หลักสูตรศิลปบัณฑิต
สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

ภาคผนวก

 

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสาขาวิชา

 

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

 

สรุปคำวิพากย์หลักสูตร ฯ

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรใหม่
พุทธศักราช 2549

...........................................

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Geographical Informatics for Development

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา 
   Bachelor of Arts (Geographical Informatics for Development)
ชื่อย่อ : ศศ.บ. (ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา)
  B.A. (Geographical Informatics for Development) 

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

        มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับภูมิศาสตร์และสารสนเทศอย่างลึกซึ้ง ใฝ่รู้ สนใจหาความรู้ในศาสตร์สาขาอื่น ๆ มีทักษะในการแสวงหาองค์ความรู้ใหม่เพื่อนำไปสู่การพัฒนาภูมิสารสนเทศ โดยวิธีวิจัย มีความอดทน ขยันหมั่นเพียร ซื่อสัตย์และมุ่งมั่นต่อผลสำเร็จของงาน เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนและสังคม

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่จะเป็นกำลังในการพัฒนาสังคมโดยมุ่งที่คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ต่อไปนี้

                4.2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับภูมิศาสตร์และสารสนเทศ
                4.2.2 มีความสามารถในการนำหลักการ ทฤษฎี ปฏิบัติ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับภูมิศาสตร์และสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ พัฒนาตนและสังคม
                4.2.3 มีบุคลิกภาพดี มีภาวะผู้นำ เสียสละ รับผิดชอบ เป็นธรรม รับฟังความคิดผู้อื่นสุภาพ อ่อนโยน รู้กาลเทศะ มีคุณธรรม จริยธรรมและยึดมั่นในจรรยาบรรณของวิชาชีพ มีจิตสำนึกของความเป็นไทย รักและผูกพันต่อถิ่นเกิด ซาบซึ้งในศิลปะ
                        และวัฒนธรรมชาติ รู้คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือ
                กิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นางสาวกันยา จันทรวรชาต

    -  กศ.ม. (ภูมิศาสตร์)
    -  มศว.ประสานมิตร
    -  กศ.บ. (ภูมิศาสตร์)
    -  มศว.ประสานมิตร

ประสบการณ์การทำงาน

    -  รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
    -  ประธานโปรแกรมสังคมศึกษา

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

2

นายไชยา อู๋ชนะภัย

    -  วท.ม. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วท.บ. (ภูมิศาสตร์)
    -  มศว.ประสานมิตร

ประสบการณ์การทำงาน

    -  กรรมการโปรแกรมสังคมศึกษา
    -  กรรมการสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ ระดับ 7
    -  หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

- ประธานภาควิชาสังคมศาสตร์

3

นางจุไรวรรณ โพธิ์แก้ว

    -  ค.ม.(หลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  ค.บ.(สังคมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    -  กรรมการโปรแกรมสังคมศึกษา
    -  กรรมการสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ ระดับ 7
    -  หัวหน้าสาขาวิชาสังคมวิทยา

- ภูมิศาสตร์เมืองและชนบท

4

นายสุริย์ พันธุ์พงษ์

    -  กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  กศ.บ.(สังคมศึกษา) มศว.ประสานมิตร

ประสบการณ์การทำงาน

    -  ประธานโปรแกรมพัฒนาชุมชน
    -  ประธานโปรแกรมสังคมศึกษา

- กรรมการโปรแกรมสังคมศึกษา

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
    -  ชีวภูมิศาสตร์

5

Mrs.Suneeta Chuamon

    -  M.A.(Sociology and Economic)
    -  Poona University

ประสบการณ์การทำงาน

    -  กรรมการโปรแกรมภาษาต่างประเทศ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ประจำ

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นางสาวกันยา จันทรวรชาต

    -  กศ.ม. (ภูมิศาสตร์)
    -  มศว.ประสานมิตร
    -  กศ.บ. (ภูมิศาสตร์)
    -  มศว.ประสานมิตร

ประสบการณ์การทำงาน

    -  รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
    -  ประธานโปรแกรมสังคมศึกษา

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  การวิจัยทางภูมิศาสตร์
    -  สัมมนาทางสังคมศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
    -  การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผน
    -  นิเวศวิทยามนุษย์
    -  ชีวภูมิศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์เมืองและชนบท

2

นายไชยา อู๋ชนะภัย

    -  วท.ม. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วท.บ. (ภูมิศาสตร์) มศว.ประสานมิตร

ประสบการณ์การทำงาน

    -  กรรมการโปรแกรมสังคมศึกษา
    -  กรรมการสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ ระดับ 7
    -  หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะ ฯ
    -  ประธานภาควิชาสังคมศาสตร์

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  การวิจัยทางภูมิศาสตร์
    -  สัมมนาทางสังคมศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
    -  การแปลความหมายจากรูปถ่าย ฯ
    -  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น
    -  การทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์
    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผน
    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
    -  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ฯ
    -  ภูมิศาสตร์กายภาพ
    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
    -  ธรณีวิทยา
    -  แนวความคิดทางภูมิศาสตร์
    -  ชีวภูมิศาสตร์

3

นางจุไรวรรณ โพธิ์แก้ว

    -  ค.ม.(หลักสูตรและการสอน- สังคมศึกษา)
       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  ค.บ.(สังคมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    -  กรรมการโปรแกรมสังคมศึกษา
    -  กรรมการสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ ระดับ 7
    -  หัวหน้าสาขาวิชาสังคมวิทยา

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  สัมมนาทางสังคมศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ชีวภูมิศาสตร์

4

นายสุริย์ พันธุ์พงษ์

    -  กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  กศ.บ.(สังคมศึกษา) มศว.ประสานมิตร

ประสบการณ์การทำงาน

    -  ประธานโปรแกรมพัฒนาชุมชน
    -  ประธานโปรแกรมสังคมศึกษา
    -  กรรมการโปรแกรมสังคมศึกษา

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 3 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  สัมมนาทางสังคมศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
    -  นิเวศวิทยามนุษย์
    -  ชีวภูมิศาสตร์

5

Mrs.Suneeta Chuamon

    -  M.A.(Sociology and Economic) Poona University

ประสบการณ์การทำงาน

    -  กรรมการโปรแกรมภาษาต่างประเทศ

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

ตำแหน่งหน้าที่

    -  อาจารย์ประจำ

รายวิชาที่จัดให้สอน

    -  ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ
    -  ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ
    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  องค์กรและการจัดการ
    -  หลักการตลาด
    -  องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชน
    -  ภูมิศาสตร์และการอุตสาหกรรม
    -  แนวความคิดทางภูมิศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์การเมือง

6

นางสาววรรธนนันท์ ใจสะอาด

    -  วท.ม. (การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
      
มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  วท.บ. (อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยนเรศวร

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 3 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
    -  การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
    -  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น
    -  ภูมิศาสตร์กายภาพ
    -  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
    -  ภูมิศาสตร์เมืองและชนบท
    -  เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

        12.3 อาจารย์พิเศษ

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ์

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นายเสวก ใจสะอาด

    -  ศศ.ม. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    -  กศ.บ. (สังคมศึกษา) มศว. บางแสน

ประสบการณ์การทำงาน

    -  รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
    -  คณบดีคณะมนุษย์ ฯ
    -  ประธานโปรแกรมสังคมศึกษา

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 4 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  การวิจัยทางภูมิศาสตร์
    -  สัมมนาทางสังคมศาสตร์
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
    -  การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
    -  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น
    -  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    -  ภูมิศาสตร์กายภาพ
    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
    -  ธรณีวิทยา
    -  แนวความคิดทางภูมิศาสตร์
    -  ชีวภูมิศาสตร์

2

นายเจริญ ชนลักษณ์ดาว

    -  กศ.บ. (ภูมิศาสตร์) มศว.ประสานมิตร

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 4 เล่ม

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย
    -  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
    -  ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม
    -  ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
    -  การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและ ฯ
    -  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
    -  การใช้ที่ดิน
    -  แนวความคิดทางภูมิศาสตร์

3

นายอากร บัวคล้าย

    -  ผ.ม. (การวางแผนภาค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  นักผังเมือง 8 ว.

งานวิจัย

    -  4 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผังเมืองจังหวัดนครสวรรค์

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
    -  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น
    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
    -  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    -  การใช้ที่ดิน
    -  ภูมิศาสตร์เมืองและชนบท
    -  ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน
    -  ชีวภูมิศาสตร์
    -  องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชน

4

นายจงรัก ปลอดเหตุ

    -  วท.บ. (คอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

งานวิจัย

    -  5 เรื่อง
    -  พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศ 1 ระบบ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  กรรมการและผู้จัดการบริษัทเอ็นวี เทค

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผน
    -  แผนที่และการแปลความหมายแผนที่
    -  การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและ ฯ
    -  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น
    -  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    -  การใช้ที่ดิน
    -  องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชน

13. จำนวนนักศึกษา

        แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

40

รวม

40

80

120

160

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

-

40

40

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ลำดับที่

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่ (ห้อง)

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

1

อาคารเรียนคณะ

7

2

2

ห้องปฏิบัติการภูมิสารสนเทศ

1

1

3

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

1

1

4

ห้องฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

-

1

5

ห้องประชุม

1

-

        14.2 อุปกรณ์การสอน

ลำดับที่

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่ (เครื่อง)

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

1

เครื่องช่วยพูด

5

1

2

เครื่องฉายข้ามศีรษะ

2

-

3

เครื่อง LCD Projector

1

2

4

เครื่องวีดิโอ

1

-

5

เครื่องฉายสไลด์

1

-

6

กล้องถ่ายรูป

2

-

7

กล้องถ่ายรูปดิจิตอล

1

3

8

เครื่องรับโทรทัศน์

1

-

9

เครื่องถ่ายเอกสาร

-

1

10

จอภาพ

1

1

11

เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

4

20

15. ห้องสมุด

        15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ลำดับที่

ชื่อหนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะพอเพียง

1

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

15

20

2

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

1

5

3

การประเมินผลกระทบของนโยบายญาณอพยพ

1

5

4

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ(จุลสาร)

1

5

5

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2

5

6

การแปลความหมายในแผนที่และการถ่ายภาพทางอากาศ

1

20

7

การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2

5

8

การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม : ทางด้านสุนทรียภาพ

1

5

9

การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับการออกแบบสถาปัตยกรรม

1

5

10

การวิจัยทางภูมิศาสตร์

3

20

11

ธรณีวิทยา

10

20

12

ธรณีวิทยากายภาพ

2

5

13

ธรณีวิทยาประเทศไทย

1

5

14

ธรณีสัณฐานของลำน้ำตัดผ่านสันเขา

1

1

15

ธรณีสัณฐานประเทศไทยจากห่วงอากาศ

2

5

16

นิเวศวิทยา : สิ่งแวดล้อมกับการปรับปรุงความเป็นอยู่ของมนุษย์

1

5

17

นิเวศวิทยาของมนุษย์

2

20

18

แนวความคิดทางภูมิศาสตร์

3

10

19

แผนที่เขตเกษตรเศรษฐกิจระดับจังหวัด

1

5

20

แผนที่ความรู้ท้องถิ่นไทยภาคกลาง

1

5

21

แผนที่เมืองไทย 73 จังหวัด

1

5

22

แผนที่เล่มฉบับภาษาไทยโลกแอตลาส

2

5

23

แผนที่และการแปลความหมายจากแผนที่

4

20

24

แผนที่และความเข้าใจเกี่ยวกับแผนที่

1

5

25

แผนที่โลกปัจจุบัน

1

5

26

แผนที่สภาพแวดล้อม สถานที่ที่ถูกคุกคามตามธรรมชาติ

1

5

27

ภูมิศาสตร์ ภูมิคุ้มกันโรคปรสิตและโพรโทซัววิทยา

1

5

28

ภูมิศาสตร์ ส.513 ภูมิศาสตร์ภูมิภาคทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ

1

5

29

ภูมิศาสตร์กลุ่มประเทศสังคมนิยม

1

5

30

ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย : เอกสารประกอบการสัมมนาวันที่ 12 - 14 กันยายน 2543 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

2

2

31

ภูมิศาสตร์กายภาพ

18

20

32

ภูมิศาสตร์กายภาพ ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ. 4-5)

2

2

33

ภูมิศาสตร์กายภาพของประเทศไทย

1

5

34

ภูมิศาสตร์กายภาพจังหวัดระนอง

1

5

35

ภูมิศาสตร์กายภาพแนวบูรณาการ

1

5

36

ภูมิศาสตร์กายภาพเบื้องต้นกับชีวิต

1

5

37

ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย

2

5

38

ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย 1

1

5

39

ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย 2

1

5

40

ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย 3

1

5

41

ภูมิศาสตร์กายภาพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1

5

42

ภูมิศาสตร์การเกษตร

1

20

43

ภูมิศาสตร์การเกษตรเชิงวิเคราะห์ การพัฒนาพื้นที่ : การวิเคราะห์เชิงภูมิศาสตร์การเกษตร

2

5

44

ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน

2

10

45

ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว

2

5

46

ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย

5

20

47

ภูมิศาสตร์การเมือง

7

10

48

ภูมิศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ

1

5

49

ภูมิศาสตร์การเมืองอาเซียน

1

5

50

ภูมิศาสตร์ขนส่ง

1

5

51

ภูมิศาสตร์เขตร้อน

1

5

52

ภูมิศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา

1

5

53

ภูมิศาสตร์ชนบท

3

20

54

ภูมิศาสตร์ญี่ปุ่น(แบบศึกษาด้วยตนเอง)

1

5

55

ภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป

2

5

56

ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือและอารยะธรรม

1

5

57

ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย

5

5

58

ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น

3

10

59

ภูมิศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี

1

5

60

ภูมิศาสตร์ท่องเที่ยวภาคใต้

1

5

61

ภูมิศาสตร์ท่องเที่ยวภาคเหนือ

1

5

62

ภูมิศาสตร์ธรรมชาติ

2

5

63

ภูมิศาสตร์ธรรมชาติจังหวัดเพชรบุรี

1

5

64

ภูมิศาสตร์ประชากร(แบบศึกษาด้วยตนเอง)

1

20

65

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

14

20

66

ภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์

1

5

67

ภูมิศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศไทย

2

5

68

ภูมิศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1

5

69

ภูมิศาสตร์ภาคใต้ : ภูมิรัฐศาสตร์กับการศึกษาภาคสนามทางภูมิศาสตร์ท้องถิ่น

1

5

70

ภูมิศาสตร์ภูมิภาค

1

5

71

ภูมิศาสตร์ภูมิภาค ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.4-5)

3

3

72

ภูมิศาสตร์ภูมิภาคประเทศไทย

1

5

73

ภูมิศาสตร์เมือง

2

20

74

ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม

4

10

75

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ

8

20

76

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจประเทศไทย

5

5

77

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจประเทศไทยเชิงวิเคราะห์

1

5

78

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจและทรัพยากรธรรมชาติ

2

5

79

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจโลก

2

5

80

ภูมิศาสตร์สภาพแวดล้อม

1

10

81

ภูมิศาสตร์อเมริกันโดยสังเขป

1

5

82

ภูมิศาสตร์ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก

1

5

83

ภูมิศาสตร์ออสเตรเลียแลกโอเชียเนีย

1

5

84

ภูมิศาสตร์อุตสาหกรรม : แนววิเคราะห์ระดับจุลภาค

1

20

85

ภูมิศาสตร์เองโกลอเมริกา

2

5

86

ภูมิศาสตร์เอเชีย

3

5

87

ภูมิศาสตร์แอฟริกา

1

5

88

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ : หลักการเบื้องต้น

1

20

89

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการบริหารภาครัฐ

1

5

90

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนพัฒนาเกษตร

1

5

91

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ลุ่มน้ำภาคเหนือ

1

5

92

อุตุนิยมวิทยา

9

10

93

อุตุนิยมวิทยาเกษตร

2

5

94

อุทกภัย

1

1

95

อุทกภูมิศาสตร์(แบบศึกษาด้วยตนเอง)

1

5

96

อุทกวิทยา

1

10

97

อุทกวิทยาประยุกต์

2

2

98

A Photographic geography for Certificate Examinations

1

2

99

Advanced practical geography

1

2

100

An Advanced Geography of Northern and Western Europe

1

2

101

Certificate physical and human geography

1

2

102

Certificate physical and human geography

1

2

103

Chiang Mai the tranquil valley

1

2

104

Cultural Geography

1

2

105

Directions in Geography

1

2

106

Diversity amid globalization : world regions environment, development

1

2

107

Earth Treasures rocks and minerals

1

2

108

Economic Geography

1

2

109

Elements of geographical hydrology

1

2

110

Elements of physical geography

1

2

111

Elements of physical geography

1

2

112

Essentials of physical geography

1

2

113

Fundamentals of Physical

1

2

114

Geographical worlds

1

2

115

Geography : a modern synthesis

1

2

116

Geography and the geography teacher

1

2

117

Geography and Younger children

1

2

118

Geography of Our American Neigh bore

1

2

119

Geography of the Old World

1

2

120

Geography regions & concepts

1

2

121

Geo systems

1

2

122

Certificate Regional Geography Monsoon Asia

1

2

123

Human geography

1

2

124

Human geography in action

1

2

125

Human geography, society, and space

1

2

126

Human geography : landscapes of human activities

1

2

127

Introducing cultural geography

1

2

128

Introducing physical geography

1

2

129

Introduction to Geography

1

2

130

Introductory economic geography

1

2

131

Introducing Physical Geography

3

3

132

Laboratory Manual in Physical Geology

1

2

133

Land and People

1

2

134

Multiple choice geography, questions for first examinations and revision

1

2

135

Our Big World, Geography for Today's World

1

2

136

Oxford progressive geography

1

2

137

Physical Geography

2

2

138

Physical Geography

1

2

139

Physical Geography

2

2

140

Physical geography : science and systems of the human environment

1

2

141

Physical geography : science and systems of the human environment

1

2

142

Physical geography in diagrams

1

2

143

Physical geography today a part of a planet

1

2

144

Physical Geology Earth Revealed

1

2

145

Physical Geology Exploring the Earth

1

2

146

Places and regions in global context : human geography

1

2

147

Places and regions in global context : human geography

1

2

148

Political Geography

1

2

149

Political geography : territory, state, and society

1

2

150

Principles of Geography

1

2

151

Quantitative methods in geography

1

2

152

Regional geography of the world

1

2

153

Round the world handbook

1

2

154

Success in geography

1

2

155

Systematic political geography

1

2

156

Thailand The New Siam

1

2

157

The changing earth and its people

1

2

158

The geography of economic systems

1

2

159

The land and wildlife of Australia

2

2

160

The Land and wildlife of Australia

1

2

161

The United States in the Western world

1

2

162

The world’s wild places.

1

2

163

Tropical Geography

1

2

164

Tropical geography, an introduction study of the humid tropics

1

2

165

USA, Its Geography Growth

1

2

166

Webster' s Geographical Dictionary

1

2

167

World Geography

2

2

168

World Geography

1

2

169

World regional geography : a development approach

1

2

        15.2 ชื่อวารสารและเอกสารอื่น ๆ

ลำดับที่

ชื่อวารสารและเอกสารอื่น ๆ

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะพอเพียง

1

เทคโนโลยีชีวปริทรรศน์

1

2

2

เทคโนโลยีการเกษตร

1

2

3

เทคโนโลยีชาวบ้าน

1

2

4

ไทยศึกษา

1

2

5

พลังงาน

1

2

6

นโยบายพลังงาน

1

5

7

มูลนิธิชัยพัฒนา

1

2

8

มนุษย์สาร

1

2

9

โลกพลังงาน

1

5

10

โลกสีเขียว

1

5

11

วิทยาจารย์

1

5

12

โลกการค้า

1

5

13

วิชาการ

1

5

14

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1

5

15

สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

1

3

16

ศึกษาศาสตร์

1

3

17

ศรีนครินทรวิโรฒ

1

5

18

ศิลปากร

1

5

19

สาธารณสุขศาสตร์

1

3

20

สิ่งแวดล้อม มก.

1

5

21

อนามัยสิ่งแวดล้อม

1

5

22

มติชนสุดสัปดาห์

1

3

23

เนชั่นสุดสัปดาห์

1

3

24

สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์

1

3

        15.3 รายชื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์

                การสืบค้นจากเว็บไซต์ http://127.0.0.1:5432/HWWMDS/Main.nsp ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สามารถสืบค้น วารสาร (Journal) ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ทั่วโลก           

        15.4 แหล่งวิทยาการฝึกงาน

                1. แหล่งวิทยาการ

                        3.1.1 อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
                        3.1.2 วนอุทยาน
                        3.1.3 ผังเมืองจังหวัด
                        3.1.4 องค์กรบริหารส่วนจังหวัด
                        3.1.5 องค์กรบริหารส่วนตำบล
                        3.1.6 เทศบาล

                2. แหล่งฝึกงาน

                        3.2.1 องค์กรบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์
                        3.2.2 องค์กรบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดนครสวรรค์
                        3.2.3 ผังเมืองจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานีและชัยนาท
                        3.2.4 สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานีและชัยนาท

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ

2549

2550

2551

2552

2553

งบดำเนินการ

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

    -  ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

 

50,000

60,000

150,000

 

50,000

60,000

150,000

 

40,000

60,000

150,000

 

35,000

60,000

100,000

 

30,000

60,000

100,000

 

260,000

260,000

250,000

195,000

190,000

งบลงทุน

ค่าครุภัณฑ์

 

300,000

 

200,000

 

100,000

 

75,000

 

50,000

รวมงบลงทุน

300,000

200,000

100,000

75,000

50,000

รวมทั้งหมด

560,000

460,000

350,000

270,000

240,000

17. หลักสูตร (หลักสูตรแบบเอกเดี่ยว)

        หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาชาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 130 หน่วยกิต โดยศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามโครงสร้าง องค์ประกอบและข้อกำหนดของหลักสูตร ดังนี้

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

    1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

    2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

    3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

    4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

93

    1. วิชาแกน

30

    2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ

39

    3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

17

    4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

7

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

130

        17.3 รายวิชา และจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 93 หน่วยกิต แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

            (1) วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3(3-0-6)

 

English for Learning

 

2313701

ภาษาอังกฤษสำหรับมนุษย์ศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Humanities

 

2452314

องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชน

3(3-0-6)

 

Government Organization and Non - Government Organization

 

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

General Economic

 

2441401

แผนที่และการแปลความหมายจากแผนที่

3(3-0-6)

 

Map and Map Interpretation

 

2442402

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น

3(2-2-5)

 

Introduction to Geographic Information System

 

2442403

การทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์

3(3-0-6)

 

Computer Mapping

 

2442404

การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม

3(3-0-6)

 

Aerial Photo and Remote sensing Interpretation

 

2443901

การวิจัยทางภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Research in Geography

 

2444902

สัมมนาทางภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Seminar in Geography

 

            (2) วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 39 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2442701

ภูมิศาสตร์กายภาพ

3(3-0-6)

 

Physical Geography

 

2443201

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

3(3-0-6)

 

Geography of Thailand

 

2442702

ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย

3(3-0-6)

 

Geography of Thai Tourism

 

2443405

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผน

3(2-2-5)

 

Geographic Information System for Planning

 

2443703

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

Natural Resources and Environmental management

2444704

ภูมิศาสตร์ประชากร

3(3-0-6)

 

Population Geography

 

2443705

ภูมิศาสตร์การเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Geography

 

2442706

การใช้ที่ดิน

3(3-0-6)

 

Land use

 

2444406

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการ

3(2-2-5)

 

Geographic Database Management System

 

2442707

นิเวศวิทยามนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Ecology

 

2443708

ผังเมือง

3(3-0-6)

 

Urban planning

 

2443709

ภูมิศาสตร์การตลาดและการอุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Geography of Marketing and Manufacturing

 

2443710

การประเมินผลกระทบ

3(3-0-6)

 

Impact Assessment

 

            (3.) วิชาเฉพาะด้าน เลือก เรียนไม่น้อยกว่า 17 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2443711

ภูมิศาสตร์เมืองและชนบท

3(3-0-6)

 

Urban and Rural Geography

 

2443301

ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Geography

 

2443712

ธรณีวิทยา

3(3-0-6)

 

Geology

 

2443713

อุตุนิยมวิทยา

3(3-0-6)

 

Meteorology

 

2443714

ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม

3(3-0-6)

 

Cultural Geography

 

2443715

ชีวภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Biogeography

 

2444719

ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน

3(3-0-6)

 

Settlement Geography

 

2442101

แนวความคิดทางภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Geographical Thought

 

2443717

อุทกวิทยา

3(3-0-6)

 

Hydrology

 

2443718

อากาศวิทยา

3(3-0-6)

 

Climatology

 

2443719

ภูมิศาสตร์การเมือง

3(3-0-6)

 

Political Geography

 

2443720

ภูมิศาสตร์พื้นที่ชุ่มน้ำ

3(3-0-6)

 

Wetland Geography

 

2443721

ภูมิศาสตร์การแพทย์

3(3-0-6)

 

Medical Geography

 

2444722

สิ่งแวดล้อมชนบทและเมือง

3(3-0-6)

 

Rural and urban Environment

 

2444723

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ

3(3-0-6)

 

Economic Geography

 

2442302

ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก

3(3-0-6)

 

Regional Geography of the World

 

2453411

สิทธิมนุษยชนศึกษา

3(3-0-6)

 

Human Right Study

 

3211101

องค์การและการจัดการ

3(3-0-6)

 

Organization and Management

 

3221101

หลักการตลาด

3(3-0-6)

 

Principles of Marketing

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

            (4) วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 7 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2443801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2(60)

2444801

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

            ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ

        17.4 แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

 

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

 

2441401

แผนที่และการแปลความหมายจากแผนที่

3(2-2-5)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2(2-0-4)

เลือก

1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2(2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2(2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

 

xxxxxxx

เฉพาะด้านเลือก

2 (x-x-x)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

เลือก

1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2(2-0-4)

รวม

15

 
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3(3-0-6)

 

2442701

ภูมิศาสตร์กายภาพ

3(2-2-5)

 

2442101

แนวความคิดทางภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

2442707

นิเวศวิทยามนุษย์

3(3-0-6)

 

2442402

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น

3(2-2-5)

 

2442404

การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม

3(2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

3(3-0-6)

 

รวม

21

 
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2442302

ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก

3(3-0-6)

2442403

การทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์

3(2-2-5)

 

2452314

องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชน

3(3-0-6)

 

2442702

ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย

3(2-2-5)

 

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

2442706

การใช้ที่ดิน

3(3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

3(3-0-6)

 

รวม

21

 
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2443703

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

 

2443705

ภูมิศาสตร์การเกษตร

3(3-0-6)

 

2443710

การประเมินผลกระทบ

3(3-0-6)

 

2443713

อุตุนิยมวิทยา

3(3-0-6)

 

2443405

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผน

3(2-2-5)

 

2313701

ภาษาอังกฤษสำหรับมนุษย์ศาสตร์

3(3-0-6)

 

2443708

ผังเมือง

3(2-2-5)

 

รวม

21

 
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2443709

ภูมิศาสตร์การตลาดและการอุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

2443901

การวิจัยทางภูมิศาสตร์

3(2-2-5)

 

2443201

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

3(3-0-6)

 

2443301

ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

2443801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2(60)

 

รวม

14

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2444801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

 

รวม

5

 
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2444723

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ

3(3-0-6)

 

2444704

ภูมิศาสตร์ประชากร

3(3-0-6)

 

2444902

การสัมมนาทางภูมิศาสตร์

3(0-4-5)

 

2444406

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการ

3(2-2-5)

 

รวม

12

 

รวมทั้งหมด

130

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป         

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต

รายวิชา 2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3(3-0-6)

 

English for Learning

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 2313701

ภาษาอังกฤษสำหรับมนุษย์ศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Humanities

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดี มานุษยวิทยา วัฒนธรรม โบรานคดี เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2441401

แผนที่และการแปลความหมายจากแผนที่

3(3-0-6)

 

Map and Map Interpretation

 

        ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่ องค์ประกอบของแผนที่ การอ่าน การตีความ การใช้แผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วนต่างๆ ให้ฝึกฝนการอ่าน การตีความ และให้มีการปฏิบัติการภาคสนามโดยใช้แผนที่ภูมิประเทศประกอบการศึกษา

รายวิชา 2442402

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น

3(2-2-5)

 

Introduction to Geographic Information System

 

        ศึกษาแหล่งและระเบียบวิธีการรวบรวมข้อมูลสถิติด้านภูมิศาสตร์ ได้แก่ ข้อมูลกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร ด้วยวิธีการต่าง ๆ หรือใช้คอมพิวเตอร์ เทคนิคการประยุกต์ใช้ การจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในพื้นที่อย่างเป็นระบบ

รายวิชา 2442403

การทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์

3(3-0-6)

 

Computer Mapping

 

        วิธีการออกแบบและการเขียนแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปแบบต่าง ๆ ในการสร้างและวิเคราะห์แผนที่ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางภูมิศาสตร์

รายวิชา 2442404

การแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม

3(3-0-6)

 

Aerial Photo and Remote sensing Interpretation

 

        ศึกษาลักษณะและความสำคัญของรูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียมกระบวนการก่อนประมวลผลข้อมูล เช่น การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต การเน้นข้อมูล การซ้อนภาพเป็นต้น การอ่าน การวิเคราะห์และแปลความหมายลักษณะของสิ่งต่างๆที่ปรากฏ กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล การจำแนกประเภทข้อมูล การตกแต่งข้อมูล การประยุกต์ใช้และการปฏิบัติภาคสนาม

รายวิชา 2443901

การวิจัยทางภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Research in Geography

 

        ศึกษาวิธีและรูปแบบการวิจัยทางภูมิศาสตร์ การวางแผน การเลือกหัวข้อและการทำเค้าโครง การสมมติฐาน การเก็บและรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ การเขียนรายงานการวิจัยและฝึกปฏิบัติการวิจัยทางภูมิศาสตร์

รายวิชา 2444902

สัมมนาภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Seminar in Geography

 

        สัมมนาปัญหาเฉพาะเรื่องทางภูมิศาสตร์จากการศึกษาปัญหาพิเศษหรือการวิจัยทางภูมิศาสตร์ หรือการศึกษาปัญหาเฉพาะเรื่องใหม่ ตามที่สนใจเกี่ยวกับภูมิศาสตร์กายภาพ วัฒนธรรม ประชากร สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสิ่งแวดล้อม และเขียนรายงานผลเชิงการวิจัยและการเสนอผลการศึกษาเป็นรายบุคคล โดยอาจจัดสัมมนาทางวิชาการเต็มรูปอย่างน้อย 1 ครั้ง หรือจะนำผลการศึกษาไปเสนอในการประชุมสัมมนาภูมิศาสตร์แห่งชาติหรือการสัมมนาทางภูมิศาสตร์ระหว่างสถาบันต่าง ๆ อย่างใดอย่างหนึ่ง

รายวิชา 2452314

องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชน

3(3-0-6)

 

Government Organization and Non-Government Organization

 

        ศึกษาปรัชญา วัตถุประสงค์ กรอบความคิด โครงสร้างองค์กร และวิธีการจัดองค์กร องค์กรภาครัฐ วิสาหกิจและองค์กรเอกชนอื่น ๆ โดยศึกษาหน่วยงานราชการระดับต่าง ๆ เช่น กระทรวง กรม กอง รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน เช่น บริษัทและมูลนิธิต่าง ๆ เพื่อพิจารณาความสอดคล้อง แตกต่างและสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับองค์กรเพื่อการพัฒนาองค์กร

รายวิชา 3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

General Economics

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐสาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และกลไกทำงานของระบบราคา สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวันเพื่อการประกอบธุรกิจ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตลาด สถาบันการเงิน การภาษีอากร การค้า การลงทุน ปัญหาเศรษฐกิจและแนวทางการแก้ไขปัญหา

 

            3. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 39 หน่วยกิต

รายวิชา 2442701

ภูมิศาสตร์กายภาพ

3(3-0-6)

 

Physical Geography

 

        ศึกษาปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างเป็นระบบเชิงภูมิศาสตร์ เกี่ยวกับการโคจรของโลก โครงสร้างภูมิประเทศ ดิน หิน แร่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวโลก สภาพทางภูมิอากาศ น้ำ พืช สัตว์ และความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ดังกล่าวกับการดำรงชีวิตมนุษย์

รายวิชา 2442702

ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย

3(3-0-6)

 

Geography of Thai Tourism

 

        ศึกษาสภาพทางภูมิศาสตร์ของแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย เกี่ยวกับที่ตั้งการเข้าถึงและเส้นทางการคมนาคม สภาพทางธรรมชาติและการดำเนินการของแหล่งท่องเที่ยว สภาพทางด้านวัฒนธรรมและประวัติของแหล่งท่องเที่ยว ประเภทของแหล่งท่องเที่ยว องค์ประกอบที่เหมาะสมสำหรับการท่องเที่ยว สถานบริการและหน่วยงานที่ดำเนินงานการท่องเที่ยว การวางแผน จรรยาบรรณของนักภูมิศาสตร์สำหรับการจัดการท่องเที่ยวและฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม

รายวิชา 2442706

การใช้ที่ดิน

3(3-0-6)

 

Land use

 

        ศึกษาลักษณะ รูปแบบการใช้ที่ดินหลักเกณฑ์การจำแนกสมรรถนะที่ดิน การวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการพัฒนา การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์จากที่ดินของภูมิภาคชนบทและเมือง

รายวิชา 2442707

นิเวศวิทยามนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Ecology

 

        ศึกษาความหมาย ขอบข่ายของนิเวศวิทยามนุษย์ความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศธรรมชาติกับระบบนิเวศน์มนุษย์ ประยุกต์แนวคิดด้านโครงสร้างหน้าที่ของระบบนิเวศ กับกิจกรรมของมนุษย์ เช่นการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว เป็นต้นไป

รายวิชา 2443201

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

3(3-0-6)

 

Geography of Thailand

 

        ศึกษาลักษณะภูมิศาสตร์ของประเทศเกี่ยวกับที่ตั้ง และขนาดบริเวณแวดล้อม พรมแดน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยเน้นถึงความสำคัญของการกระจายทางพื้นที่ขององค์ประกอบเหล่านี้ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

รายวิชา 2443405

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผน

3(2-2-5)

 

Geographic Information System for Planning

 

        ศึกษาการสำรวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนและพัฒนาสำหรับงานเฉพาะด้าน ได้แก่ การวางผังชุมชน การกำหนดเขตการปกครอง การจำแนกสมรรถภาพทางพื้นที่ การประยุกต์ใช้และการปฏิบัติภาคสนาม

รายวิชา 2443703

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Natural Resources and Environmental management

 

        ศึกษาความหมายประเภทลักษณะและขอบเขตของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคม – วัฒนธรรมตามแผนพัฒนาประทศแนวนโยบายแห่งรัฐ กฎหมายและการส่งเสริมภาครัฐและภาคเอกชน การมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่ายองค์กรการพัฒนาแบบยั่งยืน การส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรการเกษตรตลอดจนข้อตกลงและพันธกรณีการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ และการปฏิบัติภาคสนาม

รายวิชา 2443705

ภูมิศาสตร์การเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Geography

 

        ศึกษารูปแบบของการเกษตรกรรม ปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดินและปัญหาการใช้ที่ดินด้านการเกษตรกรรม ได้แก่ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง และการทำป่าไม้ การแบ่งภูมิภาคด้านการเกษตรของไทย ลักษณะการเกษตรกรรมหลักของแต่ละภูมิภาค แนวทางการพัฒนาเกษตรกรรมของภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย

รายวิชา 2443708

ผังเมือง

3(3-0-6)

 

Urban planning

 

        ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการกำเนิด เติบโตและการเสื่อมถอยของเมือง ปัจจัยต่างทีมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง บทบาทและหน้าที่ของเมืองแต่ละประเภท แนวนโยบายในการพัฒนาและองค์ประกอบอื่นที่ใช้ในการวางผังเมือง

รายวิชา 2443709

ภูมิศาสตร์การตลาดและการอุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Geography of Marketing and Manufacturing

 

        ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม ทฤษฎีแบบคลาสสิคเกี่ยวกับที่ตั้งโรงงาน และแนวความคิดเชิงพฤติกรรมเกี่ยวกับที่ตั้งโรงงานซึ่งเน้นสถานประกอบการอุตสาหกรรมในฐานะที่เป็นองค์กร การใช้หลักเกณฑ์ในภูมิศาสตร์อุตสาหกรรมประกอบการวางแผนอุตสาหกรรมทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ

รายวิชา 2443710

การประเมินผลกระทบ

3(3-0-6)

 

Impact Assessment

 

        การวิเคราะห์ผลกระทบที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางด้านชีวเคมี Geobiochemical environment และครอบคลุมประเด็นทางสังคม เศรษฐกิจ SIA: Social Impact Assessment ที่เป็นไปอย่างมีระบบ นับตั้งแต่ก่อนเกิดโครงการ และช่วงดำเนินโครงการ เพื่อให้เห็นผลกระทบทั้งมวลและหาทางเลือกและทางออกให้กับโครงการในกรณีที่เกิดผลกระทบในระดับรุนแรง

รายวิชา 2444406

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการ

3(2-2-5)

 

Geographic Database Management System

 

        ศึกษาแนวความคิด หลักการ ทฤษฎีเกี่ยวกับนโยบายรัฐ ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาการใช้ที่ดินด้านต่าง ๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การส่งเสริมการท่องเที่ยว ปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดิน การแปลงเป็นฐานข้อมูลสารสนเทศ รวมถึงเทคนิคการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไข อนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์และวางแผนการพัฒนาอย่างยั่งยืน

รายวิชา 2444704

ภูมิศาสตร์ประชากร

3(3-0-6)

 

Population Geography

 

        ศึกษาเกี่ยวกับประชากรในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรในภูมภาคนั้น ๆ เช่น จำนวนการกระจายความหนาแน่น การย้ายถิ่น คุณภาพ และปัญหาของประชากร

 

            4. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน เลือก จำนวน 15 หน่วยกิต

รายวิชา 2442101

แนวความคิดทางภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Geographical Thought

 

        ศึกษาที่มาและวิวัฒนาการของแนวความคิดทางภูมิศาสตร์ ในเชิงวิวัฒนาการ โดยเน้นหลักปรัชญาและวิธีการศึกษาของนักภูมิศาสตร์ชั้นนำของชาติต่าง ๆ

รายวิชา 2442302

ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก

3(3-0-6)

 

Regional Geography of the World

 

        ศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ เกี่ยวกับเกณฑ์ในการพิจารณาแบ่งภูมิภาคต่างๆ ของโลก ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ และเปรียบเทียบปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมในแต่ละภูมิภาค

รายวิชา 2443301

ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Geography

 

        ศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ของท้องถิ่นทางสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจประชากร ระบบโครงสร้างพื้นฐานและสถาบันทางสังคม วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขท้องถิ่นให้นักศึกษาฝึกเก็บข้อมูลในภาคสนาม แล้วนำมาวิเคราะห์สภาพท้องถิ่น

รายวิชา 2443711

ภูมิศาสตร์เมืองและชนบท

3(3-0-6)

 

Urban and Rural Geography

 

        ศึกษาแนวความคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับเมืองและชนบท รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน ประชากร ลักษณะเศรษฐกิจ สังคม การใช้ที่ดิน ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการขยายตัว การเติบโตหรือความเสื่อมถอย ของภูมิภาคเมืองและชนบทและปัญหาอันสืบเนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ทั้งในอดีตและในปัจจุบัน

รายวิชา 2443712

ธรณีวิทยา

3(3-0-6)

 

Geology

 

        ศึกษาหลักเกณฑ์ทั่วไปทางธรณีวิทยา ธรณีวิทยาโครงสร้าง แร่และหิน กระบวนการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลง ประวัติการเกิดโลก การลำดับยุคทางธรณีวิทยา ธรณีวิทยา ประเทศไทยและการปฏิบัติการภาคสนาม

รายวิชา 2443713

อุตุนิยมวิทยา

3(3-0-6)

 

Meteorology

 

        ศึกษาองค์ประกอบอุตินิยมวิทยาทางกายภาพ ได้แก่ ความกด อุณหภูมิ ความชื้นลม เมฆ หยาดน้ำฝน ทัศนวิสัย และแสงแดด ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศกับพื้นโลก มหาสมุทรและสิ่งมีชีวิต การใช้แผนที่พยากรณ์อากาศ

รายวิชา 2443714

ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม

3(3-0-6)

 

Cultural Geography

 

        ศึกษาองค์ประกอบทางด้านภูมิศาสตร์ กับลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ ที่ส่งผลให้เกิดรูปแบบของการดำรงชีวิตของมนุษย์ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ได้แก่ การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ระดับความก้าวหน้าทางวิทยาการ การใช้ที่ดินแบบต่าง ๆ ลักษณะความแตกต่างทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและการปกครอง

รายวิชา 2443715

ชีวภูมิศาสตร์

3(3-0-6)

 

Biogeography

 

        ศึกษาลักษณะแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีผลต่อการเกิด การกระจายของพืชและสัตว์ลักษณะเด่นของพืชและสัตว์ประจำถิ่น

รายวิชา 2443716

ภูมิศาสตร์ตั้งถิ่นฐาน

3(3-0-6)

 

Settlement Geography

 

        ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในส่วนต่าง ๆ ของโลก ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานของประชากรในชนบทและเมือง

รายวิชา 2443717

อุทกวิทยา

3(3-0-6)

 

Hydrology

 

        ศึกษาเกี่ยวกับน้ำที่มีอยู่ในโลก สาเหตุการเกิด การหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะของน้ำ คุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของน้ำในลำน้ำ ทะเล ทะเลสาบ และน้ำใต้พื้นดิน รวมทั้งการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การควบคุมและการอนุรักษ์

รายวิชา 2443718

อากาศวิทยา

3(3-0-6)

 

Climatology

 

        ศึกษาธาตุประกอบภูมิอากาศ เครื่องมือที่ใช้วัดธาตุประกอบภูมิอากาศ ปัจจัยที่ควบคุมภูมิอากาศ การจำแนกเขตภูมิอากาศและลักษณะภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น การพยากรณ์อากาศ โดยมีการฝึกปฏิบัติ

รายวิชา 2443720

ภูมิศาสตร์พื้นที่ชุ่มน้ำ

3(3-0-6)

 

Wetland Geography

 

        ศึกษาธรรมชาติของลักษณะพื้นทีชุ่มน้ำ เกี่ยวกับการกำเนิด และการเปลี่ยนแปลงของ กระแสน้ำ ระดับน้ำขึ้น – ลง ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพื้นทีชุ่มน้ำ โดยมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากพื้นทีชุ่มน้ำของไทยเพื่อการประกอบกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและการลดมลภาวะสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการใช้ประโยชน์

รายวิชา 2443721

ภูมิศาสตร์การแพทย์

3(3-0-6)

 

Medical Geography

 

        ศึกษาปัจจัยทางภูมิศาสตร์ และอิทธิพลที่เกี่ยวโยงกับโรคภัย ที่มีต่อสุขภาพ อนามัยของมนุษย์ในส่วนภูมิภาคต่างๆ ในโลก

รายวิชา 2444722

สิ่งแวดล้อมชนบทและเมือง

3(3-0-6)

 

Rural and urban Environment

 

        ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในชนบทและเมือง สภาพทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของประชากร รวมถึงสภาพทรัพยากรธรรมชาติ วิเคราะห์สภาพปัญหาทางสิ่งแวดล้อมทั้งในชนบทและเมือง เพื่อป้องกันแก้ไขและพัฒนา

รายวิชา 2444723

ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ

3(3-0-6)

 

Economic Geography

 

        ศึกษาลักษณะ และปัจจัยที่ทำให้เกิดความแตกต่างของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในบริเวณต่าง ๆ ของโลก โดยศึกษาทรัพยากรธรรมชาติ การผลิตการใช้ และการกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การคมนาคม–ขนส่ง การค้าระหว่างประเทศและการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่าง ๆ ของโลกและปฏิบัติภาคสนาม

รายวิชา 2444719

ภูมิศาสตร์การเมือง

3(3-0-6)

 

Political Geography

 

        ศึกษาแนวคิดของนักภูมิศาสตร์การเมือง ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อความมั่นคงของรัฐ การรวมกลุ่มทางการเมืองระหว่างประเทศ วิเคราะห์พฤติกรรมทางการเมืองของรัฐ และปัญหาอันสืบเนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ทั้งในอดีตและในปัจจุบัน

รายวิชา 2453411

สิทธิมนุษยชนศึกษา

3(3-0-6)

 

Human Right Study

 

        ศึกษาหลักการ แนวคิด ความสำคัญของสิทธิมนุษยชนที่มีผลต่อสังคมมนุษย์ ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิมนุษยชนในส่วนต่างๆของโลก ขบวนการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย กฎหมายและองค์กรที่ควรเรียนรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน และแนวทางส่งเสริมสิทธิมนุษยชนเพื่อให้สังคมสงบสุขร่มเย็น เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Organization and Management

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป หลักเกณฑ์และแนวความคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ลักษณะและประเภทของการประกอบธุรกิจ จริยธรรมของผู้ประกอบธุรกิจ หลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้าน ในแง่ของการวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดองค์กร การจัดคนเข้าทำงาน การนำการควบคุมปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายที่ตั้งไว้ และเทคนิคการจัดการสมัยใหม่

รายวิชา 3221101

หลักการตลาด

3(3-0-6)

 

Principles of Marketing

 

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของแนวคิดทางการตลาด สภาพแวดล้อมทางการตลาด การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค การแบ่งส่วนตลาด กำหนดตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ ส่วนประสมการตลาด และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอิทธิพลทางการตลาด

 

            5. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 7 หน่วยกิต

รายวิชา 2443801

เตรียมการฝึกประสบการณ์การวิชาชีพ

2(60)

 

Preparation for professional in Geographical Informatics

 

        ศึกษา สังเกตและฝึกประสบการณ์ ออกแบบ จัดเก็ด รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและการประมวลผล

รายวิชา 2444801

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

 

Field Experience in Geographical Informatics

 

        ฝึกงานทางด้านภูมิสารสนเทศ ณ สถานที่ซึ่งมหาวิทยาลัยเห็นชอบ มีการเสนอผลงานและรายงานเป็นหลักฐานว่าผ่านการฝึกงานแล้ว

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนากำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1.  กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2.  แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3.  จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4.  จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5.  มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6.  จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7.  มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8.  มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9.  ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10.  จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1.  จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2.  จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3.  จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4.  ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5.  มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6.  มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1.  จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2.  จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3.  จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4.  ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5.  จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1.  สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2.  สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3.  สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4.  สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1.  มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2.  มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3.  มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4.  มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5.  มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6.  มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1.  ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2.  ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3.  ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4.  ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5.  มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

***************

ภาคผนวก

 

1. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา

        1.1 มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์ของหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร. ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        1.2 การประชุมกำหนดวิสัยทัศน์และปรัชญาของหลักสูตร สาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2545

        1.3 จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์ แกรนโฮเต็ลรีสอร์ต จ.พิษณุโลก เมื่อวันที่ 28 – 30 ตุลาคม 2545 ทำให้ได้หลักสูตรภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา : มาตรฐานหลักสูร
              ชื่อหลักสูตร วิชาแกน วิชาบังคับ และบางส่วนวิชาเลือก

        1.4 การสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต เมื่อเดือน กรกฎาคม 2548

        1.5 ดำเนินการประชุมโปรแกรมสังคมศึกษา สาขาวิชาภูมิศาสตร์เพื่อจัดทำร่างหลักสูตร เมื่อเดือนตุลาคม 2547

        1.6 ประชุมปฏิบัติการวิพากย์หลักสูตร ณ ห้องปฏิบัติภูมิศาสตร์ (221) เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2548

        1.7 ประชุมปรับปรุง แก้ไขหลักสูตร

        1.8 ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป ข้อกำหนดของสภามหาวิทยาลัยเกี่ยวกับความรู้และทักษะด้าน ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์และหมวดวิชาวิทยาการจัดการ

        1.9 ปรับปรุง แก้ไข นำเสนอมหาวิทยาลัยฯ 15 กันยายน 2548

 

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

1.

รศ.พัฒนา ราชวงศ์

วท.ม. (ภูมิศาสตร์)

2.

นายอากร บัวคล้าย

ผ.ม. (การวางแผนภาค)

3.

นายจงรัก ปลอดเหตุ

วท.บ. (คอมพิวเตอร์)

4.

นายสมบูรณ์ วารินสุข

ศศ.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์)

5.

ผศ.กันยา จันทรวรชาต

กศ.ม. (ภูมิศาสตร์)

6.

ผศ.เสวก ใจสะอาด

ศศ.ม. (การสอนสังคมศึกษา)

7.

ผศ.เจริญ ชนลักษณ์ดาว

กศ.บ. (ภูมิศาสตร์)

8.

นายไชยา อู๋ชนะภัย

วท.ม. (ภูมิศาสตร์)

9.

นางจุไรวรรณ โพธิ์แก้ว

กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)

10.

ผศ.สุริย์ พันธุ์พงษ์

กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)

11.

Mrs.Suneeta Chuamon

M.A.(Sociology and Economic)

12.

นางสาววรรธนนันท์ ใจสะอาด

วท.ม. (การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม)

 

3. แบบสรุปข้อเสนอแนะ – แนวทางปรับปรุงแก้ไข ในการวิพากย์หลักสูตรฯ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2548

ข้อเสนอแนะ

แนวทางปรับปรุงแก้ไข

1.ปรับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2547

1.ปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2547 ในมาตรา 8 พันธกิจของมหาวิทยาลัย

2.เสนอให้ปรับแก้ชื่อหลักสูตร เนื่องจากไม่สอดคล้องกับชื่อภาษาอังกฤษ

2.ปรับแก้ชื่อหลักสูตรเป็น ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา Geographical Informatics for Developmen

3.ให้มีการรวมวิชา เนื่องจากหลายรายวิชามีเนื้อหาสาระร่วมกัน

3.ได้มีการรวมรายวิชาที่มีเนื้อหาสาระร่วมกัน ได้แก่

    3.1 ภูมิศาสตร์กายภาพ 1 รวมกับภูมิศาสตร์กายภาพ 2 เป็นวิชาภูมิศาสตร์กายภาพ (Physical Geography)
    3.2 สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมและสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อ
          การเกษตร รวมกันเป็นวิชาระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System)

4.วิชาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมปรับเป็นวิชาการประเมินผลกระทบ

4.ได้มีการปรับปรุงตามคำแนะนำเรียบร้อยแล้ว

5.ปรับปรุงแก้ไขคำอธิบายรายวิชา ในบางรายวิชา

5.ได้มีการปรับปรุงตามคำแนะนำเรียบร้อยแล้ว

 

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา

 

 

 

 

หลักสูตรใหม่

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก