรรม จังหวัดนครสวรรค์
                                -  ประธานกรรมการ บริษัท สยามโนวา (1975) จำกัด
                                -  รองประธานหอการค้าจังหวัดนครสวรรค์ (ฝ่ายเศรษฐกิจ)

                        19.4. นายปิติ อุตกฤษฏานนท์

                                -  พ.บ. (พาณิชยศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                -  ประกาศนียบัตรภาษาจีน จากมหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

2. คำวิพากษ์

        2.1 ข้อมูลของผู้วิพากษ์หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

            ชื่อ ผศ. สุภาพร พรพิบูลย์

                คุณวุฒิ - อบ. คบ. คม. (การสอนภาษาอังกฤษ)

                        -  Diploma in TEFL (Sydney University, Australia)
                        -  Cert. In Contemporary English language: usage and practice (Swansea University, Britain)
                        -  Cert. From American Studies Institute, The University of Illinois at Chicago, USA.
                        -  Cert. In Reading at the Primary Level, SEAMEO, RELC, Singapore

                ประสบการณ์

                        - อาจารย์สอนภาษาอังกฤษ หัวหน้าภาควิชาภาษาต่างประเทศ
                        - รองหัวหน้าคณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                        - อาจารย์ และอาจารย์ที่ปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์
                        - กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ สาขา หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                        - กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (ผู้แทนคณาจารย์)

                คำวิพากษ์

ข้อที่

คำวิพากษ์

รายการแก้ไข

1

    -  ร่างหลักสูตรกำหนดตามรายวิชาได้หลากหลาย สอดคล้องกับวิชา แต่รายละเอียดภาษาอังกฤษ ของบางวิชายังไม่สอดคล้องตรงกับภาคภาษาไทย เช่นวิชาที่ 22, 34 และ 36 และควร
       มีรายละเอียดของวิชาแกนระดับคณะให้ครบถ้วนทั้ง 2 วิชา คือ ภาษาอังกฤษเพื่อการอาชีพ และคอมพิวเตอร์เพื่อการอาชีพ

 

2

    -  ควรให้เจ้าของภาษาอังกฤษตรวจทานความถูกต้องด้านภาษาของหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษก่อนนำเสนอข้อทมูล เพื่อความสมบูรณ์ของหลักสูตร

 

3

    -  การกำหนดหน่วยกิตของวิชาภาษาอังกฤษ บังคับไม่ครบ จำนวนเต็มรวม 20 หน่วยกิต แต่หน่วยกิตรวมทุกวิชา มีเพียง 19 หน่วยกิต อาจจะเพิ่มวิชาที่ 16 หรือ 18 เป็น 3 หน่วยกิตก็ได้

 

4

    -  การกำหนดหน่วยกิตของวิชาเอก (ภาษาอังกฤษ)เลือก ยังไม่น่าจะเหมาะสมในประเด็นที่ว่า ได้กำหนดหน่วยกิตรวมของวิชากลุ่มนี้ไว้ 10 หน่วยกิต แต่รายวิชาสวนใหญ่มี 3 หน่วยกิต มี
       เพียง 2 รายวิชาเท่านั้นที่มี 2 หน่วยกิต ดังนั้นจึงเห็นควรปรับหน่วยกิตของบางรายวิชาให้มี 2 หน่วยกิตเพื่อให้การเลือกให้ครบ 10 หน่วยกิต สามารถยืดหยุ่นได้มากขึ้น

5

    -  วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเต็มรูปแบบควรจัดอยู่ในกลุ่มวิชาบังคับหรือวิชาแกน ไม่ควรอยู่ในกลุ่มวิชาเลือกเสรี

 

6

    -  วิชาที่ 10 Personality Development Career น่าจะเป็นส่วนหนึ่งของวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเต็มรูปแบบ โดยนำเอาวิชาที่ 26 หรือวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเต็มรูปแบบมา
       แทนวิชานี้

 

7

    -  มีความคลาดเคลื่อนในการพิมพ์หลายประการ เช่น ชื่อวิชาเดียวกันแต่พิมพ์ไม่ตรงกัน อาทิวิชาที่ 1, 9 การพิมพ์ตก พิมพ์ผิด เช่น ภาษาอังกฤษ ในหลายที่ ways of lift การพิมพ์ตัวอักษร
       ตัวใหญ่ตัวเล็ก การพิมพ์แยกคำ ดังที่ได้ทำเครื่องหมาย แก้ไขไว้ให้บ้าง ควรแก้ไขตรวจทานก่อนนำเสนอ เนื่องจากเป็นเอกสารข้อมูลทางวิชาการที่สำคัญที่จะต้องใช้ในการอ้างอิงต่อไป
       ข้อความทุกคำทุกตอนควรถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์

 

8

    -  ควรมีภาษาจีนเพิ่มเพื่อให้เป็นวิชาเลือกเสรีแก่นักศึกษาโปรแกรมหรือต่างโปรแกรมเพื่อเป็นพื้นฐานหรือให้โอกาสแก่ผู้ที่สนใจหรือ ต้องการปรับปรุงเพิ่มเติมความรู้ภาษาจีนได้

 

        2.2 ข้อมูลของผู้วิพากษ์หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

            ชื่อ นายปิติ  อุตกฤษฏานนท์

                คุณวุฒิ

                        -  พ.บ. (พาณิชยศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                        -  ประกาศนียบัตรภาษาจีน จากมหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

                ประสบการณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย

                        -  อาจารย์สอนภาษาจีนโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรนานาชาติ)

                คำวิพากษ์

ข้อที่

คำวิพากษ์

รายการแก้ไข

1

    -  การเรียนการสอนภาษาจีน ใช้ตัวอักษรแบบย่อ ( ) และตัวสะกดเสียงแบบ พิน-ฮิน (pin-yin Romanization) ซึ่งเป็นระบบที่จีนแผ่นดินใหญ่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1952 เพราะไทยมี
       ความสัมพันธ์ทางการฑูตกับจีนแผ่นดินใหญ่ และจะต้องมีการติดต่อกับทางจีนแผ่นดินใหญ่ มากกว่าทางใต้หวันอย่างแน่นอน
    -  ชั่วโมงการเรียนการสอนภาษาจีน บังคับ 14 หน่วยกิต เลือก 8 หน่วยกิต คิดว่ายังน้อยไป เพราะแค่เรียนภาษาจีนเบื้องต้นที่ใช้เวลาประมาณ 240 ชั่วโมง เข้าไปแล้ว แต่ถ้าวัตถุประสงค์
       เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารทั่ว ๆ ไป ในชีวิตประจำวันก็คิดว่าเหมาะสมดีแล้ว

 

2

    -  หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีนปัจจุบัน ( ) ที่สอนให้กับชาวต่างชาติ ในจีนแผ่นดินใหญ่นั้น เรียนกันประมาณสัปดาห์ละ 24 ชั่วโมง เรียนไปประมาณ 1 เทอม นักศึกษาเหล่านั้น
       สามารถพูดประโยคง่าย ๆ ที่สื่อสารในชีวิตประจำวันได้เท่านั้น ทั้งนี้ไม่ต้องพูดถึงเรื่องการอ่าน และการเขียน ต้องใช้เวลาคนละหลาย ๆ ปี กว่าจะฟังข่าวสารหรืออ่านหนังสือพิมพ์รู้เรื่อง
       แต่อาจจะมีนักศึกษาบางชาติ เช่น ญี่ปุ่น หรือ เกาหลี เรื่องการอ่านอาจจะเป็นเร็วกว่าชาติอื่น ๆ เพราะในภาษาของตัวเองก็มีอักษรจีนรวมอยู่ด้วยบางส่วน

 

    -  อาจจะเป็นความเข้าใจผิดของคนไทยบางคนที่คิดว่าภาษาจีนนั้นเรียนง่าย เพราะจีน –ไทยไม่ใช่อื่นไกล นอกจากจะยากที่ตัวอักษรแล้ว ผู้ใช้อักษรภาพ (เป็นภาษาเดียวในโลกที่ยังใช้
       ภาษาภาพอยู่) และยังมีเรื่องวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่สั่งสมกว่า 5,000 ปี ซึ่งก็อยู่ในตัวภาษานั่นเอง ดังนั้นภาษาจีนเป็นภาษาที่ยากที่สุดภาษาหนึ่งของโลก

3

    -  ถ้าหลักสูตรจะเน้นทางด้านธุรกิจ จริง ๆ ควรให้นักศึกษามีความรู้ทางกว้าง ๆ เกี่ยวกับข้อมูลธุรกิจ เช่น ลงเรียนวิชาบัญชี 2 ตัว พอที่จะอ่านงบการเงิน เข้าใจ ทั้งงบดุล และงบกำไรขาดทุน
       และรู้ที่มาของตัวเลขเหล่านั้น ลงวิชาการตลาด 1 ตัว, การเงินธุรกิจ 1 ตัว เพราะนักศึกษาที่มาเรียนต่อหลักสูตรนี้ จบมาทางด้านสายสามัญ ไม่ใช่ ทางสายอาชีวศึกษา โดยจะให้นักศึกษา
       ไปเรียนร่วมกับนักศึกษาภาคปกติ ในคณะที่เปิดสอนวิชาเหล่านี้ก็ได้

 

        2.3 ข้อมูลของผู้วิพากษ์หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

            ชื่อ นายวิรัช ตั้งประดิษฐ์

                คุณวุฒิ วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) บัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปีการศึกษา 2547

                        -  นายกสมาคมตงฮั้วนครสวรรค์
                        -  กรรมการสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์
                        -  ประธานกรรมการ บริษัท สยามโนวา (1975) จำกัด
                        -  รองประธานหอการค้าจังหวัดนครสวรรค์ (ฝ่ายเศรษฐกิจ)

                ประสบการณ์ จัดตั้งโรงเรียนสอนภาษาจีนในจังหวัดนครสวรรค์ และประสานงานกับสถาบันการศึกษาในประเทศจีน เพื่อแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษาระหว่างประเทศ

                คำวิพากษ์

ข้อที่

คำวิพากษ์

รายการแก้ไข

1

    -  ในการศึกษาภาษาต่างประเทศมีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการคือ การออกเสียง หลักภาษา และคำศัพท์ จึงควรศึกษา 3 ประการนี้ตามลำดับ โดยเฉพาะการออกเสียงนั้นยากที่สุดและ
สำคัญที่สุด ภาษาจีนก็นับได้ว่าเป็นภาษาต่างประเทศที่ต้องศึกษาที่คนไทยให้ความสนใจศึกษามากภาษาหนึ่งในการเรียนการสอนภาษาจีนขั้นพื้นฐานที่ปฏิบัติตามทฤษฎีดังกล่าว จึงนิยมจัดให้มีการเรียนและฝึกฝนการออกเสียงในระยะต้น โดยเฉพาะ เพื่อให้ผู้เรียนมีพื้นฐาน หรือความสามารถในการออกเสียงได้อย่างถูกต้อง หรือจะจัดให้มีการเรียนเรื่องการออกเสียง หลักภาษา และคำศัพท์ ไว้ในหลักสูตรขั้นพื้นฐานด้วยกัน โดยมีการฝึกฝนการออกเสียงตลอดวิชาขั้นพื้นฐาน นี่เป็นวิธีการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศอีกวิธีหนึ่ง ปัจจุบันมีชาวต่างชาติเดินทางไปเรียนภาษาที่ประเทศจีนมากขึ้น การสอนภาษาจีนให้กับชาวต่างชาตินั้น ชาวจีนเรียกว่า “ตุ้ยไว่ฮั้นอวี่เจียวเสว” ถือเป็นการสอนภาษาจีน เป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศที่มีความแตกต่างจากการสอนภาษาจีนเป็นภาษาแม่ค่อนข้างมาก มีการศึกษาเรื่องการสอนภาษาจีนให้กับชาวต่างชาติเป็นกรณีพิเศษ ขอบเขตการศึกษาประกอบด้วยทฤษฎี วิธีการสอน
การจัดทำตำรา การฝึกฝน ทางด้านเทคนิค วัฒนธรรมของภาษาและเรื่องการกำหนดรูปแบบโดยรวมเป็นต้น

 

2

    -  อักษรจีนเป็นอักษรภาพไม่สามารถสะกดเสียงได้ ซึ่งยุ่งยากสำหรับผู้เรียนเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะชาวต่างประเทศที่ไม่สามารถพูดภาษาจีนได้มาก่อน ดังนั้นในปี พ.ศ. 2501 คณะกรรมการ
ปฏิรูปอักษรแห่งประเทศจีน ได้นำอักษรลาติน A – Z เป็นเครื่องหมายกำกับการออกเสียง เรียกว่า “ฮั้นอวี่พินอิน” เป็นอักษรถอดเสียงอ่านที่ใช้อักษรลาตินเป็นเครื่องหมายตามหลักสากลและมีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะพิเศษของภาษาจีนกลาง และให้เรียนง่ายสำหรับชาวต่างประเทศทั่วไป และในประเทศจีนเองเด็ก ๆ เมื่อเริ่มเรียนต้องเรียนฮั้นอวี่พินอินหรืออักษรนี้เป็นสำคัญตรงกันข้ามหากนักศึกษาภาษาจีนไม่เข้าใจหลักการสะกดและหลักการออกเสียงก็สามารถออกเสียงภาษาจีนกลางได้มาตรฐาน การเรียนภาษาจีนกลางให้ได้มาตรฐานนั้น ก่อนอื่นต้องเข้าใจหลักการออกเสียงสามารถอ่านพยัญชนะและสระทุกตัวได้อย่างถูกต้องชัดเจน หากมีโอกาสได้ฝึกฝนการออกเสียงกับอาจารย์ ท่านที่ออกเสียงได้มาตรฐานก็จะเป็นการดี ฉะนั้นฮั้นอวี่พินอินหรือสัทอักษรจึงมีความสำคัญและมีคุณประโยชน์ต่อวงการศึกษาภาษาจีน โดยเฉพาะประเทศจีนเองสัทอักษรนี้ช่วยทำให้ประเทศที่กว้างใหญ่ มีประชากรมากมายเป็นพันล้านคนออกสำเนียงภาษาจีนมาตรฐานเดียวกันอนึ่ง นับตั้งแต่จีนแผ่นดินใหญ่เปิดประเทศเป็นต้นมา มีชาวต่างชาติหลั่งไหลเข้าไปประเทศจีนมากขึ้น เดียวกันฮั้นอวี่พินอินก็ได้เผยแพร่ออกไปสู่นานาประเทศพร้อมกับได้ขึ้นทะเบียนไว้กับ
    -  องค์การยูเนสโก องค์การสหประชาชาติเป็นที่เรียบร้อยแล้ว มหาวิทยาลัยทั่วโลกจะมีการสอนภาษาจีนก็นิยมใช้จึงเป็นวิธีการถอดเสียงที่ดีที่สุดในปัจจุบัน ยากที่จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็น
อย่างอื่น ฉะนั้นอาจารย์ผู้สอนภาษาจีนต้องเน้นให้ความสำคัญกับฮั้นอวี่พินอินเป็นอย่างมาก หากนักศึกษาไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้จะทำให้การเรียน – การสอนภาษาจีนกลางไม่ประสบผลดีแน่นอน สำหรับนักศึกษาภาษาจีนชาวไทยก็เริ่มต้นเรียนฮั้นอวี่พินอิน เห็นทีจะหลีกเลี่ยงได้ยากที่จะไม่ใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องช่วยความจำ แต่เนื่องจากมีข้อจำกัดมากมาย จึงไม่ควรนำมาใช้
กับการเรียนการสอนภาษาจีนที่อยู่ในระบบหรือในสถาบันการศึกษา

 

3

ควรเรียนอักษรตัวย่อหรือตัวเต็ม

    -  ปัจจุบันคนไทยทั่วไปที่ต้องการเรียนภาษาจีนกลาง มักจะพบกับคำถามสองคำคือ ควรเรียนอักษรจีนตัวเต็มหรือตัวย่อ คำถามทั้งสองนี้จะไม่เกิดขึ้นในประเทศจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวัน
อย่างแน่นอน เพราะตำราเรียนในประเทศจีนล้วนเป็นอักษรตัวย่อ ส่วนตำราเรียนไต้หวันเป็นตัวเต็ม การเรียนการสอนภาษาจีนของจีนโพ้นทะเล รวมทั้งประเทศไทยที่ผ่านมาล้วนใช้ตัวเต็มทั้งสิ้น แม้แต่หนังสือพิมพ์จีน 6 ฉบับในประเทศไทย ปัจจุบันยังพิมพ์เป็นแบบตัวเต็ม และมีกลุ่มคนที่รู้ภาษาจีนในสังคมไทยก็ยึดถือตัวเต็มเป็นหลัก ส่วนจีนแผ่นดินใหญ่ใช้ตัวย่อเป็นหลัก เพื่อความเหมาะสมทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การค้า สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทย ปัจจุบัน ได้เปลี่ยนหลักสูตรการสอนเป็นอักษรจีนตัวย่อในระยะเริ่มต้น และเมื่อเริ่มแตกฉานผู้รู้ตัวย่อสามารถเรียนตัวเต็มได้ไม่ยาก ขอเพียงมีตารางเปรียบเทียบอักษรจีนตัวย่อ – ตัวเต็มไว้ใช้ ปัญหาทั้งหมดจะจบลงด้วยดีตามความเป็นจริงอักษรจีนตัวย่อและตัวเต็มไม่ได้เป็นอักษรคนละระบบแต่อย่างใด เป็นเพียงอักษรที่มีอยู่ในระบบเดียวกัน แต่มีรูปแบบที่เขียนต่างกันจำนวนหนึ่งเท่านั้น เหตุผลที่จีนเลือกใช้ตัวย่อเพราะสะดวกต่อการเขียน การจำ ด้วยมีจำนวนขีดน้อยกว่า และเลือกตัวอักษรที่ใช้มากในชีวิตประจำวันจำนวนหนึ่งเท่านั้น และส่วนหนึ่งอีกจำนวนมากยังคงอักษรจีนเต็มไว้ คาดว่าอีกไม่นานอักษรตัวย่อคงถูกนำมาใช้มากขึ้นในประเทศไทยและต่างประเทศ รวมทั้งหนังสือพิมพ์และสิ่งตีพิมพ์ที่เป็นภาษาจีนด้วย อีกทั้งตำราสอนภาษาจีนที่พิมพ์ในประเทศไทยและจีนล้วนเป็นตัวย่อทั้งสิ้น

 

4

การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

    -  ปัจจุบันกระแสการเรียนภาษาจีนในประเทศไทยมีมาก และผู้เรียนชาวไทยต้องการอย่างยิ่ง คือ ความสามารถในการสนทนาภาษาจีน การที่จะให้ผู้เรียนภาษาจีนในเบื้องต้น พูดภาษาจีนด้วยบทสนทนาพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้นั้น จึงเป็นเรื่องที่ต้องพยายามค้นคว้าอย่างมาก แม้แต่ผู้เรียนภาษาจีนมาหลายปีแต่ไม่ได้ใช้เป็นเวลานาน จะเอ่ยปากสักคำก็ลำบากเหมือนกัน จึงมีคนจำนวนไม่น้อยเกิดความท้อแท้ใน เพราะเรียนแล้วไม่ได้ถูกนำไปใช้จุดอ่อนของตัวอักษรจีน คือ เป็นอักษรภาพ ไม่สามารถสะกดคำได้ ถูกพัฒนามาหลายพันปี การเล่าเรียนต้องอาศัยความจำ การฝึกฝน การมีความสามารถเขียนภาษาจีนได้ 500 ตัวภายใน 1 ปีนั้นมิใช่เรื่องง่ายเลยสำหรับชาวต่างชาติ การเรียนภาษาจีนให้ได้ผลดีต้องแบ่งบทเรียนออกเป็นบท ๆ ตามความเหมาะสมของแต่ละภาคการศึกษา แต่ละบทแบ่งเป็น 5 ส่วนใหญ่ ๆ คือ

    1. คำศัพท์และวลี
    2. ประโยคพื้นฐาน
    3. บทสนทนา
    4. คำอธิบายเพิ่มเติม
    5. แบบฝึกหัดการเขียนภาษาจีน

    -  โดยปกติบทหนึ่ง ๆ ใช้เวลาเรียน 10 ชั่วโมง การฝึกสนทนาก็จะเน้นให้ผู้เรียนพยายามแสดงความสามารถของตนเองออกมาอย่างเต็มที่ อาจารย์ผู้สอนต้องพยายามขยายเนื้อหาของบทสนทนาให้เข้ากับชีวิตประจำวันของคนไทย หลักการสำคัญ คือ ไม่ให้ท่องจำแบบนกแก้วนกขุนทอง แต่ควรหาวิธีสอนให้สนุกสนาน ภาษาจีนเป็นภาษาที่เพราะเหมือนเสียงดนตรี และก็มีที่มาอย่างน่าศึกษา มีหลักในการเขียน การจำ โดยเฉพาะสื่อการเรียนการสอน อาทิเช่น V.C.D. ที่สามารถฟังเสียงจากเจ้าของภาษา เพื่อให้นักศึกษาเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะการฟังและการพูดภาษาจีนกลางยากพอ ๆ กัน การจัดนันทนาการให้นักศึกษาแปล บทเพลงภาษาจีนหัดร้องเพลง ในสถาบันการศึกษาที่สอนภาษาจีนหลาย ๆ แห่งในประเทศไทยและต่างประเทศได้นำไปใช้และประเมินผลการเรียนออกมา ปรากฏว่าได้รับผลดีระดับหนึ่ง หากสามารถสนทนาภาษาจีนในระดับพื้นฐานได้แล้ว การเรียนการเขียนภาษาจีนจะง่ายขึ้น จะทำให้นักศึกษามีกำลังใจและรักที่จะศึกษาต่อไป การจะเขียนภาษาจีนได้ดีนั้นต้องฝึกฝนและศึกษาตลอดเวลา เพราะการเรียนภาษาจีนถือว่าเป็นทั้งความรู้และศิลปะอย่างไม่น่าเบื่อ

 

 

5

    -  อาจารย์ผู้สอนที่เชี่ยวชาญการสอนมีไม่พอ
    -  อาจารย์ผู้สอนที่มาจากประเทศจีนต้องเรียนรู้วิธีการสอนคนไทยมากกว่าปัจจุบัน และต้องสื่อสารภาษาไทยได้พอสมควร

 

6

ตำราสำหรับการเรียนการสอนภาษาจีน

   -  ตำราการเรียนภาษาจีนในปัจจุบันได้มีผู้ทรงคุณวุฒิพิมพ์ออกมาหลายฉบับ ตำราที่สถาบันนอนภาษาจีนใช้กันมากคือ ตำราเรียนภาษาจีนกลาง สำหรับนักเรียนไทยทั้ง 6 เล่ม ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ ตำราฝึกสนทนาภาษาจีนพร้อมแผ่น CD. ของอาจารย์ รติพร แซ่จ้าว เล่ม 1 และเล่ม 2 ( อ.รติพร แซ่จ้าว จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นหัวหน้าภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยชนชาติกวางสี ประเทศจีน ) ตำราเรียนภาษาจีน 301 คำ ของมหาวิทยาลัยภาษาปักกิ่ง ประเทศจีน

 
 

สรุป

    -  แม้ภาษาจีนจะเป็นภาษาต่างประเทศที่ไม่ยากสำหรับคนไทยเท่าไรนัก เนื่องจากมีลักษณะและวัฒนธรรมภาษาที่ใกล้เคียงกัน การเรียนรู้ภาษาต่างชาติภาษาใดภาษาหนึ่งจนสามารถนำไปใช้ได้ตามประสงค์นั้นย่อมมิอาจเว้นที่จะต้องเอาใจใส่ ไม่ท้อแท้ มีใจมั่นคงต่อการศึกษา อุทิศเวลาอย่างต่อเนื่องในการค้นคว้าการเรียนการสอนภาษาจีนและภาษาต่างชาติอื่น ๆ จะก้าวหน้าและประสบผลสำเร็จอย่างแน่นอน

 

        2.4 ข้อมูลของผู้วิพากษ์หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

            ชื่อ Manhuan นามสกุล Chen

                คุณวุฒิ

                        -  ศศ.บ. ( ภาษาอังกฤษ ) วิทยาลัยครู นครสวรรค์ , อดีตนักศึกษาทุน UNESCO จากประเทศจีน

                ประสบการณ์

                        -  สอนภาษาจีนที่โรงเรียนเทศบาลนครสวรรค์ ระดับ ป.1 – ป.5
                        -  สอนภาษาจีนที่โรงเรียนนครสวรรค์ ระดับ ม.4
                        -  สอนภาษาจีนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ระดับ ปริญญาตรี
                        -  สอนภาษาจีนที่สมาคมฮากกาแก่บุคคลทั่วไป
                        -  ฝึกงานที่บริษัท Seven-eleven ฝ่ายโฆษณา
                        -  ทำงานที่บริษัท ตากสิน จำกัด 4 ปี ตำแหน่ง ล่าม , ฝ่ายบุคคล , ฝ่ายธุรการ , ฝ่ายการตลาด
                        -  เป็นล่ามให้กับหน่วยงานราชการเพื่อการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างไทย – จีน เช่น เป็นล่ามให้ยูนิเซฟ
                        -  เป็นล่ามให้กับหน่วยงานเอกชนในท้องถิ่น

                คำวิพากษ์

ข้อที่

คำวิพากษ์

รายการแก้ไข

1

    -  การเรียนในห้องเรียนใช้ได้ เป็นมาตรฐาน

2

    -  การเรียนในแต่ละหัวข้อ ควรเพิ่มสถานที่ฝึกงานในแต่ละหัวข้อเข้าไปด้วย เช่น ภาษาจีนเพื่อการโรงแรมและการท่องเที่ยว การประเมินนักศึกษาว่าผ่านหรือไม่ผ่าน ควรให้นักศึกษาไป
       ฝึกกับบริษัททัวร์ที่รับนักท่องเที่ยวจีนมาเมืองไทย อย่างน้อย 10 วัน เพื่อจะมีโอกาสได้ใช้ภาษาจีนในสถานการณ์จริง

 

3

    -  เน้นการฝึกงาน

 

 

 

 

คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ที่ / 2548

เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิตสาขาวิชา

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ )

-------------------------------------------------

 

        เพื่อให้การร่างหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ( หลักสูตรนานาชาติ ) ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิผล จึงแต่งตั้งบุคคลต่อไปนี้เป็นคณะกรรมการร่างหลักสูตรดังกล่าว

                1. นางสาวดิศราวรรณ เลิศลาย ประธานกรรมการ

                2. นางดาเรศ นฤมล กรรมการ

                3. นายประจักร์ รอดอาวุธ กรรมการ

                4. นางจุฑาภรณ์ เจิมขุนทด กรรมการ

                5. ว่าที่ ร.ท. สำราญ จันทร์ทอง กรรมการและเลขานุการ

        ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 สั่ง ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

 

เสาวดี ธนวิภาคะนนท์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวดี ธนวิภาคะนนท์)    

คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

 3. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ)

        ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรปรับปรุง

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
(หลักสูตรนานาชาติ)

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ทางธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ)

วิชาเอก ภาษาอังกฤษ
วิชาโท ภาษาจีน

2

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
(หลักสูตรนานาชาติ)

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ)
(หลักสูตรนานาชาติ)

เปลี่ยนชื่อปริญญาใหม่

3

ปรัชญาของหลักสูตร

มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5 ข้อ

5 ข้อ

เปลี่ยนแปลงจากเดิม

5

หลักสูตร

     

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 142 หน่วยกิต

130 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

(99 หน่วยกิต)

(93 หน่วยกิต)

 

2.1 วิชาแกน

 

36หน่วยกิต

 

2.2 วิชาเอก

48 หน่วยกิต

30 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาโท

29 หน่วยกิต

20 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

7 หน่วยกิต

คงเดิม

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

9 หน่วยกิต

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

(3) วิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลข 7 หลัก จัดเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมทุกรายวิชาที่เปิดสอน

ปรับปรุงคำอธิบายใหม่รายวิชาเดิมที่ยังคงไว้และมีการเขียน
คำอธิบายรายวิชาใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย

 

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

4 คน

5 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

4 คน

5 คน

 

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

( หลักสูตรนานาชาติ )

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก