หลักสูตรศิลปบัณฑิต
สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1. ชื่อหลักสูตร
2. ชื่อปริญญา
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
5. กำหนดการเปิดสอน
6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
8. ระบบการศึกษา
9. ระยะเวลาการศึกษา
10. การลงทะเบียนเรียน
11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา
12. อาจารย์ผู้สอน
13. จำนวนนักศึกษา
14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน
15. ห้องสมุด
16. งบประมาณ
17. หลักสูตร
    17.1 จำนวนหน่วยกิต
    17.2 โครงสร้างหลักสูตร
    17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต
    17.4 แผนการศึกษา
    17.5 คำอธิบายรายวิชา
18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร
19. การพัฒนาหลักสูตร
20. ภาคผนวก
    - คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ
    - ร่างหลักสูตรศิลปะศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรใหม่
พุทธศักราช 2550

-------------------------

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Interdisciplinary Studies for Local Development

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑิต (สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น)
  Bachelor of Arts Interdisciplinary Studies for Local Development
ชื่อย่อ : ศศ.บ. (สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น)
  B.A. (Interdisciplinary Studies for Local Development)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์หลักสูตร

        การแก้ไขปัญหาความยากจนให้ได้ผลอย่างยั่งยืนนั้น จำเป็นต้องมีการพัฒนา “ทุนทางปัญญา” คือ “ทุนมนุษย์” โดยการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวโยงกัน และสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่และการประกอบอาชีพของท้องถิ่นได้อย่างมีศักดิ์ศรี และมีงานทำ แก้ไขปัญหาความยากจน และพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับศักยภาพ ปัญหาและความต้องของแต่ละภูมิสังคมอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาที่มั่นคงของประเทศชาติโดยรวม

        4.1 ปรัชญาหลักสูตร

        หลักสูตรนี้มุ่งเน้นในการพัฒนาบุคลากรในระดับท้องถิ่น ขยายโอกาสและสร้างทางเลือก ให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในท้องถิ่น ในชีวิตจริง และสามารถอยู่ในชุมชนท้องถิ่นได้อย่างมีศักดิ์ศรีและมีอาชีพมั่นคง อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาศักยภาพของผู้นำท้องถิ่นและเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาชน ให้ร่วมมือกันพัฒนาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อเสริมสร้างความก้าวหน้าทางวิชาการด้านการพัฒนาท้องถิ่นที่มีลักษณะบูรณาการ และเชื่อมโยงสาชาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างมีพลัง และมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้านสหวิทยาการ และสามารถนำความรู้ วิชาการและทักษะต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพและพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพ มีจรรยาบรรณและจริยธรรม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีความรับผิดชอบ มีความเป็นผู้นำ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และเป็นคนดีของสังคม
                3. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ มีคุณธรรม และมีภาวะความเป็นผู้นำ
                4. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถนำความรู้วิชาการและทักษะต่างๆ ที่ได้จากการเรียนหลักสูตรนี้ ไปใช้ในการดำรงชีวิตและใช้ในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        ผู้มีสิทธิ์สมัครเข้าเป็นนักศึกษาในหลักสูตรนี้ต้องมีคุณสมบัติดังกล่าวต่อไปนี้

                1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าและ/หรือเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                2) เป็นผู้มีประสบการณ์การทำงานมาไม่น้อยกว่า 3 ปี

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        การคัดเลือกผู้เข้าการศึกษา มีกระบวนการคัดเลือกดังนี้

                1) ผู้สมัครต้องเขียนเหตุผลที่สนใจสมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณา (ความยาวไม่เกินหนึ่งหน้ากระดาษ)
                2) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรคัดเลือกตามวิธีการที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์กำหนด
                3) พิจารณาจากเอกสารประกอบการรับสมัคร

8. ระบบการศึกษา

        การจัดการศึกษาจัดระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติและใน 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

            -  รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
            -  รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค       
            -  การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใด ตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาการทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคเรียนการศึกษาปกติ
               ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
            -  การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนามที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมงต่อภาคเรียน การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 6 ภาคการศึกษาปกติ และเวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปี

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ – สกุล

วุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1.

นายวรภพ วงค์รอด

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ. (รัฐศาสตร์)
    -  บธ.บ.(การจัดการทั่วไป)

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
    -  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมา-ธิราช

    1. เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

2.

น.ส.พรรณภัทร ใจเอื้อ

    -  สส.ม.(การบริหารนโยบายและสวัสดิการสังคม)
    -  ศศ.บ.(สังคมศึกษา)

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

    1. เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

3.

นายนพดล เกษตรเวทิน

    -  ศศ.ม.(พัฒนาชนบทศึกษา)
    -  ศศ.บ.(รัฐศาสตร์)

    -  มหาวิทยาลัยมหิดล
    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

    1. เอกสารประกอบการสอน 1 วิชา
    2. งานวิจัย 1 เรื่อง (วิจัยร่วม)

4.

นายมานิตย์ สิงห์ทองชัย

    -  ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์)
    -  ศ.บ.(เศรษฐศาสตร์)

    -  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  มหาวิทยาลัยแม่โจ้

    1. เอกสารประกอบการสอน 3 วิชา

5.

นายธนสิทธิ์ คณฑา

    -  M.A (Philosophy)
    -  พธบ.(การสอนสังคม)

    -  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    1. เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ – สกุล/วุฒิ-วิชาเอก

ตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ/วิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย/ประสบการณ์

1.

ผศ.สุริย์ พันธุ์พงษ์

    -  กศ.ม.(การบริหารการศึกษา)
    -  กศ.บ.(สังคมศึกษา)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  วิถีไทย

1. ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาปัญหาสังคม

2.

ผศ.เสรี ซาเหลา

    -  สส.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  กศ.บ.(ชีววิทยา)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ตำแหน่งผู้บริหาร

    -  ผู้ช่วยอธิการบดี

วิชาที่สอน

    -  กระบวนทัศน์พัฒนาพื้นฐาน
    -  การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน

1. ตำรา

    -  การพัฒนาความสามรถของบุคคลและกลุ่ม

2. งานวิจัย

    -  การใช้เวลาว่างของเด็กและเยาวชน
    -  บทบาทของ อบต.กับการวางแผนพัฒนาตำบล 5 ปี

3.

ผศ.ดร.ธาตรี จีราพันธ์

    -  Ph.D. (Animal Science)
    -  M.S. (Animal Science)
    -  วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  การจัดการเกษตรยั่งยืน
    -  เกษตรกรรมยั่งยื่นและสิ่งแวดล้อมชุมชน

1. ตำรา

    -  หลักการเลี้ยงสัตว์
    -  ไร่นาสวนผสม
    -  อาหารและการให้อาหาร

2. งานวิจัย

    -  ผลวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจการเลี้ยง โคนมในจังหวัดนครสวรรค์

3. บทความทางวิชาการ

    -  การเลี้ยงไก่ไข่
    -  การถนอมอาหารสัตว์

4.

นายไชยา อู๋ชนะภัย

    -  วท.ม.(ภูมิศาสตร์)
    -  วท.บ.(ภูมิศาสตร์)

ตำแหน่งบริหาร

    -  หัวหน้าสำนักงานคณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

วิชาที่สอน

    -  ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1. ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอน วิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

5.

นายวิฑูรย์ สนธิปักษ์

    -  วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ)
    -  วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)

วิชาที่สอน

    -  การใช้สารสนเทศ

1. ตำรา

2.งานวิจัย

    -  การสร้างแบบสอบถามออนไลน์บนระบบอินเตอร์เน็ต

6.

รศ.ดร.ธานี เกสทอง

    -  Ph.D. (Development Education)
    -  ศศ.ม.(สิ่งแวดล้อมศึกษา)
    -  กศ.บ.(ชีววิทยา)
    -  ศศ.บ.(รัฐศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  รองศาสตราจารย์

ตำแหน่งผู้บริหาร

    -  คณบดีคณะครุศาสตร์

วิชาที่สอน

    -  บัณฑิตในอุดมคติไทย

1. ตำรา

    -  การศึกษาไทย

    -  การประถมศึกษา

2. งานวิจัย

    -  ค่านิยมเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรป่าไม้ของครู
    -  การประเมินคุณภาพนักเรียน จ.เพชรบูรณ์
    -  การประเมินโครงการศึกษาเพื่อพัฒนา

3. ประสบการณ์

    -  ศึกษานิเทศก์ สปอ.หล่มเก่า
    -  ศึกษานิเทศก์ สปจ.เพชรบูรณ์
    -  รองคณบดี คณะครุศาสตร์

7.

ผศ.วิสาข์ เกษประทุม

    -  ค.ม.(สถิติการศึกษา)
    -  กศ.บ.เกียรตินิยม(คณิตศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  คณิตศาสตร์ทั่วไป

1. ตำรา

    -  ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

8.

ผศ.สุชาติ พงษ์พานิช

    -  กศ.ม.(ภาษาและวรรณคดีไทย)
    -  กศ.บ.(ภาษาไทย)

ตำแหน่งบริหาร

    -  ประธานสภาคณาจารย์

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

1. ตำรา

    -  การเขียนเพื่อการสื่อสาร

2. ประสบการณ์

    -  หัวหน้าฝ่ายธุรการ
    -  รองหัวหน้าสำนักงานอธิการบดี สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

9.

ผศ.กันยา จันทรวรชาติ

    -  กศ.ม.(ภูมิศาสตร์)
    -  กศ.บ.(ภูมิศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

1. ตำรา

    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์
    -  เทคนิคการศึกษาภูมิศาสตร์
    -  มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

2. งานวิจัย

    -  ศึกษาภูมินามของหมู่บ้านในจังหวัดนครสวรรค์ กรณีอำเภอไพศาลี
       จ.นครสวรรค์

3. บทความทางวิชาการ

    -  นครสวรรค์ ภาคเหลือตอนล่างภาคกลางตอนบน

10.

นายสมิง จงกสิกิจ

    -  วท.ม.(เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม)
    -  กศ.บ.(ภาษาอังกฤษ)

วิชาที่สอน

    -  ภาษาอังกฤษพื้นฐาน
    -  การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 3

1. ตำรา

    -  การสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

2. งานวิจัย

    -  การบริหารจัดการสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน กรณีศึกษาในเขตภาคเหนือตอนบน

11.

รศ.ดร.สุชาติ แสงทอง

    -  ปร.ด.(ไทศึกษา)
    - 
ศศ.ม.(วัฒนธรรมศึกษา)
    -  ค.บ.(ดนตรีศึกษา)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  รองศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  การจัดการวิสาหกิจชุมชน
    -  ชีวิตกับดนตรี
    -  ประเพณีประจำท้องถิ่น

1. ตำรา

    -  ทฤษฎีดนตรีสากล1
    -  ทฤษฎีดนตรีแจ๊ส

2. งานวิจัย

    -  บทบาทสมาคมวิชาชีพดนตรีของไทย
    -  ประเพณีการแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำโพ
    -  การวิเคราะห์องค์ประกอบทางดนตรีเพลงปฏิพากษ์
    -  การวิเคราะห์องค์ประกอบทางดนตรีเพลงรำโทน
    -  ดนตรีการเมืองไทย พ.ศ.2481-2516
    -  สุนทรียภาพแห่งชีวิต

12.

นายปพงค์มนัส อินทะจักร์

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ.(อังกฤษ)

วิชาที่สอน

    -  การจัดการความรู้ การวางเป้าหมาย และแผนชีวิต
    -  วิสาหกิจชุมชน

1. ตำรา

    -  ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น
    -  การวางแผนในงานพัฒนาชุมชน
    -  การพัฒนาตนในงานพัฒนาชุมชน

2. งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติทดแทน
       สารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์ จ.นครสวรรค์
    -  กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครสวรรค์ แนวทางการอนุรักษ์เผยแพร่และจัด
       การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์
    -  การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมชุมชนโคกหม้อ

13.

ผศ.ดร.สมภพ เจิมขุนทด

    -  Ed.D. (Industrial Educational Management)
    -  ศศ.ม. (วิธีสอนสังคม)
    -  กศ.บ. (ประวัติศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน

1. ตำรา

    -  กิจกรรมเสริมหลักสูตร

2. งานวิจัย

    -  เจตคติของอาจารย์วิทยาลัยครูต่อเทคโนโลยี
    -  พัฒนาชุดการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต

14.

ผศ.จำลอง ลือชา

    -  พบ.ม.(บริหารทรัพยากรมนุษย์)
    -  กศ.บ.(ภูมิศาสตร์)
    -  น.บ.

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  การบริหารความขัดแย้ง

1. ตำรา

    -  จิตวิทยาการศึกษา
    -  วัยรุ่นกับการศึกษาเป็นรายกรณี

2. บทความทางวิชาการ

    -  การค้าโสเภณีเด็ก ปัญหาอุปสรรค การแก้ปัญหา
    -  ลูกจ้างชั่วคราว รภ.นว. คุณภาพชีวิตที่พึงแก้ไข

15.

นายนพดล เกษตรเวทิน

    -  ศศ.ม.(พัฒนาชนบทศึกษา)
    -  ศศ.บ.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  วิถีโลก
    -  ชุมชนกับนวัตกรรมทางสังคม

1. ตำรา

    -  วิถีไทย
    -  วิจัย”การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมเชิงนิเวศน์”

16.

นางอุทัยวรรณ ภู่เทศ

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  ศศ.บ.(การบริหารจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว)

วิชาที่สอน

    -  สุขภาพและวิถีชุมชน
    -  การท่องเที่ยวโดยชุมชน
    -  การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

1. ตำรา

    -  การพัฒนาความสามารถของบุคคลและกลุ่ม

2. งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์

17.

ผศ.กันยา กาวิน

    -  วท.ม. (สัตววิทยา)
    -  วท.บ. (ชีววิทยา)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  การจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
    -  การจัดการสุขภาพชุมชน

1. ตำรา

    -  สถิติทางชีววิทยา

2. งานวิจัย

    -  การพัฒนาองค์ความรู้บึงบอระเพ็ดแบบบูรณาการ

18.

นายวรภพ วงค์รอด

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ.(บริหารรัฐกิจ)
    -  บธ.บ.(การจัดการทั่วไป)

วิชาที่สอน

    -  การเป็นวิทยากรกระบวนการ
    -  เครือข่ายชุมชน
    -  การจัดการเครือข่ายชุมชน

1. ตำรา

    -  การปฏิรูปที่ดินกับการพัฒนาชุมชน
    -  หลักมานุษยวิทยา
    -  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

2. งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์
    -  ชุมชนรอบบึงบอระเพ็ดกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน
    -  แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน ศึกษากรณี พื้นที่ชุ่มน้ำอำเภอ
       โกรกพระ จ.นครสวรรค์  

19.

ดร.ศุภชัย ทวี

    -  ศษ.ด. (วิทยาศาสตร์ศึกษาฟิสิกส์)
    -  วท.ม. (ฟิสิกส์)
    -  ค.ม. (การศึกษาวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์)
    -  ป. (การวิจัยชั้นสูง)
    -  กศ.บ.(ฟิสิกส์)

ตำแหน่งทางบริหาร

    -  รอง ผอ.สถาบันวิจัยและพัฒนา

วิชาที่สอน

    -  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม
    -  การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 3

1. ตำรา

    -  วิจัยทางวิทยาศาสตร์
    -  ฟิสิกส์ทั่วไป
    -  ธรณีวิทยา

2. งานวิจัย

    -  การศึกษาแบบจำลองการเคลื่อนที่ของวัตถุ

20.

น.ส. พรรณภัทร ใจเอื้อ

    -  สส.ม.(การบริหารนโยบายและสวัสดิการสังคม)
    -  ศศ.บ.(สังคมศึกษา)

วิชาที่สอน

    -  การทำแผนแม่บทชุมชน
   
-  การจัดการแผนแม่บทชุมชน
    -  การจัดการกองทุนและสวัสดิการชุมชน
    -  การพัฒนาองค์กรชุมชน

1. ตำรา

    -  วิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา
    -  การพัฒนาประชาสังคม
    -  สวัสดิการสังคม

2. งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์
    -  การศึกษารูปแบบการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ผ้าทอในเขตพื้นที่
       จังหวัดอุทัยธานี

21.

นางสาวปราณี เนรมิต

    -  บธ.ม.(การบัญชี)
    -  บช.บ.(การบัญชี)

วิชาที่สอน

    -  การการจัดการกองทุนและสวัสดิการชุมชน

1. ตำรา

    -  การบัญชีต้นทุน 1
    -  การบัญชีต้นทุน 2
    -  การวางระบบบัญชี

2. ประสบการณ์

    -  อาจารย์สอนโรงเรียนพาณิชยการนครสวรรค์
    -  อาจารย์สอนโรงเรียนบริหารธุรกิจนครสวรรค์
    -  วิทยากร การจัดการธุรกิจเบื้องต้น สำนักงานจัดหางาน

22.

ดร.สนั่น กัลปา

    -  Ph.D. (Pol.Sci)
    -  M.A. (Pol.Sci)
    -  พธ.บ.(ปรัชญาและศาสนา)

วิชาที่สอน

    -  สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น
    -  กองทุนและสวัสดิการชุมชน
    -  การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 1

1. ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  การปกครองท้องถิ่นไทย
    -  การพัฒนาชนบท
    -  การบริหารงานพัฒนาชนบท

2. งานวิจัย

    -  กระบวนการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนตำบลเขาทอง โดยการมีส่วนร่วม
    -  ทัศนคติของตำรวจที่มีต่อผู้บังคับบัญชา ด้านการบริหารจัดการ กรณีสถานี
       ตำรวจภูธร อำเภอบ้านไร่ จ.อุทัยธานี

3. บทความทางวิชาการ

    -  ลัทธิบริโภคนิยมในสังคมไทย
    -  วาทกรรมการพัฒนาสมัยใหม่
    -  วัฒนธรรมทาส ฯลฯ

23.

นายภาณุพงษ์ คงจันทร์

    -  กศ.ม. (จิตวิทยาแนะแนว)
    -  กศ.บ. (สังคมศึกษา)

วิชาที่สอน

    -  พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน
    -  การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 1

1. ตำรา

    -  พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน
    -  จิตวิทยาธุรกิจ
    -  จิตวิทยาวัยรุ่นและการแนะแนว

2. งานวิจัย

    -  การฝึกทักษะการให้คำปรึกษาที่มีต่อความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ของ
       นักศึกษาปริญญาตรี

24.

นายธนสิทธิ์ คณฑา

    -  พธบ.(การสอนสังคม)
    -  M.A (Philosophy)

วิชาที่สอน

    -  วิถีไทย
    -  บัณฑิตในอุดมคติไทย

1. ตำรา

    -  วิถีไทย
    -  ความจริงของชีวิต

25.

นางศุภนิตย์ คงสิบ

    -  กศ.ม. (สุขศึกษา)
    -  กศ.บ. (สุขศึกษา)

วิชาที่สอน

    -  สุขภาพเพื่อชีวิต
    -  สุขภาพและวิถีชุมชน

1. ตำรา

    -  สุขภาพผู้สูงอายุ
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชา- สุขภาพจิต

2. งานวิจัย

    -  การศึกษาสภาวะความเครียดของนักศึกษาที่เรียนวิชาสุขภาพเพื่อชีวิต

26.

นางนงลักษณ์ ปิยะมังคลา

    -  ค.ม. (หลักสูตรและการสอน)
    -  ค.บ. (นาฏศิลป์)

วิชาที่สอน

    -  ชีวิตกับนาฏการ

1.งานวิจัย

    -  ระบำโบราณคดีเมืองจันเสน
    -  ระบำนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

27.

นางสาวสิรพร เอี๊ยมกงไชย

    -  บธ.บ.(เทคโนโลยีสารสนเทศทางการจัดการ)

วิชาที่สอน

    -  การจัดการวิสาหกิจชุมชน

1. ตำรา

    -  ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์

28.

นางสาวจำลองลักษณ์ อินทวัน

    -  น.ม.
    -  น.บ.

วิชาที่สอน

    -  กฏหมายรัฐธรรมนูญ
    -  รัฐธรรมนูญกับสิทธิชุมชน
    -  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

29. .

รศ.บุศราคำ เริงโกสุม

    -  ศศ.ม. (การศึกษาผู้ใหญ่)
    -  กศ.บ. (ศิลปศึกษา)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  รองศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  ชีวิตกับศิลปะ

1. ตำรา

    -  ภาพพิมพ์
    -  ศิลปะสำหรับครูประถมศึกษา
    -  ส.ล.น. (สนุกกับจินตนาการ)
    -  ศิลปะร่วมสมัย
    -  ศิลปะการออกแบบนิตยสาร
    -  ชีวิตกับศิลปะ

2. งานวิจัย

    จำนวน 8 เรื่อง ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่

    -  การพัฒนาลวดลายศิลปะผ้าทอพื้นบ้าน จ.นครสวรรค์
    -  การคัดเลือกผ้าทอพื้นบ้านและถ่ายทอดนวัตกรรมในจังหวัดนครสวรรค์
    -  รูปแบบพื้นฐานและแนวคิดสินค้าโอ-ทอปด้านศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเพื่อ
       การปรับและการพัฒนางานในจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียง

30.

ดร.ประจักร์ รอดอาวุธ

    -  Ph.D (Education)
    -  กศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ)
    -  กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

วิชาที่สอน

    -  ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
    -  การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 3

1. ตำรา

    - English Grammar I และ Classroom Management for Language
      Teachers: An Active Learning Lesson Plan

2. งานวิจัย

    -  Developing Learner Autonomy through Project Work
    -  Developing A Program of English Proficiency, Communicative
       Language Teaching for Pre-service Teachers in Thailand

31.

ผศ.ดร.บุญแสน เตียวนุกูลธรรม

    -  วท.ด.(ปฐพีวิทยา)
    -  วท.ม.(การสอนเคมี)
    -  ค.บ.(เคมี)

ตำแหน่งทางบริหาร

    -  รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  การจัดการเกษตรยั่งยืน
    -  การจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

 

32.

ผศ.พัชราภา สิงห์ธนสาร

    -  พศ.ม.(พัฒนาการเศรษฐกิจ)
    -  บช.บ.(บัญชี)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
    -  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
    -  การประกอบการธุรกิจชุมชน

 

33.

ผศ.สุรชัย บุญเจริญ

    -  กศ.ม.(อุตสาหกรรมศึกษา)
    -  ค.บ.(อุตสาหกรรมศิลป์)

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

1. ตำรา

    -  การจัดการอุตสาหกรรม
    -  การจัดการเทคโนโลยี
    -  วัสดุศาสตร์

2. งานวิจัย

    -  การจัดการห่วงโซ่อุปทาน
    -  การจัดการเครือข่ายลุ่มน้ำเจ้าพระยา
    -  การพัฒนาหมู่บ้าน OTOPเครื่องปั้นดินเผา

34.

น.ส.หทัยชนก คะตะสมบูรณ์

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  ศศ.บ (การพัฒนาชุมชน)

ตำแหน่งทางวิชาการ

-

วิชาที่สอน

    -  การเป็นวิทยากรกระบวนการ
    -  เครือข่ายชุมชน
    -  การจัดการเครือข่ายชุมชน

1. ตำรา

-

2. งานวิจัย

-

        12.3 อาจารย์พิเศษและวิทยากร

ที่

ชื่อ – สกุล/วุฒิ-วิชาเอก

ความรับผิดชอบวิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย/ประสบการณ์

1.

รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ

    -  ป.เอก(ปรัชญา) มิวนิก เยอรมนี
    -  ป.โท(ปรัชญา) โรม อิตาลี
    -  ป.ตรี(ปรัชญา) โรม อิตาลี

ตำแหน่งทางวิชาการ

    -  รองศาสตราจารย์

วิชาที่สอน

    -  กระบวนทัศน์พัฒนาพื้นฐาน

1. ตำรา

    -  กองทุนหมู่บ้าน
    -  สวัสดิการชุมชน
    -  วิสาหกิจชุมชน
    -  การทำประชาพิจัย

2. งานวิจัย

    -  ทำงานวิจัยในและระหว่างประเทศกว่า 20 เรื่องด้วยทุนในและต่างประเทศ

3. ประสบการณ์

    -  ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

2.

นายสุรเชษฐ เวชชพิทักษ์

    -  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) มสธ.
    -  นิเทศศาสตรบัณฑิต (วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง)
       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  ศิลปศาสตรบัณฑิต (สารนิเทศศาสตร์)

วิชาที่สอน

    -  การจัดการความรู้ การวางเป้าหมายและแผนชีวิต

1. ประสบการณ์

    -  รองผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

3.

นายประภาส สุทธิอาคาร

    -  ศศม.(พัฒนาสังคม) ม.เกษตรศาสตร์
    -  กศบ.(ประวัติศาสตร์)
    -  นบ.(นิติศาสตร์)ม.รามคำแหง

วิชาที่สอน

    -  วิสาหกิจชุมชน

1. ประสบการณ์

    -  รองผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ฝ่ายปฏิบัติการ

4.

นายธีรัศมิ์ พูลนวล

    -  ศษม.(การศึกษานอกระบบ)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  พธ.บ.(พุทธศาสนา) ม.มหาจุฬาลงกรณ์
    -  ศษบ.(ประถมศึกษา)มสธ.

วิชาที่สอน

    -  กองทุน และสวัสดิการชุมชน

1. ประสบการณ์

    -  เจ้าหน้าที่ประสานงานภาคใต้มูลนิธิสถาบันพัฒนาทรัพยากรชุมชน

5.

นายดุสิต รักษ์ทอง

    -  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา
    -  ศศม.(ไทยคดีศึกษา)
    -  คบ.(เทคโนโลยีการศึกษา) วค.สงขลา

วิชาที่สอน

    -  การทำแผนแม่บทชุมชน

1. ประสบการณ์

    -  ผู้ประสานงานโครงการและกรรมการองค์กรชุมชน
    -  วิทยากรพัฒนาและจัดกระบวนการ

6.

นายสุริยา ธิศาเวช

    -  สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์
    -  ศศม.(พัฒนาสังคม)
    -  ศศบ.(พัฒนาชุมชน) ม.อุบลราชธานี

วิชาที่สอน

    -  การเป็นวิทยากรกระบวนการ

1. ประสบการณ์

    -  ข้าราชการบำนาญ

13. จำนวนนักศึกษา

แผนการรับนักศึกษา และจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษาแต่ละปีการศึกษา

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

50

50

50

50

50

ชั้นปีที่ 2

-

50

50

50

50

ชั้นปีที่ 3

-

-

50

50

50

รวม

50

100

150

150

150

จำนวนที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา

-

-

-

50

50

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ที่

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่แล้ว (ห้อง)

จำนวนที่ต้องการในอนาคต (ห้อง)

1

อาคารเรียน (คณะ)

1

2

2

ห้องปฏิบัติการชนบทศึกษา

1

-

3

ห้องประชุม

1

-

        14.2 อุปกรณ์

ที่

อุปกรณ์

จำนวนที่มีอยู่แล้ว (เครื่อง)

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ (เครื่อง)

1

เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

20

5

2

เครื่องฉายข้ามศีรษะ

1

1

3

เครื่องฉาย Projector

1

1

4

จอภาพ

1

1

5

กล้องถ่ายวีดีโอ

1

1

6

เครื่องขยายเสียง

1

1

7

เครื่องฉายภาพนิ่ง

1

1

8

เครื่องวีดีโอ

5

5

9

เครื่องถ่ายทอดสัญญาณภาพ 3 มิติ

1

1

10

เครื่องฉายสไลด์

1

1

11

เครื่องรับโทรทัศน์

1

2

12

กล้องถ่ายรูป

1

-

13

กล้องถ่ายรูปดิจิตอล

1

1

14

เครื่อง LCD Projector

1

1

15

เครื่องขยายสัญญาณ

4

1

16

เครื่องถ่ายเอกสาร

1

1

17

ไมโครโฟน

1

2

15. ห้องสมุด

        15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ลำดับที่

ชื่อ หนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว (เล่ม)

จำนวนคาดว่าจะเพียงพอ (เล่ม)

1

การพัฒนาชุมชน

15

20

2

การพัฒนาชุมชน SO 325

4

7

3

การพัฒนาชุมชน : ชุมชนศึกษาและการวางแผน

8

10

4

การพัฒนาชุมชนหลักการและการปฏิบัติ

1

5

5

การพัฒนาชุมชนเชิงปฏิบัติ

3

5

6

การพัฒนาชุมชนโดยวิธีการศึกษาอบรมนอกระบบโรงเรียน

4

5

7

การพัฒนาชุมชนตามแนวความคิดนักปรัชญาตะวันตก

4

5

8

การพัฒนาชุมชนเปรียบเทียบ : การพัฒนาชุมชนตามอุดมการณ์ประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์

8

10

9

การพัฒนาชุมชนและกลุ่มรวมคำบรรยายพิเศษ

4

5

10

ประชากรศึกษากับโครงการการพัฒนาชนบท

11

15

11

เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท

2

5

12

การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท

1

5

13

การพัฒนาชนบท

3

5

14

รากฐานแห่งชีวิตวัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา

2

5

15

บทบาทเมืองขนาดกลางในการพัฒนาภูมิภาค

1

4

16

ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท

7

10

17

ทรัพยากรธรรมชาติกับการพัฒนาชนบท

2

5

18

ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบทไทย

4

5

19

การศึกษากับการพัฒนาชนบทไทย

5

8

20

ตัวชี้วัดสำหรับงานพัฒนาชนบท

1

5

21

การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานสำหรับประเทศไทย

4

5

22

ข้อคิดนักพัฒนา

1

5

23

การศึกษากับการพัฒนาชุมชน

18

22

24

การประสานช่องว่างประสบการณ์การศึกษาร่วมกับของนักพัฒนาชนบท

2

5

25

การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (ทวิลักษณ์) ในการพัฒนาชนบทไทย

1

5

26

เทคนิคการให้การศึกษาชุมชน

2

5

27

พัฒนา 441 เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

3

5

28

หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท

2

5

29

การบริหารพัฒนาชนบท

4

5

30

หลักการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชนประยุกต์

5

7

31

การบริหารและการพัฒนาชนบทเปรียบเทียบ

5

8

32

ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญของการพัฒนาชุมชน

3

5

33

หลักการพัฒนาชุมชน

5

5

34

กระบวนการพัฒนาชุมชน

9

10

35

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

2

5

36

รากฐานแห่งชีวิตวัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา

2

5

37

บทบาทเมืองขนาดกลางในการพัฒนาภูมิภาค

1

2

38

ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท

7

10

39

ทรัพยากรธรรมชาติกับการพัฒนาชนบท

2

5

40

ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบทไทย

4

8

41

การศึกษากับการพัฒนาชนบทไทย

5

8

42

ตัวชี้วัดสำหรับงานพัฒนาชนบท

1

5

43

การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานสำหรับประเทศไทย

4

5

44

ข้อคิดนักพัฒนา

1

5

45

การศึกษากับการพัฒนาชุมชน

19

-

46

ประสานช่องว่างประสบการณ์การศึกษากับนักพัฒนาชนบท

2

5

47

ศักยภาพในการพัฒนาและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบทไทย

1

5

48

ความเข้มแข็งของชุมชนบทไทย

1

5

49

กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยเครื่องชี้วัดความจำเป็น

1

5

50

กฎหมายกับชุมชน มิติใหม่ของการพัฒนา

1

5

51

เครือข่ายเรียนรู้เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

4

5

52

คู่มือการฝึกอบรมการวางแผนพัฒนาชนบท

1

5

53

คู่มือระบบบริหารการพัฒนาชนบท

4

5

54

เอกสารการสอนรหัสวิชาเทคโนโลยีเบื้องต้นในการพัฒนาชนบท

1

5

55

การพัฒนาบุคคลกลุ่มและเอกชน

4

5

56

ชุมชนเซ่งกี : วิถีชีวิตและกระบวนการพัฒนาสู่การพึ่งพาตนเอง

3

4

57

การพึ่งตนเอง : ศักยภาพในการพัฒนาชุมชน

4

5

58

กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา

2

5

59

ทำอย่างไรถึงจะหายจน

2

3

60

การพัฒนาที่ยั่งยืน

1

5

61

แนวการพัฒนาธุรกิจชุมชน

7

9

62

ธุรกิจชุมชน : ศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่น

1

5

63

หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

1

5

64

หัตถกรรมพื้นบ้านสร้างงาน : สร้างรายได้

3

5

65

การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

2

5

66

ปัญหาวิกฤตด้านชนบทสู่…ทางรอด

1

5

67

พัฒนาชุมชนกับงานพัฒนาชนบท

2

5

68

ประชากรศึกษากับโครงการพัฒนาชนบท

2

5

69

เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท

4

5

70

การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท

2

5

71

บทบาทเมืองขนาดกลางในการพัฒนาภูมิภาค : กรณีศึกษา

1

5

72

การศึกษานอกโรงเรียนกับการพัฒนาชนบท

1

5

73

การประชุมทางวิชาการ เรื่อง การพัฒนาชนบทในยุคสารสนเทศ

2

5

74

NGO’ อีสาน

1

5

75

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท

2

5

76

ชุมชนเข้มแข็ง : บทเรียนภาคปฏิบัติ

1

5

77

ชนบทไทย : การพัฒนาประชาสังคม

1

5

78

หมู่บ้านชนบทไทย จากข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน

3

5

79

แนวคิดทฤษฎีในการพัฒนาอีสานและชนบทไทย

1

5

80

การบริหารการพัฒนาชนบทเพื่อสร้างความเข้มแข็ง

1

5

81

ราชการชนบท

2

5

82

เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท (ฉบับปรับปรุง)

1

5

83

ปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขของคนไทย

1

5

84

36 ปีเล่าขานการพัฒนาชนบทไทย

1

5

85

การจัดการธุรกิจชุมชน

1

5

86

รายงานการประเมินผลโครงการสร้างงานในชนบท

1

5

87

พัฒนาชนบทแบบยั่งยืน : สำหรับสาขาเศรษฐศาสตร์

1

5

88

รายงานการประเมินโครงการสร้างในชนบท

2

5

        15.2 จำนวนวารสาร และเอกสารอื่น ๆ

ลำดับที่

ชื่อ หนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว (เล่ม)

จำนวนคาดว่าจะเพียงพอ (เล่ม)

1

ทำอะไรจึงจะหายจน

1

3

2

การพัฒนาที่ยั่งยืน

7

3

3

แนวทางการพัฒนาธุรกิจชุมชน

1

5

4

ธุรกิจชุมชน : ศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่น

1

5

5

หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

3

5

6

ธ.ก.ส.

1

5

7

การเงินการธนาคาร

1

3

8

การศึกษาไทย

1

3

9

เกษตร

1

5

10

เทคโนโลยีการเกษตร

1

3

11

เทคโนโลยีชาวบ้าน

1

3

12

เทคโนโลยีชีวปริทรรศน์

1

3

13

ไทยศึกษา

1

3

14

นโยบายพลังงาน

1

3

15

ผู้นำท้องถิ่น

1

3

16

พลังงาน

1

3

17

พัฒนบริหารศาสตร์

1

3

18

เพชรบุรีวิทยาลงกรณ์

1

3

19

แพทย์ทางเลือก

1

3

20

มฉก.วิชาการ

1

3

21

มนุษย์ศาสตร์สาร

1

3

22

มูลนิธิชัยพัฒนา

1

3

23

รัฐประศาสนศาสตร์

1

3

24

รัฐสภาสาร

1

3

25

โลกการค้า

1

3

26

โลกพลังงาน

1

3

27

โลกสีเขียว

1

5

28

วรรณวิทัศน์

1

5

29

วิชาการ

1

3

30

วิทยาจารย์

1

3

31

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1

3

32

ศรีนครินทรวิโรฒ

1

3

33

ศิลปากร

1

3

34

ศึกษาศาสตร์

1

3

35

สงขลานครินทร์

1

3

36

สมุนไพร

1

3

37

สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์

1

3

38

สาธารณสุขศาสตร์

1

3

39

สานปฏิรูป

1

3

40

สารนครศรีธรรมราช

1

2

41

สิ่งแวดล้อม มก.

1

2

42

สุโขทัยธรรมาธิราช

1

2

43

อนามัยสิ่งแวดล้อม

1

2

44

เนชั่นสุดสัปดาห์

1

2

45

มติชนสุดสัปดาห์

1

2

46

สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์

1

2

        15.3 รายชื่ออิเล็กทรอนิคส์

                การสืบค้นจากเว็บไซต์ http:127.0.0.1:5432/HWWMDS/Main.nsp ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สามารถสืบค้น วารสาร (Journal) ทางด้านสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นทั่วโลก

        15.4 แหล่งวิทยาการและแหล่งเรียนรู้

                15.4.1 แหล่งวิทยาการ

                        - สถาบันการเงินของชุมชนในจังหวัดนครสวรรค์
                        - สำนักงานพัฒนาชุมชน
                        - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
                        - Internet อาทิ E-Learning

                15.4.2 แหล่งเรียนรู้

                        - กลุ่ม องค์กรชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ อุทัยธานี และชัยนาท
                        - กลุ่มธุรกิจชุมชนและสถาบันการเงินชุมชน
                        - นายวิบูลย์ เข็มเฉลิม อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา
                        - นายประยงค์ รณรงค์ บ้านไม้เรียง กิ่ง อ.ช้างกลาง จ.นครศรีธรรมราช
                        - นายโชคชัย ลิ้มประดิษฐ์ บ้านหนองกลางดง อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์
                        - มูลนิธิข้าวขวัญ
                        - โครงการในพระราชดำริ
                        - เครือข่ายโรงเรียนชาวนา จังหวัดนครสวรรค์
                        - เครือข่ายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
                        - เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน 4 ภูมิภาค

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ (บาท)

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

 

115,200

172,800

476,000

 

115,200

172,800

576,000

 

240,000

272,800

663,200

 

240,000

272,800

663,200

 

240,000

272,800

663,200

รวม

764,000

864,000

960,000

960,000

960,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1. จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 127 หน่วยกิต

        17.2. โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. วิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. วิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. วิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

90

 

1. วิชาแกน

18

 

2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ

33

 

3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

21

 

3. วิชาวิทยาการจัดการ

9

 

4. วิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน

9

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

127

        17.3 รายวิชา และจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์

                2 หมายถึง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ

                4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาเกษตรศาสตร์)

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาอุตสาหกรรม)

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย- ปฏิบัติ- ศึกษาด้วยตนเอง)

                โดย บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ x 2

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต

            1. วิชาแกน 18 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2421501

กระบวนทัศน์พัฒนาพื้นฐาน

Basic Development Paradigm

3(3-0-6)

2421502

ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน

Local Wisdom and Community Development

3(3-0-6)

 

2421503

การจัดการความรู้ การวางเป้าหมาย และแผนชีวิต

Knowledge Management, Setting Life Purpose and Plan

3(3-0-6)

 

2422503

สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น

Social and Cultural of Local Community

3(3-0-6)

2422505

เกษตรกรรมยั่งยืนและสิ่งแวดล้อมชุมชน

Sustainable Agriculture and Community Environment

3(3-0-6)

 

2422506

ชุมชนกับนวัตกรรมทางสังคม

Community and Social Innovation

3(3-0-6)

        2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ 33 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2421504

การทำแผนแม่บทชุมชน

Community Strategic Planning

3(3-0-6)

2421505

การจัดการแผนแม่บทชุมชน

Management on Community Strategic Planning

3(1-4-4)

2422501

วิสาหกิจชุมชน

Community Enterprise

3(3-0-6)

2422502

การจัดการวิสาหกิจชุมชน

Management on Community Enterprise

3(1-4-4)

2422504

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

Process Facilitator

3(3-0-6)

2423501

กองทุนและสวัสดิการชุมชน

Community Funds and Welfare

3(3-0-6)

2423502

การจัดการกองทุนและสวัสดิการชุมชน

Management on Community Funds and Welfare

3(1-4-4)

2423505

สุขภาพและวิถีชุมชน

Health and Community Way

3(3-0-6)

2423506

การจัดการสุขภาพชุมชน

Management on Community Health

3(1-4-4)

2423507

เครือข่ายชุมชน

Community Network

3(3-0-6)

2423509

การจัดการเครือข่ายชุมชน

Management on Community Network

3(1-4-4)

        3. วิชาเฉพาะด้านเลือก 21 หน่วยกิต โดยเลือกเรียนจากวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2422713

เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

Appropriate Technology for Local Life

2 (2-0-4)

2423221

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

Economics for Development

3 (3-0-6)

2423503

การจัดการเกษตรยั่งยืน

Management on Sustainable Agriculture

3(2-2-5)

2423504

การจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

Management on Agriculture and Environment

3(2-2-5)

2423715

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน

Natural Resources and Environmental Management in Community

3 (2-2-5)

2423716

การบริหารความขัดแย้งในชุมชน

Conflict Management in Community

2 (2-0-4)

2423720

กลุ่มธุรกิจพื้นฐานกับการจัดการชุมชน

Basic Social - Economic Units and Community Development

2 (2-0-4)

2424701

รัฐธรรมนูญกับสิทธิชุมชน

The Constitution and Community Rights

2 (2-0-4)

2424709

การท่องเที่ยวโดยชุมชน

Community Based Tourism

2 (2-0-4)

2424710

การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

Community Tourism Development

2 (2-0-4)

2424711

มัคคุเทศก์ชุมชน

Tour Guide for Community

2 (2-0-4)

2424722

การพัฒนาองค์กรชุมชน

Organization Community Development

3 (3-0-6)

2431301

ประเพณีประจำท้องถิ่น

Local Tradition

2 (2-0-4)

2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

Principles of Jurisprudence

3(3-0-6)

2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

Constitutional Law

3(3-0-6)

2534406

การอนุรักษ์และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

Environment Conservation in Community Development

3(2-2-5)

        4. วิชาวิทยาการจัดการ 9 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

Introduction to Business Operation

3(3-0-6)

3213128

การประกอบการธุรกิจชุมชน

Community Business Operation

3(3-0-6)

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

General Economics

3(3-0-6)

        5. วิชาเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและงาน 9 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2421508

การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน1

Strengthening Life and Work Experience 1

3(270)

2422508

การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน2

Strengthening Life and Work Experience 2

3(270)

2423508

การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 3

Strengthening Life and Work Experience 3

3(270)

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

                ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำรวจหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ ให้เลือกเรียนวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียน โดยไม่นับรวมหน่วยกิตในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชา

        17.4 แผนการศึกษา

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

บังคับ

4000101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม 2(2-0-4) บังคับ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6) บังคับ
2421501 กระบวนทัศน์พัฒนาพื้นฐาน 3(3-0-6)  
2421502 ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน 3(3-0-6)  

 

รวมหน่วยกิต

13

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2421503

การจัดการความรู้ การวางเป้าหมายและแผนชีวิต

3(3-0-6)

บังคับ

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ 3(3-0-6) บังคับ
1000101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 2(2-0-4) บังคับ
2310102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)  

4000104
1000102

สุขภาพเพื่อชีวิต (เลือกเรียน 1 รายวิชา)
กีฬาและนันทนาการ

2(2-0-4)

เลือกเรียน 1 รายวิชา

 

รวมหน่วยกิต

13

 
ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 3)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2421504

การทำแผนแม่บทชุมชน

3(3-0-6)

 
3501101 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป 3(3-0-6)  

2421505

การจัดการทำแผนแม่บทชุมชน 3(1-4-4)  
2421508 สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 1 3(270)  

2000105
2000106
2000107

ชีวิตกับดนตรี
ชีวิตกับศิลปะ
ชีวิตกับนาฎการ

2(2-0-4)

เลือกเรียน 1 รายวิชา

 

รวมหน่วยกิต

14

 

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

บังคับ

2000104 บัณฑิตในอุดมคติไทย 2(2-0-4) บังคับ
4000103 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 2(2-0-4) บังคับ
2422501 วิสาหกิจชุมชน 3(3-0-6)
2422502

การจัดการวิสาหกิจชุมชน

3(1-4-4)
วิชาเฉพาะด้านเลือก 1 ชุดวิชา 2(2-0-4)

รวมหน่วยกิต

15

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2422503

สังคมและชุมชนวัฒนธรรมท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

2422504 การเป็นวิทยากรกระบวนการ 3(3-0-6)  
4000102 คณิตศาสตร์ทั่วไป 2(2-0-4) บังคับ
3213128

การประกอบการธุรกิจชุมชน

3(3-0-6) บังคับ
  วิชาเฉพาะด้านเลือก 1 ชุดวิชา 3(3-0-6)  
 

รวมหน่วยกิต

14

 

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 3)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

บังคับ

2000102 วิถีโลก

2(2-0-4)

 
2422505 เกษตรกรรมยั่งยืนและสิ่งแวดล้อมชุมชน 3(3-0-6)  
2422506 ชุมชนกับนวัตกรรมทางสังคม

3(3-0-6)

 
2422508 วิชาเฉพาะด้านเลือก 1 ชุดวิชา 2(2-0-4)  
  สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 2 3(270)  
 

รวมหน่วยกิต

15

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2423501

กองทุนและสวัสดิการชุมชน

3(3-0-6)

2423502 การจัดการกองทุนและสวัสดิการชุมชน 3(1-4-4)
2000103 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 2(2-0-4)

บังคับ

วิชาเฉพาะด้านเลือก 2 ชุดวิชา 3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหน่วยกิต

14

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2423505 สุขภาพและวิถีชุมชน 3(3-0-6)

2423506 

การจัดการสุขภาพชุมชน

3(1-4-4)

วิชาเฉพาะด้านเลือก 2 ชุดวิชา

3(3-0-6)

2(2-0-4)

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา 3(3-0-6)

รวมหน่วยกิต

14

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 3)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมายเหตุ

2423507

เครือข่ายชุมชน

3(3-0-6)

2423509 การจัดการเครือข่ายชุมชน 3(1-4-4)
2423508 สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 3 3(270)
วิชาเฉพาะด้านเลือก 1 ชุดวิชา 3(3-0-6)
วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา 3(3-0-6)

รวมหน่วยกิต

15

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. หมวดวิชาเฉพาะ

                    2.1 วิชาแกน

รายวิชา 2421501

กระบวนทัศน์พัฒนาพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

Basic Development Paradigm

 

        ศึกษาความหมายของคำว่ากระบวนทัศน์ อันเป็นพื้นฐานการพัฒนารูปแบบต่าง ๆ ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงปัจจุบัน ทั้งในระดับโลกจนถึงระดับประเทศ โดยเฉพาะตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนที่ 1 เป็นต้นมา ผลกระทบของการพัฒนาต่อวิถีของชุมชน และศึกษาทางเลือกกระบวนการพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

รายวิชา 2421502

ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน

3 (3-0-6)

 

Local Wisdom and Community Development

 

        ศึกษาความหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่นในบริบทของวิถีชุมชน วิธีการถอดรหัสภูมิปัญญาเพื่อเข้าถึงความหมายลึกและคุณค่าของภูมิปัญญา รวมทั้งศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และประยุกต์ภูมิปัญญาเพื่อการพัฒนาชุมชน

รายวิชา 2421503

การจัดการความรู้ การวางเป้าหมาย และแผนชีวิต

3 (3-0-6)

 

Knowledge Management, Setting Life Purpose and Plan

 

        ศึกษาการจัดการความรู้ในการพัฒนาการของตนเอง ค้นพบตนเอง ตระหนักในศักยภาพ ความถนัด ความมุ่งหวัง และข้อจำกัดของตนเอง จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ และความรู้เกี่ยวกับตนเอง รู้จักใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการเพิ่มพูนและเติมเต็มความรู้เข้าระบบ และการใช้ประโยชน์จากฐานความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นกระบวนการตลอดชีวิต วางเป้าหมายชีวิต แผนชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแผนบนกระบวนการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดทุกช่วงชีวิต

รายวิชา 2422503

สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น

3 (3-0-6)

 

Social and Cultural of Local Community

 

        ศึกษาขอบเขต ความหมาย ความสำคัญของสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โครงสร้างสังคม ท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น วิธีการศึกษาชุมชน นโยบายเพื่อการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น

รายวิชา 2422505

เกษตรกรรมยั่งยืนและสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (3-0-6)

 

Sustainable Agriculture and Community Environment

 

        ศึกษาแนวคิดและรูปแบบต่าง ๆ ของเกษตรกรรมผสมผสานหลากหลายรูปแบบที่เป็นหลัก ประกันความพอเพียงและยั่งยืนให้ครอบครัวและชุมชน รวมทั้งแนวคิดและรูปแบบการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมชุมชน เช่น ดิน น้ำ ป่า และระบบนิเวศ

รายวิชา 2422506

ชุมชนกับนวัตกรรมทางสังคม

3 (3-0-6)

 

Community and Social Innovation

 

        ศึกษาประวัติวิวัฒนาการของนวัตกรรมด้านต่าง ๆ (ได้แก่ เทคโนโลยี ระบบเงินตรา การสงคราม ฯลฯ) ที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับความแตกต่างของภูมินิเวศวิทยา เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดความสัมพันธ์ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การขยายอำนาจในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก

                    2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

รายวิชา 2421504

การทำแผนแม่บทชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Strategic Planning

 

        ศึกษาแนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับแผนแม่บทชุมชนด้วยวิธีประชาพิจัย (People Research for Development - PR&D) ซึ่งโยงไปถึงกระบวนทัศน์พัฒนา รวมทั้งการศึกษากรณีตัวอย่างเพื่อให้เห็นการดำเนินงานทั้งกระบวนการ และปัจจัยความสำเร็จของการทำแผนดังกล่าว

รายวิชา 2421505

การจัดการแผนแม่บทชุมชน

3(1-4-4)

 

Management on Community Strategic Planning

 

        ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจัดทำแผนแม่บทชุมชน โดยกระบวนการประชาพิจัยจากการจัดกลุ่มบุคคลในท้องถิ่นที่มีความพร้อม ร่วมบันทึกและสำรวจข้อมูล ครอบครัว และชุมชน ประมวลผลข้อมูล การวิเคราะห์และอภิปรายผลข้อมูลในเวทีการเรียนรู้ ตลอดจนร่วมกันสังเคราะห์แผนแม่บทชุมชน ทั้งนี้ มีการรายงานผลการปฏิบัติ พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา

รายวิชา 2422501

วิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Enterprise

 

        ศึกษาความหมายของวิสาหกิจชุมชน แนวคิดและรูปแบบการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน พร้อมทั้งตัวอย่างคลัสเตอร์ (clusters) วิสาหกิจชุมชน และการจัดการแบบผนึกพลัง (synergy) เพื่อให้เห็นความเกี่ยวโยงไปถึงระบบเศรษฐกิจชุมชน กระบวนการเรียนรู้หรือการทำข้อมูลและแผนแม่บทเพื่อก่อให้เกิดวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งการสร้างนักวิสาหกิจชุมชน

รายวิชา 2422502

การจัดการวิสาหกิจชุมชน

3(1-4-4)

 

Management on Community Enterprise

 

        ศึกษาเรื่องวิสาหกิจชุมชนในช่วงพัฒนาการของวิสาหกิจชุมชนหนึ่ง ๆ หรือร่วมปฏิบัติการก่อตั้งวิสาหกิจชุมชน โดยการจัดการแบบผนึกพลัง (Synergy) ซึ่งเกี่ยวโยงถึงระบบเศรษฐกิจชุมชน มีการวางแผนจากพื้นฐานข้อมูล การเก็บรวบรวมผลการปฏิบัติเป็นระยะ วิเคราะห์ผลประเมินผล และรวบรวม รายงานผล พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางทางการพัฒนา

รายวิชา 2422504

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

3 (3-0-6)

 

Process Facilitator

 

        ศึกษาศาสตร์และศิลปะการถ่ายโยงความรู้ การฝึกฝนทักษะ และการเสริมสร้างเจตคติ การวิเคราะห์และสร้างหลักสูตร การวางแผนสาระ และการออกแบบสื่อ และกิจกรรมกระบวนการให้การอบรม การเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติในฐานะวิทยากรผู้ถ่ายโยงการเรียนรู้และกำกับกิจกรรมกระบวนการ พัฒนาท้องถิ่นตามแต่ละกิจกรรม/ โครงการ ครอบคลุมกระบวนการวัดผล ประเมินผล และรายงานผล การปฏิบัติหน้าที่วิทยากรกระบวนการ

รายวิชา 2423501

กองทุนและสวัสดิการชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Funds and Welfare

 

        ศึกษาความหมายของทุนชุมชน แนวคิด แนวปฏิบัติและรูปแบบของการดำเนินงานเกี่ยวกับกองทุนชุมชน และการจัดระบบสวัสดิการโดยอาศัยทุนของชุมชน ซึ่งรวมถึงการจัดการทุนทรัพยากร ทุนทางสังคม ทุนทางปัญญาเพื่อสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตของชุมชน ซึ่งเกี่ยวโยงไปถึงระบบการออม การผลิตและการบริโภค

รายวิชา 2423502

การจัดการกองทุนและสวัสดิการชุมชน

3(1-4-4)

 

Management on Community Funds and Welfare

 

        ศึกษาเกี่ยวกับการจัดกองทุน โดยเริ่มจากการจัดกองทุนครอบครัวหรือเครือญาติให้มีระบบสวัสดิการในครอบครัว และขยายหรือร่วมปฏิบัติงานในกองทุนในชุมชนและระบบสวัสดิการจากทุนของชุมชน ตามสภาพความพร้อม โดยมีการวางแผนจากพื้นฐานข้อมูล การเก็บรวบรวมผลการปฏิบัติเป็นระยะ วิเคราะห์ผล ประเมินผล และรวบรวมรายงานผล พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา

รายวิชา 2423505

สุขภาพและวิถีชุมชน

3(3-0-6)

 

Health and Community Way

 

        ศึกษาแนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันและดูแลสุขภาพของชุมชนโดยวิธีผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับความรู้ด้านสาธารณสุขสมัยใหม่ โดยเน้นสุขภาพแบบองค์รวมและ “การสร้าง” มากกว่า “การซ่อม”

รายวิชา 2423506

การจัดการสุขภาพชุมชน

3(1-4-4)

 

Management on Community Health

 

        ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชนโดยวิธีผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับความรู้ด้านสาธารณสุขสมัยใหม่ เน้นสุขภาพแบบองค์รวมโดยกระบวนการปฏิบัติเชิงระบบมีการวางแผนจากพื้นฐานข้อมูล การเก็บรวบรวมผลการปฏิบัติเป็นระยะ วิเคราะห์ผล ประเมินผล และรวบรวมรายงานผล พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา

รายวิชา 2423507

เครือข่ายชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Network

 

        ศึกษาแนวคิดและแนวปฏิบัติเรื่องเครือข่าย ความหมายและความสำคัญในการพัฒนาชุมชน การสื่อสารเพื่อการพัฒนา ศึกษากรณีตัวอย่างต่าง ๆ ของเครือข่ายองค์กรชุมชน รวมทั้งเครือข่ายประชาสังคมในความหมายที่กว้างออกไป

รายวิชา 2423509

การจัดการเครือข่ายชุมชน

3(1-4-4)

 

Management on Community Network

 

        ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องกรณีองค์กรชุมชนที่มีการจัดการเชื่อมประสานเป็นเครือข่ายกับองค์กรชุมชนต่างๆ เกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการ การพัฒนาการดำเนินงาน การประสานงานเครือข่ายชุมชน พร้อมร่วมการปฏิบัติกิจกรรมเครือข่ายและการพัฒนาระบบงานเครือข่ายชุมชน ทั้งนี้ มีการรายงานผลการปฏิบัติ พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา

 

                    2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

รายวิชา 2422713

เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

2 (2-0-4)

 

Appropriate Technology for Local Life

 

        ศึกษาความหมายของเทคโนโลยี อิทธิพลของเทคโนโลยีต่อการดำรงชีวิต การเลือกใช้เทคโนโลยี การจัดการปรับปรุงเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับท้องถิ่น การนำพลังงานทดแทนมาใช้ในท้องถิ่นเพื่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ

รายวิชา 2423221

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Economics for Development

 

        หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ลักษณะพื้นฐาน โครงสร้าง และปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา การพัฒนาเกษตรกรรมและการพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ประชากร การศึกษา และสุขภาพอนามัย การออม การลงทุน การค้า และหนี้ต่างประเทศ ปัญหาและทางเลือกของการพัฒนาเศรษฐกิจ

รายวิชา 242350 3

การจัดการเกษตรยั่งยืน

3(2-2-5)

 

Management on Sustainable Agriculture

 

        ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเกษตรกรรมผสมผสานหลากหลายรูปแบบที่เห็นผลในหลักประกันความพอเพียงและยั่งยืนให้ครอบครัวและชุมชนโดยกระบวนการเชิงระบบ มีการวางแผนจากพื้นฐานข้อมูล และการประยุกต์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความรู้สากลอย่างสมดุล การเก็บผลการปฏิบัติเป็นระยะและวิเคราะห์ผล ประเมินผล และรวบรวมรายงานผลพร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา

รายวิชา 242350 4

การจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

 

Management on Agriculture and Environment

 

        ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องงานแปลงเกษตรกรรมตัวอย่าง ที่ยึดกระบวนทัศน์การพัฒนาที่ยั่งยืนและดำรงความสมดุลของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและกระบวนการจัดการเกษตรกรรมและสิ่งแวดล้อมยั่งยืน

รายวิชา 2423715

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน

3 (2-2-5)

 

Natural Resources and Environmental Management in Community

        ความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ วิธีการการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน การปลูกฝังการสร้างจิตสำนึกให้กับชุมชนในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน การจัดทำแผนการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่น

รายวิชา 2423716

การบริหารความขัดแย้งในชุมชน

2 (2-0-4)

 

Conflict Management in Community

 

        ศึกษาความหมาย ขั้นตอนของการบริหารความขัดแย้ง วิเคราะห์กระบวนการบริหารความขัดแย้งแบบต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน วิธีการจัดการกับความขัดแย้งเพื่อนำมาใช้ในการจัดการชุมชนที่เหมาะสม

รายวิชา 2423720

กลุ่มธุรกิจพื้นฐานกับการจัดการชุมชน

2 (2-0-4)

 

Basic Social - Economic Units and Community Development

 

        ศึกษาทฤษฎี หลักการ องค์ประกอบ และวัฏจักรของกลุ่มธุรกิจพื้นฐานในชุมชน ปัจจัยและอำนาจต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบทบาทของกลุ่มที่มีต่อสมาชิกและสังคม การวิเคราะห์กลุ่มต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน ทั้งที่เกิดจากการจัดตั้งของประชาชน และจากการสนับสนุนของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อทราบปัญหาและแนวทางแก้ไข

รายวิชา 2424701

รัฐธรรมนูญกับสิทธิชุมชน

2 (2-0-4)

 

The Constitution and Community Rights

 

        ศึกษาแนวคิดพื้นฐาน ความหมาย หลักการ และความสำคัญของสิทธิมนุษยชน เข้าใจถึงสิทธิบุคคล สิทธิชุมชน และพัฒนาการสิทธิมนุษยชนตามหลักสากล และตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รายวิชา 2424709

การท่องเที่ยวโดยชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Based Tourism

 

        ศึกษาแนวคิด หลักการ องค์ประกอบ และรูปแบบการท่องเที่ยว และการท่องเที่ยว โดยชุมชน การบูรณาการการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ การสร้างการมีส่วนร่วม และการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวที่ชุมชนเป็นฐาน โดยการใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในงานพัฒนา

รายวิชา 2424710

การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Tourism Development

 

        การท่องเที่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ฐานการพัฒนาการท่องเที่ยวในชุมชนและท้องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และวัฒนธรรม การจัดการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ การจัดการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาในชุมชน การตลาด และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดการท่องเที่ยวในชุมชนและท้องถิ่นภายในประเทศ

รายวิชา 2424711

มัคคุเทศก์ชุมชน

2 (2-0-4)

 

Tour Guide for Community

 

        การเพิ่มทัศนคติที่ดีแก่มัคคุเทศก์ การเพิ่มความรู้ จริยธรรม และการต้อนรับในบทบาทมัคคุเทศก์ การใช้ภาษา การวางตัวในแบบอย่างตัวแทนที่ดีของไทย การพัฒนาบุคลิกภาพของมัคคุเทศก์ การรับผิดชอบต่อลูกค้า และการให้บริการที่ดีอย่างประทับใจ

รายวิชา 2424722

การพัฒนาองค์กรชุมชน

3 (3-0-6)

 

Organization Community Development

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ประเภทขององค์กรชุมชนในการบริหารงานและการพัฒนาองค์กรชุมชน การดำเนินงานขององค์กรชุมชนในประเทศไทย ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

รายวิชา 2431301

ประเพณีประจำท้องถิ่น

2 (2-0-4)

 

Local Tradition

 

        ศึกษาประวัติของประเพณีท้องถิ่นในภาคต่างๆ ของประเทศไทย (เน้นหนักท้องถิ่นของตน) รูปแบบการจัดกิจกรรม ความเชื่ออันเป็นบ่อเกิดของแก่นแท้ของประเพณี ให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมในงานประเพณีเพื่อเป็นผู้แนะนำส่งเสริมประเพณีเหล่านั้นในโอกาสต่อไป

รายวิชา 2461102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

3 (3-0-6)

  Principles of Jurisprudence  

        ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ได้แก่ ความหมาย ประเภท ความสำคัญ การจัดทำ การใช้ การยกเลิก การตีความ และกระบวนการยุติธรรม ฯลฯ ศึกษากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและอาญา เฉพาะในส่วนที่เป็นความรู้เบื้องต้น

รายวิชา 2461501

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3 (3-0-6)

 

Constitutional Law

 

        ศึกษาความหมาย ประวัติ และวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ ประเภทของรัฐธรรมนูญ การแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย และความเกี่ยวพันระหว่างอำนาจนั้น ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญของไทย วัตถุประสงค์ของกฎหมายรัฐธรรมนูญชนิดต่างๆ ศึกษาการกำหนดและการสถาปนารัฐธรรมนูญ ศึกษาการปกครอง ตามระบอบรัฐธรรมนูญตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน เปรียบเทียบตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน

รายวิชา 2534406

การอนุรักษ์และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

3(2-2-5)

 

Environment Conservation in Community Development

 

        ความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ วิธีการ การปลูกฝัง การสร้างจิตสำนึกของชุมชนในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

       

                    2.4 วิชาวิทยาการจัดการ

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3213128

การประกอบการธุรกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Business Operation

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ รูปแบบ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบการธุรกิจชุมชน ได้แก่ การจัดการ การบริหารทรัพยากรบุคคล การตลาดการเงิน การบัญชี และปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนศึกษาลักษณะของชุมชน ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่เหมาะสมต่อการประกอบธุรกิจ และปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินการของผู้ประกอบการธุรกิจ ตลอดจนศึกษาถึงจรรยาบรรณของผู้ประกอบการธุรกิจที่มีต่อชุมชนและต่อสังคมโดยรวม ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในบทบาทของธุรกิจชุมชน

รายวิชา 3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Economics

 

        ศึกษาความหมาย ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และกลไกทำงานของระบบราคา สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวันเพื่อการประกอบธุรกิจ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตลาด สถาบันการเงิน การภาษีอากร การค้า การลงทุน ปัญหาเศรษฐกิจ และแนวทางในการแก้ไขปัญหา

 

                    2.5 วิชาเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและงาน

รายวิชา 2421508

การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 1

3(270)

 

Strengthening Life and Work Experience 1

 

        จัดให้มีกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาวิเคราะห์ และตั้งเป้าหมายในการพัฒนาชีวิตและงานของตนในด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน อาทิ ด้านสุขภาพ ร่างกาย ด้านปัญญา ความรอบรู้ ด้านคุณธรรม และด้านทักษะปฏิบัติ ฝึกฝนตนเองให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้ง พร้อมเขียนรายงานและนำเสนอผลการทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น

รายวิชา 2422508

การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 2

3(270)

 

Strengthening Life and Work Experience 2

 

        จัดให้มีกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาวิเคราะห์ตนเองและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ ขจัดจุดอ่อนของตน พัฒนาจุดแข็ง พัฒนาบุคลิกภาพของตัวเอง เข้าใจผู้อื่น พัฒนาความสัมพันธ์กับผู้ใกล้ชิดในครอบครัว ที่ทำงาน และกับผู้อื่นในชุมชนและสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

รายวิชา 2423508

การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและงาน 3

3(270)

 

Strengthening Life and Work Experience 3

 

        จัดให้มีกิจกรรมการเรียนรู้งานในหน้าที่รับผิดชอบ เน้นการทำงานภายใต้การแนะนำช่วยเหลือของผู้มีประสบการณ์ เพื่อที่จะได้เรียนรู้ วิเคราะห์ปัญหา และวิธีการตัดสินใจในการแก้ปัญหา การปรับปรุงคุณภาพงาน ได้เรียนรู้และบูรณาการความคิดความเข้าใจในงานและชีวิตได้ด้วยตนเอง มีความรัก ความศรัทธาในอาชีพ มีส่วนร่วมในเครือข่ายวิชาชีพทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และหรือระดับระหว่างประเทศ

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นการจัดหลักสูตรที่เน้นการประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันและการพัฒนาอาชีพที่กำลังทำอยู่ โดยกำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1.  กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2.  แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3.  จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                4.  มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                5.  จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                6.  มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                7.  มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                8.  ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                9.  จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการจัดกระบวนการเรียนรู้

                1.  จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างเพียงพอ
                2.  จัดหาทรัพยากรที่เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3.  จัดแหล่งปฏิบัติการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4.  ร่วมมือกับสถาบันชุมชนท้องถิ่น องค์กรชุมชน ศูนย์เรียนรู้ในชุมชน เพื่อบูรณาการ กระบวนการเรียนรู้

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1.  จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2.  จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มเรียนรู้
                3.  จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4.  ส่งเสริมให้นักศึกษามีการยกระดับด้านอาชีพให้มีประสิทธิภาพ
                5.  จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น ในการยกระดับมาตรฐานอาชีพ

                1.  มีการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์
                2.  มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกลุ่ม องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น
                3.  มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

        18.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้

                หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นหลักสูตรที่มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนเน้นการประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันและการพัฒนาอาชีพที่กำลังทำอยู่และมีความแตกต่างและโดดเด่นจากหลักสูตรอื่นๆ
โดยทั่วไป คือ

                1. เป็นหลักสูตรที่มีภาคีหน่วยงานทั้ง ภาครัฐ เอกชน ภาคองค์กรปกครองส่วนถิ่นและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

                        1.1. ชุมชนท้องถิ่นเป็นเจ้าของมหาวิทยาลัย และต้องการให้มีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น
                        1.2. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นดูแล ส่งเสริม และสนับสนุนด้านวัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ และงบประมาณบางส่วน
                        1.3. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีบทบาทเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการ สนับสนุนส่งเสริมด้านวิชาการ และบุคลากรตลอดจนวุฒิการศึกษา
                        1.4. สถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนมีบทบาทจัดอบรมเตรียมผู้จัดกระบวนการเรียนการสอน (ครูผู้สอน) เพื่อความเข้าใจและชัดเจนต่อแนวทางการจัดหลักสูตรครั้งนี้

                2. เป็นหลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้เทคนิคการจัดการความรู้ในกระบวนการเรียนการสอน เน้นการแลกเปลี่ยน เรียนรู้จากประสบการณ์จริงและนำไปปฏิบัติเพื่อการพัฒนาตนเอง ครอบครัว กลุ่ม องค์กร
                    และชุมชน เพื่อให้ตกผนึกทางความคิดและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1.  มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2.  มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3.  มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4.  มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5.  มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6.  มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***************

 

ภาคผนวก

1. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

        1.  ผศ.เกษม ศรีเดิมมา วท.ม. (ชีววิทยา)

        2.  ผศ.ดร.บัญญัติ ชำนาญกิจ ค.ด.(หลักสูตรและการสอน)

        3.  ผศ.เสรี ซาเหลา สส.ม. (พัฒนาชุมชน)

        4.  ดร.ศุภชัย ทวี ศษ.ด.(วิทยาศาสตร์ศึกษา – ฟิสิกส์)

        5.  อ.กันยา กาวิน วท.ม. (ชีววิทยา)

        6.  อ.พรรณภัทร ใจเอื้อ สส.ม. (การบริหารนโยบายและสวัสดิการสังคม)

        7.  อ.วรภพ วงค์รอด พช.ม. (พัฒนาชุมชน)

        8.  อ.ปพงค์มนัส อินทะจักร์ พช.ม. (พัฒนาชุมชน)

        9.  อ.นพดล เกษตรเวทิน ศศ.ม. (พัฒนาชนบทศึกษา)

        10.    อ.อุทัยวรรณ ภู่เทศ พช.ม. (พัฒนาชุมชน)

        11.  อ.สมิง จงกสิกิจ วท.ม. (เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม)

        12.  นายวิริยะ อินสวรรค์ ศูนย์ฯ มหาวิทยาลัยชีวิตประดู่ยืน อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี

        13.  นางพิสมัย ชูศักดิ์ ศูนย์ฯ มหาวิทยาลัยชีวิตประดู่ยืน อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี

        14. นายสมชาย พิชัย โรงเรียนชาวนา อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์

        15. นายเสถียร คำตา อบต.ลานสัก จ.อุทัยธานี

        16. นายถนอม ช่วยงาน ปราชญ์ชาวบ้าน อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์

        17. นายทองเม็ด พรมพิทักษ์ อบต.วังน้ำลัด อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์

        18. นางสุนีย์ จันทร์สูรย์ สำนักงานสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

        19. นายบุญยง อินทร์ประสิทธิ์ อบต.วังน้ำลัด อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์

        20. นายกำชัย หทัยไพบูลย์ อบต.วังน้ำลัด

        21. นางวรรณะ บุญยาส  ศูนย์มหาวิทยาลัยชีวิตประดู่ยืน

        22. นายชำนาญ เหลืองบำรุงรักษ์ เลขาฯนายกอบต.จันเสน

        23. นางสาวจารึก ช่วยงาน เครือข่ายป่าชุมชน อ.ไพศาลี

        24. น.ส.พรสิริ เอี่ยมแก้ว ม.ราชภัฏนครสวรรค์

        25. นายเกริกเกียรติ ราชประสิทธิ์ อบต.ตะคร้อ

        26. นางสุภาพร การหนองแต้น อบต.ตะคร้อ อ.ไพศาลี

        27. อ.นารัตน์ ทองแท้ ครูผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 7 โรงเรียนวัดจันเสน อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

        28. ดร.สุภาวรรณ วงค์คำจันทร์ วท.ด. (ชีววิทยา)

        29. นายเซียะ ธารชัยมงคล นายกอบต.ลานสัก อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี

        30. นายจิณณาวัฒน์ โคมบัว ผอ. การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยชีวิต ต.ประดู่ยืน จ.อุทัยธานี

2.  ร่างหลักสูตรศิลปะศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

        ประธานให้ที่ประชุมพิจารณาร่างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ดังเอกสารหมายเลข 5.2 ที่ประชุมให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปได้ดังนี้

        1. ควรดำเนินการหลักสูตรนี้อย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ที่เป็นการพัฒนาท้องถิ่น

        2. ตรวจสอบภาษาอังกฤษของชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญาให้ถูกต้อง

        3. ข้อ 4.2 .1 เดิม เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและสามารถเป็น เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้าน... (ระบุเพิ่ม)...และสามาร...

        4. ข้อ 6 ควรตัดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร ออก เนื่องจากซ้ำกับข้อความข้างต้น

        5. ข้อ 11.2 (3) เดิม สอบได้รหัสวิชาต่างๆ เป็น สอบผ่านวิชาต่างๆ

        6. ตรวจสอบและแก้ไขอาจารย์ประจำหลักสูตรให้มีคุณวุฒิตรง หรือสัมพันธ์และไม่เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรอื่น เว้นแต่เป็นหลักสูตรพหุวิทยาการที่ตรง หรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่ได้ประจำอยู่แล้ว จึงจะสามารถเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรนี้ได้อีก 1 หลักสูตร

        7. ควรสื่อสารกับอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อเข้าใจเจตนารมณ์ของหลักสูตรให้ตรงกันจะได้ร่วมมือบริหารจัดการหลักสูตรร่วมกัน

        8. รายวิชาที่กำหนดให้สอนควรสอดคล้องกับวุฒิการศึกษา เช่น ผศ.จำลอง ลือชา วุฒิ พบ.ม.(บริหารทรัพยากรมนุษย์) ให้สอนรายวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ ซึ่งผู้สอนอาจไม่มีประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆ เป็นต้น

        9. ควรมีสื่อประกอบการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพิ่มเติม เช่น เอกสาร เป็นต้น

        10. กรณีหลักสูตรนี้ต้องการให้นักศึกษาพัฒนางานเดิมที่ทำอยู่ให้ดีขึ้น ควรเพิ่มรายวิชาที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น วิทยาศาสตร์พื้นฐานการเกษตร เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย บัญชีครัวเรือน ฯลฯ เพื่อนำไปบริหารจัดการชีวิตประจำวันให้ดีขึ้นในวิชาแกน
              หรือวิชาเฉพาะ ทั้งนี้จำนวนหน่วยกิตอาจเพิ่มขึ้นไปจากเดิมได้

        11. ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของการพิมพ์ในหัวข้อต่างๆ เช่น หน้า 17 , 18 มีหนังสือการพัฒนาชนบทซ้ำกันอยู่หลายแห่ง หน้า 29 รายวิชา 2421506 การจัดการวิสาหกิจชุมชน 1 ซ้ำ เป็นต้น

        12. รายวิชาที่ระบุเลขต่อท้ายควรแก้ไขเป็นชื่อเฉพาะนั้นๆ โดยสังเคราะห์จากคำอธิบายรายวิชา และรายวิชาที่ระบุเลขลำดับต่อไป ควรมีคำอธิยาบรายวิชาที่ลึกซึ้งแตกต่างจากรายวิชาแรกไม่ควรใช้ข้อความเดิมซ้ำๆ

        13. การระบุรายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน กรณีไม่จำเป็นต้องใช้พื้นฐานจากวิชาแรกเป็นฐานในการเรียนรู้ ก็ไม่ควรระบุให้เป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอนภายหลัง

       14. ควรเน้นการประกันคุณภาพการศึกษาของหลักสูตรนี้ให้เท่าเทียมกับมาตรฐานหลักสูตรโดยทั่วไปของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ควรเพิ่มทักษะในการจัดการเรียนการสอนให้แก่คณะจารย์เพื่อสามารถบุรณาการการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ปัญหาของผู้เรียนมา
            ผสมผสานกับเนื้อหาวิชาต่างๆ เช่น การอบรม การศึกษาดูงานการบริหารจัดการของวิทยากรท้องถิ่นที่ประสบความสำเร็จเป็นต้น

        15. ภาคผนวกควรระบุสิ่งต่อไปนี้

                15.1 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานที่ ลักษณะเด่น ปราชญ์ชาวบ้าน ของชุมชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
                15.2 ความร่วมมือกับปราชญ์ชาวบ้าน โดยแสดงวิธีการนำวิชาการผสมผสานกับชาวบ้านอย่างไร
                15.3 ทิศทางและแนวปฏิบัติของหลักสูตร เกี่ยวกับการเปิดสอนระยะแรกกี่ชุมชนและมีหลักเกณฑ์ในการเลือกชุมชนอย่างไร

        16. ควรประมาณการหลักสูตรนี้ให้คุ้มทุน โดยระยะแรกควรมีแผนที่ที่ชัดเจนว่านักศึกษากลุ่มเป้าหมายในชุมชนต่างๆ มีมากถึง 3-4 รุ่น หรือไม่

        17. แนวปฏิบัติในการร่วมมือกับเครือข่ายต่างๆ ควรระบุข้อตกลงให้ชัดเจน เช่น เรื่องค่าตอบแทน เป็นต้น เพื่อมิให้เกิดข้อผิดพลาดกระทบกับหลักสูตรนี้ภายหลัง

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก