หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1.

ชื่อหลักสูตร

2.

ชื่อปริญญา

3.

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4.

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5.

กำหนดการเปิดสอน

6.

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7.

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8.

ระบบการศึกษา

9.

ระยะเวลาการศึกษา

10.

การลงทะเบียนเรียน

11.

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12.

อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ประจำหลักสูตร

13.

จำนวนนักศึกษา

14.

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15.

ห้องสมุด

16.

งบประมาณ

17.

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18.

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19.

การพัฒนาหลักสูตร

20 ภาคผนวก
 

ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2549

……………………………………………..

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Fine Arts Program in Music

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม :  ศิลปบัณฑิต (ดนตรี)
   Bachelor of Fine Arts (Music)
ชื่อย่อ : ศป.บ. (ดนตรี)
 

B.F.A. (Music)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญา

                สาขาวิชาดนตรี ภาควิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มุ่งผลิตบัณฑิตดนตรี ให้มีฝีมือในระดับสากล มีความรัก ความเข้าใจและเข้าถึงศิลปะการดนตรีได้ลึกซึ้ง มีศักยภาพที่พัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่สังคมและตนเอง พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาศิลปะการดนตรีให้เป็นงานอาชีพที่สร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติได้

        4.2 วัตถุประสงค์

                1. ให้บัณฑิตมีความรู้ ความเข้าใจ ทางด้านทฤษฎีดนตรี และมีความเข้าใจในสุนทรียะและปรัชญาดนตรี
                2. ให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถปฏิบัติดนตรีได้อย่างถูกต้องในระดับมาตรฐานสากล และสามารถนำความรู้มาประกอบอาชีพได้
                3. ให้บัณฑิตเป็นผู้ที่สามารถนำความรู้ไปประยุกต์เข้ากับเทคโนโลยี และสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยสอดคล้องกับความต้องการในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ
                4. ให้บัณฑิตเป็นผู้ที่มีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ มีคุณธรรมและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

5. กำหนดการเปิดสอน

        กำหนดการเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า และ/หรือเป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับของการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        คัดเลือกผู้เข้าศึกษาโดยเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

9. ระยะเวลาการศึกษา

        การศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนให้เป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ประจำหลักสูตร

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่ง

วุฒิการศึกษา

1. นายภิญโญ ภู่เทศ

    -  อาจารย์

    -  ศป.ม. (มานุษยดุริยางควิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร
    -  ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

2. นายสุเทพ ไม้ทองดี

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

    -  ค.ม. (หลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  กศ.บ. (ดุริยางคศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

3. ว่าที่ร้อยตรีพิเศษ ภัทรพงษ์

    -  อาจารย์ 2 ระดับ 7

    -  Ph.D. (Education) Adamson University, Philippines
    -  ค.ม. (การศึกษานอกระบบโรงเรียน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  ศษ.บ. (การศึกษานอกระบบโรงเรียน) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    -  ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏเชียงใหม่

4. นายมารุต ปิยสุทธิ์

    -  อาจารย์ 2 ระดับ 7

    -  กศ.บ. (ดุริยางคศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

5. นายธีรพล ชูศักดิ์

    -  อาจารย์

    -  ศป.บ. (ดุริยางคศิลป์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        12.2 อาจารย์ผู้สอนหมวดวิชาเฉพาะ

ชื่อ-นามสกุล

ประสบการณ์/ผลงานวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1. นายสุเทพ ไม้ทองดี

ประสบการณ์ทำงาน

    -  หัวหน้าภาควิชาดนตรี
    -  หัวหน้าฝ่ายอาคารสถานที่
    -  รองผู้อำนวยการสำนักงานอธิการ
    -  รองผู้อำนวยการสำนักศิลปวัฒนธรรม

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ชีวิตกับดนตรี
    -  ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน

2. นายสุชาติ แสงทอง

ประสบการณ์ทำงาน

    -  หัวหน้าภาควิชาดนตรี
    -  ผู้อำนวยการสำนักศิลปวัฒนธรรม

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 3 เล่ม

งานวิจัย

    -  5 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การผลิตผลงานดนตรีด้วยคอมพิวเตอร์
    -  ทฤษฎีดนตรีสากล 1
    -  ทฤษฎีดนตรีสากล 2
    -  ทฤษฎีดนตรีสากล 3
    -  ทฤษฎีดนตรีสากล 4
    -  รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3. นายภิญโญ ภู่เทศ

ประสบการณ์ทำงาน

    -  ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
    -  หัวหน้าฝ่ายกิจกรรม

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  3 เรื่อง

รายวิชาที่จัดสอน

    -  คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน
    -  คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ
    -  ปฏิบัติรวมวงดนตรี 1
    -  ปฏิบัติรวมวงดนตรี 2
    -  ปฏิบัติรวมวงดนตรี 3
    -  การบริหารจัดการวงดนตรี
    -  การสัมมนาดนตรี

4.ว่าที่ร้อยตรีพิเศษ ภัทรพงษ์

ประสบการณ์ทำงาน

    -  หัวหน้าภาควิชาดนตรี
    -  รองคณบดี
    -  รองผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิชาการ
    -  ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิชาการ

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การเสนอผลงานด้านดนตรี
    -  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจดนตรี
    -  การประพันธ์
    -  ปฏิบัติกีตาร์
    -  การวิจัยดนตรี

5. นายมารุต ปิยสุทธิ์

ประสบการณ์ทำงาน

    -  หัวหน้าภาควิชาดนตรี
    -  รองผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิต

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

รายวิชาที่จัดสอน

    -  สวนศาสตร์ดนตรี
    -  ประวัติดนตรีตะวันตก
    -  ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง
    -  ปฏิบัติเปียโน

6. นางวิมล หนูเกื้อ

ประสบการณ์ทำงาน

    -  หัวหน้าภาควิชาดนตรี
    -  รองคณบดี
    -  ผู้อำนวยการสำนักศิลปวัฒนธรรม

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  3 เรื่อง

รายวิชาที่จัดสอน

    -  พื้นฐานดนตรีไทย
    -  ขนบประเพณีดนตรีไทย
    -  การบันทึกโน้ตเพลงไทย
    -  ลักษณะและประเภทเพลงไทย

7. นายธีรพล ชูศักดิ์

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

รายวิชาที่จัดสอน

    -  หน้าทับดนตรีไทย
    -  ปฏิบัติเครื่องตีไทย
    -  ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย

8. นางสาวเทพิกา รอดสการ

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

งานวิจัย

    -  2 เรื่อง

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ทฤษฎีดนตรีไทย
    -  การจัดเก็บระบบข้อมูลดนตรี
    -  ประวัติการดนตรีไทย
    -  ปฏิบัติเครื่องสายไทย

9. นายเชาว์ ปิยสุทธิ์

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 2 เล่ม

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ปฏิบัติเครื่องเป่าสากล
    -  ปฏิบัติรวมวงดนตรี

10. นายกรกฏ วงศ์สุวรรณ

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  เอกสารประกอบการสอน 1 เล่ม

รายวิชาที่จัดสอน

    -  ปฏิบัติกีตาร์

13. จำนวนนักศึกษา

        จำนวนการรับนักศึกษาปริญญาตรีสาขาวิชาดนตรี

นักศึกษา

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

รวม

40

80

120

160

160

จำนวนที่คาดว่าจะจบการศึกษา

-

-

-

40

40

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ลำดับที่

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

หมายเหตุ

1.

อาคารดนตรี

1

1

 

2.

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ดนตรี

-

2

 

3.

ห้องปฏิบัติการรวมวงดนตรี

3

5

 

4.

ห้องปฏิบัติการเดี่ยวดนตรี

32

32

 

5.

ห้องปฏิบัติการบันทึกเสียง

-

2

 

        14.2 อุปกรณ์การสอน

ลำดับที่

อุปกรณ์การเรียนการสอน

จำนวนที่มีอยู่

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

หมายเหตุ

1.

เครื่องคอมพิวเตอร์

1

80

 

2.

เครื่องโปรเจ็คเตอร์

-

4

 

3.

เครื่องเล่นเทป, ซีดี, วีซีดี, วีดีโอ

2

8

 

4.

เครื่องดนตรีสากล

50

50

 

5.

เครื่องดนตรีไทย

30

20

 

6.

โทรทัศน์สี, จอรับภาพเคลื่อนที่

1

6

 

7.

สื่อการสอนโน้ตเพลง

-

200

 

8.

เครื่องเสียงในการบรรยาย

-

2

 

9.

เครื่องอีเล็กทรอนิคทางด้านดนตรี

-

10

 

10.

อุปกรณ์สำหรับห้องบันทึกเสียง

-

2

 

11.

เครื่องเสียงสำหรับจัดการแสดงกลางแจ้ง

-

2

 

12.

กล้องสำหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหว

-

2

 

13.

เครื่องถ่ายเอกสาร

-

1

 

15. ห้องสมุด

        15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ลำดับที่

ชื่อหนังสือดนตรี

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่เพียงพอ

หมายเหตุ

1.

เรียนภาษาไทยด้วยเพลงชุด

1

5

 

2.

สยามสังคีต ดนตรีไทย ไพเราะ เดี่ยวขลุ่ย

1

4

 

3.

ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชาดนตรีศึกษาที่มีส่วนสนับสนุนดนตรีไทยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วนกลาง

1

3

 

4.

Music handbook for the elementary school

1

4

 

5.

A Handbook of Music and Music Literature in Sets and Series

1

5

 

6.

การประชุมวิชาการดนตรี ครั้งที่ 3 / วิทยาลัยดุริยางค์ศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

1

3

 

7.

Practical dictionary of musical terms

1

4

 

8.

9 ปี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ / วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

5

 

9.

ดนตรีปริทรรศน์ : bหนังสืออ่านประกอบสังคีตนิยม / ไขแสง ศุขะวัฒนะ.

1

5

 

10.

A history of western music / Donald Jay Grout and Claude V. Palisca.

1

4

 

11.

โคไดสู่การปฏิบัติ /ธวัชชัย นาควงษ์.

1

3

 

12.

Music : bThe Art of Listening / Jean Ferris.

1

4

 

13.

The Enjoyment of Music : ban Introduction to Perceptive Listening / Joseph Machils and Kristine Forney.

1

5

 

14.

สังคีตนิยม สภาพแวดล้อมในการออกแบบเขตร้อน / สมัยศารท สนิทวงศ์ ณ อยุธยา.

1

4

 

15.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสุนทรียภาพแห่งชีวิต 2000102 สุนทรียภาพด้านดนตรี / โปรแกรมวิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 สถาบันราชภัฎนครสวรรค์.

1

5

 

16.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพื้นฐานดนตรีไทย2161101 / วิมล หนูเกื้อ.

1

4

 

17.

สังคีตนิยมเบื้องต้นว่าด้วยคลาสสิค / สมโภช รอดบุญ.

1

3

 

18.

คู่มือครูศิลปศึกษา ดนตรีไทยขับร้องไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น / กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

19.

คู่มือครูศิลปศึกษา วิชาขับร้องดนตรี ประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น / กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

5

 

20.

Careers in Music : Vocation or Avocation / by Mary Val Marsh, Carroll A Rine Hart and Edith J Savage.

1

4

 

21.

ปฐมบททฤษฎีดนตรี = Rudiment of Music / นพพร ด่านสกุล.

1

3

 

22.

สนุกกับดนตรีพื้นฐาน : แบบฝึกหัด = The Music kit : Work / ทอม แมนอฟฟ์ ; แปลโดย พริ้มรส มารี ประสิทธิ์, พิมพ์ชนก สุวรรณธาดา.

1

4

 

23.

A handbook of musical knowledge / James Murray Brown.

1

5

 

24.

เอกสารเสริมความรู้สำหรับครู กลุ่มสร้างเสริม ลักษณะนิสัย (ดนตรี และนาฏศิลป์) / กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

25.

A Student's dictionary of music / Willinms Levelock.

1

3

 

26.

The new grove dictionary of music and musicians / Stanley Sadie.

1

4

 

27.

สารานุกรมดนตรีและเพลงไทย / กาญจนา อินทรสุนานนท์.

1

5

 

28.

พจนานุกรมศัพท์ดุริยางคศิลป์ / ณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

5

 

29.

สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทยภาคคีตะดุริยางค์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน / ราชบัณฑิตยสถาน.

1

4

 

30.

Music of the Oseent / May Val Marsk.

1

4

 

31.

Conccst Guide / Von derlast Westernman.

1

4

 

32.

กว่าจะเป็น...อาร์เอส / โดย J2K (นามแฝง).

1

5

 

33.

คู่มือครูศิลปศึกษา วิชาขับร้องดนตรี ประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น / กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

3

 

34.

Teaching Music in the TwentyFirst Century / Lois Choksy...(et al.)

1

4

 

35.

Learning to teach music in the secondary school : a companion to school experience

1

5

 

36.

The Music Kit : bRhythm Reader and Scarebook

1

4

 

37.

The Music Kit : bWorkbook

1

5

 

38.

แบบเรียนดนตรีด้วยตัวเอง อ่านโน๊ตสากลภาคปฏิบัติ / เฉลิม ดวงยี่หวา.

1

3

 

39.

สานฝันด้วยเสียงเพลง / ดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล.

1

4

 

40.

สานฝันด้วยเสียงเพลง / ดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล.

1

4

 

41.

Music of LatinAmericans / Mary Val marsh, Carroll A. Rinehart and edith J. Savage.

1

5

 

42.

การประกวดดนตรีไทยระดับนักเรียน ภาคตะวันออก ครั้งที่ 3 / บรรณาธิการโดย ภารดี มหาขันธ์

1

5

 

43.

งานส่งเสริมดนตรีไทย ภาคใต้ ครั้งที่ 13 / มหาวิทยาลัย ทักษิณ.

1

4

 

44.

วิทยุโรงเรียน คู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2521 / ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการ.

1

5

 

45.

Teaching music in the secondary schools / Charles R. Hoffer.

1

4

 

46.

Supervising Music in Elementary School / Edward J Herman.

1

5

 

47.

Supervising Music in Elementary School / Edward J Herman.

1

4

 

48.

Teaching music in the secondary schools / Charles R. Hoffer.

1

5

 

49.

Teaching Rhythm and Using Classroom Instruments / Marguerite V Hood.

1

4

 

50.

Music eduction in the Modern World, materials of the ninth conference of the international Society for music
education / D. Kabalevsk.

1

5

 

51.

Counterpoint for Beginners / C.H. Kitson.

1

3

 

52.

The school music administrator and supervisor : bcatalysts for change in music education / cRobert HKlotman.

1

4

 

53.

Music and the teacher / Ian Lanrence.

1

5

 

54.

Guide to accountability in music instruction / Joseph A Labuta.

1

2

 

55.

Singing in Elementary Schools / Harriet Nordhalm.

1

4

 

56.

A Philosophy of Music education / Bennett Reimer.

1

5

 

57.

Training the High Schook Orchestia / Carson Rothrock.

1

4

 

58.

วิทยุโรงเรียนคู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรีชั้น ป.5-6-7 ปีการศึกษา 2513 / เกรียง เอี่ยมสกุล และคนอื่น ๆ.

1

5

 

59.

คู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรี / เกรียง เอี่ยมสกุล.

1

3

 

60.

การสอนกลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัยเล่ม 3 ดนตรี นาฏศิลป์ / หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.

1

5

 

61.

พฤติกรรมการสอนดนตรี / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

4

 

62.

กิจกรรมดนตรีสำหรับครู / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

5

 

63.

กิจกรรมดนตรีสำหรับครู / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

4

 

64.

จิตวิทยาการสอนดนตรี = Psychology of music teaching /ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

5

 

65.

จิตวิทยาการสอนดนตรี / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

3

 

66.

พฤติกรรมการสอนดนตรี / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

4

 

67.

พฤติกรรมการสอนดนตรี / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

5

 

68.

กิจกรรมดนตรีสำหรับครู / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

4

 

69.

จิตวิทยาการสอนดนตรี / ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

5

 

70.

แผนการสอนดนตรีนาฏศิลป์ขั้นพื้นฐาน / หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา.

1

3

 

71.

วิทยุโรงเรียน คู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรี ชั้นประถมปีที่ 1-5 ปีการศึกษา 2517 / ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา.

1

4

 

72.

หนังสืออ่านประกอบคำบรรยาย วิชาพื้นฐานอารยธรรมไทย ตอนดนตรีและนาฏศิลปไทย / ธนิต อยู่โพธิ์ และคนอื่นๆ

1

5

 

73.

การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวของโคได / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

4

 

74.

การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวของ คาร์ล ออร์ฟ / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

3

 

75.

การสอนดนตรีสำหรับเด็ก / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

4

 

76.

การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวของโคได / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

5

 

77.

การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวของคาร์ล ออร์ฟ (Orff-Schulwerk) / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

4

 

78.

เพลงแบบโคดาย / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

3

 

79.

เพลงแบบออร์ฟ / ธวัชชัย นาควงษ์.

1

4

 

80.

การสอนขับร้องและดนตรีในชั้นประถมศึกษ /บุหงา วัฒนะ.

1

5

 

81.

ปทานุกรมดนตรีสากล / ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์.

1

3

 

82.

วิทยุโรงเรียน คู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรี ชั้นประถมปีที่ 2-1 ปีการศึกษา 2511 / กองเผยแพร่การศึกษา.

1

3

 

83.

หนังสือประกอบการแสดง นาฏศิลปะ และดนตรีไทย / โดย มนตรี ตราโมท และคนอื่นๆ.

1

4

 

84.

วิทยุโรงเรียน คู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรี ชั้น ประถมปีที่ 5 ปีการศึกษา 2520 / ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา กรมวิชาการ.

1

5

 

85.

วิทยุโรงเรียน คู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรี ชั้น ประถมปีที่ 6-7 ปีการศึกษา 2520 / ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา กรมวิชาการ.

1

5

 

86.

ดนตรีในระบบการเรียนการสอน / วิมลศรี อุปรมัย.

1

4

 

87.

ดนตรีเบื้องต้นสำหรับครูประถม / วิรัช ซุยสูงเนิน.

1

5

 

88.

วิทยุโรงเรียน คู่มือการสอนวิชาขับร้อง และดนตรี ชั้น ประถมปีที่ 1,2,3,4,5,6,7 ปีการศึกษา 2516 / กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

89.

โครงการสอนโน๊ตสากล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 / กรมสามัญศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์.

1

5

 

90.

โครงการสอนโน๊ตสากล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 / กรมสามัญศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์.

1

4

 

91.

วิทยุโรงเรียน ศูนย์การสอนวิชาดนตรีและนาฏศิลปปรการปีการ 2522 / ศูนย์เทคโนโลยี่ทางการศึกษา กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

92.

พื้นฐานการดนตรีสำหรับครูประถมศึกษา = Fundamental music for elementary school teachers / c สุเทพ บรรลือสินธุ์.

1

4

 

93.

เค้าเต้อร์พ้อยท์ / อนรรฆ จรณยานนท์.

1

3

 

94.

สาระดนตรีศึกษา / บรรณาธิการ ณรุทธ์ สุทธจิตต์.

1

3

 

95.

Copland on music / Aaron Copland.

1

4

 

96.

Narton Anthology of Western Music Volume 2 Classic to modern / Clande V. Palisca.

1

5

 

97.

The Woman composer : bCreatitity and the Gendered Politics of Musical Composition / cJill Halstead.

1

5

 

98.

Renaissance music : bMusic in Western Europe, 14001600 / Allan W. Atlas.

1

4

 

99.

Classical Music : bthe era of haydn, Mozart, and Beethoven / Philip G. Downs.

1

5

 

100.

Twentiethcentury music : a history of musical style in modern Europe and America / Robert P. Morgan.

1

4

 

101.

Contemporary composers on contemporary music / Elliott Schwartz and Barney Childs.

1

3

 

102.

The New Bach Reader a life of Johann Sebastian Bach in letters and documents / Hans T. and David and Arthur Mendel.

1

4

 

103.

Baker's Biography Phical Dictionary of Twentieth Century Classical Musicians / Nicolas Slonimsky.

1

5

 

104.

เสี้ยวแจ๊ส / สิเหร่.

1

4

 

105.

ดุริยางค์ศิลปปริทัศน์ (ตะวันตก) / โกวิทย์ ขันธศิริ.

1

4

 

106.

Folk songe of Greece / by Susan and Ted Alevizos.

1

5

 

107.

ดนตรีไทยโครงสร้าง อภิธานศัพท์และสาระสังเขป / ทรงวิทย์ แก้วศรี.

1

3

 

108.

สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติและบทขับร้องเพลงเถา / ราชบัณฑิตยสถาน.

1

4

 

109.

สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติและบทร้อยกรองเพลงเถา / ราชบัณฑิตยสถาน.

1

5

 

110.

พิธีไหว้ครูดนตรีไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / ชมรมดนตรีไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

1

4

 

111.

สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย (ฉบับปรับปรุง) / เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี

1

3

 

112.

ศิลปะการฟ้อนภาคอีสาน / ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ.

1

4

 

113.

ศิลปะการฟ้อนภาคอีสาน / ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ.

1

5

 

114.

แก่นแท้ดนตรีไทย / ชนิตร ภู่กาญจน์.

1

3

 

115.

เพลงไทย 1 / ชมนาค กิจขันข์.

1

4

 

116.

ดุริยสาส์น ของ นายมนตรี ตราโมท / สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีภ

1

5

 

117.

ดนตรีไทย โครงสร้าง อภิธานศัพท์ และสาระสังเขป / ทรงวิทย์ แก้วศรี.

1

5

 

118.

นาฏศิลป์bเอกสารประกอบการสัมมนาสาธิต / สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

1

4

 

119.

การปรับวงดนตรีไทยขั้นสูง / บุญช่วย โสวัตร และนิสิตปริญญาโท สาขาดุริยางค์ไทย รุ่นที่ 1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

1

5

 

120.

ทฤษฎีดุริยางค์ไทย / บุญช่วย โสวัตร และนิสิตปริญญาโท สาขาดุริยางค์ไทย รุ่นที่ 1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1

4

 

121.

คำบรรยายวิชา ดุริยางคศาสตร์ไทย โดยนายบุญธรรม ตราโมท พ.ศ. 2481 / บุญธรรม ตราโมท.

1

5

 

122.

เกณฑ์มาตราฐานสาขาวิชาและวิชาชีพดนตรีไทย / คณะอนุกรรมการโครงการส่งเสริมการดนตรไทย สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

1

4

 

123.

เกณฑ์มาตรฐานสาขาวิชาและวิชาชีพดนตรีไทย / คณะอนุกรรมการโครงการส่งเสริมดนตรีไทย สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา
สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

1

5

 

124.

ดนตรีไทยและนาฏศิลป์ / ประดิษฐ์ อินทนิล.

1

3

 

125.

รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง การพัฒนามาตรฐาน ดนตรีไทย ด้านคุณภาพเสียงและรสมือ และหลักทั่วไปของการขับร้องเพลงไทย / ส่วนวิจัยและพัฒนา สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

1

4

 

126.

ลำนำแห่งสยาม / พูนพิศ อมาตยกุล.

1

5

 

127.

คลีนิคดนตรีไทย และแนะนำเครื่องดนตรีไทย / ไพศาล อินทวงศ์.

1

4

 

128.

รื่นรสเพลงไทยในวรรณคดีขุนช้าง-ขุนแผน และอิเหนา / ไพศาล อินทวงศ์.

1

3

 

129.

ดุริยางคศาสตร์ไทย ภาควิชาการ / มนตรี ตราโมท.

1

4

 

130.

ดนตรีไทย / มานิต หล่อพินิจ.

1

4

 

131.

บัณณ์ดุรีย์ : วรรณคดีไทยกับดนตรีไทย (ภาควรรณคดีในเพลงไทย) / วัฒนะ บุญจับ.

1

5

 

132.

สุนทราภรณ์วิชาการ : บทความจากการสัมมนา สุนทราภรณ์วิชาการในวาระครบรอบ 50 ปี คณะดนตรีสุนทราภรณ์ / คณะอักษรศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร.

1

3

 

133.

ดุริยางค์ไทย / สงบศึก ธรรมวิหาร.

1

3

 

134.

ประชุมเพลงเถาของไทย (ประวัติและบทร้อง) / สำเนียง มณีกาญจน์ และสมบัติ จำปาเงิน.

1

4

 

135.

ประชุมเพลงเถาไทย (ประวัติและบทร้อง) / สำเนียง มณีกาญจน์.

1

5

 

136.

หนังสือประกอบการเรียน วิชาดนตรีศึกษาและการละคร / อรวรรณ ขมวัฒนา.

1

4

 

137.

ดุริยางคศิลป์ไทยbอรรวรรณ บรรจงศิลป์ และคนอื่น ๆ.

1

3

 

138.

ดนตรีในวิถีชีวิตไทย / กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

139

ทฤษฎีและหลักปฏิบัติดนตรีไทยและพจนานุกรมดนตรีไทย / อุทิศ นาคสวัสดิ์

1

5

 

140.

Afro-American music / Mary Val Marsh, Carroll A. Rinehart and Edith J. Savage.

1

4

 

141.

Black magic apictorial history of the negro in American entertainment / by Langston Hughex and Milton Meltzer.

1

3

 

142.

Black magic a pictorial history of the negro in American entertainment / Langston Hughes and Milton Meltzer.

1

4

 

143.

Music U.S.A. / by Mary Mal Marsh, Canoll A. Rinehart and Edith J. Savage.

1

5

 

144.

The World of Twentieth-Century Music / David Ewen.

1

4

 

145.

A History of Western Music / Donald Jay Grout and Claude V. Palisca.

1

5

 

146.

Source reading in music history / Oliver Strunk

1

3

 

147.

ประวัติศาสตร์ดนตรี / นิกร วรีรักษ์.

1

4

 

148.

ประวัติศาสตร์ดนตรี เอกสารประกอบการเรียน MU. 202 Music Appreciation / นิกร วรีรักษ์.

1

3

 

149.

เบิกฟ้า มัณฑนา โมรากุล / บรรณาธิการโดย จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ.

1

4

 

150.

ประวัติการดนตรีไทย / ปัญญา รุ่งเรือง.

1

5

 

151.

ประวัติดนตรีตะวันตกโดยสังเขป / ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์.

1

5

 

152.

ประวัติดนตรีตะวันตกโดยสังเขป / ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์.

1

5

 

153.

พลังการวิจารณ์ : สังคีตศิลป์ / รังสิพันธุ์ แข่งขัน.

1

5

 

154.

สังคีตนิยม MU 103 (H) เรื่องสรุปคำบรรยายทางวิทยุ กระจายเสียง และ ทางโทรทัศน์ / สุมาลี นิมมานุภาพ.

1

4

 

155.

The American Singen / John W Beattic.

1

5

 

156.

The form of music / William Cole.

1

4

 

157.

What to Listen for in Music / Aaron Copland.

1

3

 

158.

The interpretation of music / Thurston Dart.

1

4

 

159.

Listener's guide to musical understanding / Leon Dallin.

1

5

 

160.

Listener's guide to musical understanding / Leon Dallin.

1

3

 

161.

Indian Musical Traditions, an acsthetic study of the Gharanas in Hindustani music tran / by Vamanrao H Deshpahde and S.H. Deshpands.

1

4

 

162.

History of Popular Music, Popular songs, The musical theater, and Jazz in America from Colonial Times to the present / David Ewen.

1

5

 

163.

Teaching Rhythm and Using classroom Instrumonts / Marguenete V Hood.

1

4

 

164.

Reflections on music popularization / Genichi Kawakami.

1

5

 

165.

How to play the recorder / Morton Manus.

1

4

 

166.

Program Music / by Mary Val Marsh, Carroll A Rine Hart and Edith J Savage.

1

5

 

167.

Sounds of Singing Voices / Mary Val Marsh, Carroll A Rinehart, and Edith J. Savage.

1

4

 

168.

A Third sixty songs for little children / Herbert Wiseman and Sydney Northcote.

1

5

 

169.

What music is / Herbert Weinstock.

1

4

 

170.

Sing Again / Harry Robert Wilson.

1

 

171.

A Second sixty songs for little children / Gillies Whittaker W.

1

3

 

172.

วิทยุโรงเรียนคู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรีชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2513 / เกรียง เอี่ยมสกุล และคนอื่น ๆ.

1

4

 

173.

วิทยุโรงเรียนคู่มือการสอนวิชาขับร้องและดนตรีชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2513 / เกรียง เอี่ยมสกุล และคนอื่น ๆ.

1

5

 

174.

หนังสือเรียนวิชาศิลปศึกษา ดนตรีศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม.1) / กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

175.

รายงานการประชุมปฎิบัติการผลิตสื่อดนตรี 101 สังคีตนิยม 12-23 มี.ค. 2527 ณ. วิทยาลัยครูสวนดุสิต / กรมการฝึกหัดครู ศูนย์วัตกรรม และเทคโนโลยี่ทางการศึกษา.

1

5

 

176.

สังคีตนิยมว่าด้วยเครื่องดนตรีของวงดุริยางค์ / ไขแสง ศุขะวัฒนะ.

1

3

 

177.

ดนตรีในหลักสูตรใหม่ / โดย คีตวาร, นามแฝง.

1

4

 

178.

ในพระบรมราชูปถัมภ์ หลักวิชาการดนตรีและการขับร้อง เล่ม 1 / พระเจนดุริยางค์.

1

3

 

179.

ในพระบรมราชูปถัมภ์ หลักวิชาการดนตรีและการขับร้อง เล่ม 2 / พระเจนดุริยางค์.

1

4

 

180.

แบบเรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล ฉบับทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย / พระเจนดุริยางค์.

1

5

 

181.

หลักการดนตรี / พระเจนดุริยางค์.

1

4

 

182.

ศิลปของการดนตรีและละคร / วิ้น สิลปบรรเลง.

1

4

 

183.

ศิลปะของการดนตรีและละคร และความรู้ทั่วไปในการดนตรีไทย / ชิ้น ศิลปบรรเลง และ วิเขียร กุลตัณฑ.

1

5

 

184.

ศิลปของการดนตรีและละคร และความรู้ทั่วไปในการดนตรีไทย / ชิ้น ศิลปบรรเลง.

1

3

 

185.

ดนตรีอเมริกัน / เออรวิง ซาบลอสกี้.

1

4

 

186.

ดนตรีไทยศึกษา / ชั้น ศิลปบรรเลง และ ลิขิต จินดาวัฒน์.

1

5

 

187.

ที่ระลึกดนตรีไทยหลายรส ในโอกาสครบ 1 ปี ชวนอยู่สุวรรณ และ สุเทพ อยู่สุวรรณ / ชวน อยู่สุวรรณ และ สุเทพ อยู่สุวรรณ.

1

3

 

188.

สังคีตนิยม / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์

1

4

 

189.

ดนตรีตะวันออก / ดวงใจ อมาตยกุล.

1

5

 

190.

วันชุมนุมดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 6 / เต็มสิริ บุณยสิงห์.

1

4

 

191.

สังคีตนิยม / ทวีสิทธิ์ ไทรวิจิตร.

1

3

 

192.

สังคีตนิยม / ทวีสุทธิ์ ไทรวิจิตร.

1

4

 

193.

ประวัติศาสตร์ดนตรี / นิกร วรีรักษ์.

1

5

 

194.

สังคีตนิยม = Music Apreciation / cเบญจรงค์ กุลสุ.

1

3

 

195.

แนะแนวการถ่ายภาพ / ประสพ มัจฉาชีพ.

1

4

 

196.

ดนตรีและนาฏศิลป์สำหรับครูประถมศึกษา และผู้สนใจ ทั่วไป / พาณี สีสวย.

1

5

 

197.

โน้ตเพลงไทย เล่ม 1 / พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุยเดช.

1

3

 

198.

ความรู้ทั่วไปในการดนตรีไทย / วิเชียร กุลตัณฑ์.

1

3

 

199.

คู่มือดนตรี คอร์ดโครงสร้างและแบบฝึกหัด / วิชัย โพธิทองคำ.

1

4

 

200.

คีตศิลป์กับมนุษย์ / วิรัช ซุยสูงเนิน.

1

4

 

201.

เอกสารประกอบการเรียนวิชาประถมb413ดนตรีเบื้องตัน สำหรับครูประถมศึกษา / วิรัช ซุยสูงเนิน.

1

5

 

202.

วันดนตรีและนาฏศิลปไทย / ศักดิ์ชัย หิรัญทวี.

1

4

 

203.

ดนตรีการ ดนตรีคลาสสิค เล่ม 1 / ศิลป์ สกุลสิงห์.

1

5

 

204.

งานสังคีตศิลป / กรมศิลปากร.

1

4

 

205.

ดนตรีกับการรักษาโรค / ศันสนีย์ จะสุวรรณ์.

1

5

 

206.

รำวง / กรมศิลปากร.

1

4

 

207.

เพลงวิทยุโรงเรียน ปีการศึกษา 2521 / ศูนย์เทคโนโลยีทาง การศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

5

 

208.

หนังสือเรียนวิชาศิลปศึกษา ดนตรีศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม.1) / กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

5

 

209.

คำอธิบายและโน้ตเพลงไทย / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

1

5

 

210.

สังคีตนิยม / สุรัตน์ วรางค์รัตน์.

1

4

 

211.

ดนตรี เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีสากล การผสมวงดนตรีไทยและสากล ประวัตินักดนตรีไทย ประวัตินักดนตรีเอกของโลก ทฤษฎีโน้ตสากลเบื้องต้น / สุดใจ ทศพร.

1

4

 

212.

ขับลำบรรเลงเป็นเพลงเถา / สุรชัย เครือประดับ.

1

5

 

213.

จากดวงใจ / คีตกร และคนอื่นๆ.

1

5

 

214.

ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น / สมชาย อมะรักษ์.

1

4

 

215.

จะฟังดนตรีอย่างไรให้ไพเราะ / สุกรี เจริญสุข.

1

5

 

216.

จะฟังดนตรีอย่างไรให้ไพเราะ / สุกรี เจริญสุข.

1

4

 

217.

จะฟังดนตรีอย่างไรให้ไพเราะ / สุกรี เจริญสุข.

1

4

 

218.

ดนตรีวิจารณ์ / สุกรี เจริญสุข.

1

4

 

219.

พรสวรรค์ศึกษา / สุกรี เจริญสุข.

1

4

 

220.

ดนตรีสากลชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเรียบเรียงตามหลักสูตรและประมวลการสอน พ.ศ 2518 / สุดใจ ทศพร.

1

5

 

221.

พื้นฐานดนตรี / อรวรรณ บรรจงศิลป (ขันธศิริ).

1

3

 

222.

Mississipp : The Blues Today / Robert, Nicholson.

1

4

 

223.

เทิด ส.ธ. / สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และมูลนิธิมนตรี ตราโมท บรรณาธิาการโดย กชภรณ์ ตราโมท.

1

5

 

224.

ร้อยบทเพลง ร้อยดวงจิต นักปฏิวัติ / คณะกรรมการโครงการบันทึกและเผยแพร่ประวัติศาสตร์งานเพลงปฏิวัติ.

1

4

 

225.

เพลงในภาพ / นพปฎล พลศิลป์.

1

4

 

226.

ีครูมนตรี ตราโมทกับการไหว้ครูดนตรีไทย / มูลนิธิมนตรี ตราโมท.

1

5

 

227.

หนังสือที่ระลึก งานเปิดบ้านครูมนตรี ตราโมท (คีตกวี 5 แผ่นดิน) รำลึก วาระ 100 ปี 8-9 เมษายน พ.ศ. 2543 /มูลนิธิมนตรี ตราโมท.

1

4

 

228.

บางระจันวันเพ็ญ / แอ๊ด คาราบาว.

1

5

 

229.

ไม่ต้องร้องไห้ / แอ๊ด คาราบาว.

1

5

 

230.

เดี่ยวกีตาร์โปร่ง เม้าท์ออร์แกน ชุด ความรักไม่รู้จบ / สมชาย รัศมีh[CD]

1

5

 

231.

สยามสังคีต ดนตรีไทยไพเราะh[VCD]

1

4

 

232.

ทฤษฎีโน้ตสากล / นพพร ด่านสกุล.

1

4

 

233.

สรุปรายงานการวิจัยการศึกษาความคิดเห็น และความต้องการของตลาดงานอาชีพดนตรีในเขตความรับผิดชอบ ของสหวิทยาลัยทักษิณ / ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์.

1

4

 

234.

Masterworks A Musical Discovery / D. Kern Holoman.

1

3

 

235.

Listening to Music / Jay D. Zorn, June August.

1

4

 

236.

สังคีตนิยมความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก / ณรุทธ์  สุทธจิตต์.

1

5

 

237.

เอกสารประกอบการสอนวิชา สังคีตนิยม / สุเทพ ไม้ทองดี

1

4

 

238.

Listening to music / Jay D. Zorn, June August.

1

5

 

239.

ทฤษฎีดนตรี / ณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

4

 

240.

ทฤษฎีดนตรี / ณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

3

 

241.

สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์ / ณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

4

 

242.

ทฤษฎีดนตรี / ณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

5

 

243.

สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์ / ณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

4

 

244.

การดำเนินทำนองของเครื่องดนตรีดำเนินทำนองประเภทเครื่องตี / บุษกร สำโรงทอง.

1

3

 

245.

ทฤษฏีดนตรี / ปิยพันธ์ แสนทวีสุข.

1

4

 

246.

The practice of harmony / Peter Spencer.

1

4

 

247.

The Practice of Harmony / Peter Spencer.

1

5

 

248.

การประสานเสียง = bHarmony / บรรจง ชลวิโรจน์.

1

4

 

249.

การประสานเสียง = bHarmony / บรรจง ชลวิโรจน์.

1

4

 

250.

การประสานเสียง = bHarmony / บรรจง ชลวิโรจน์.

1

4

 

251.

การประสานเสียง = h(CD-ROM)Harmony / บรรจง ชลวิโรจน์

1

5

 

252.

Practical beginning theord a gundamentals worktext / by Bruce Benward and Barbara G. Jackson.

1

4

 

253.

Scales Intervals Keys Triads Rhythm and Meter / John Clough, Joyce Conley and Claire Boge.

1

4

 

254.

Silver Busdett instrumental series / by Harru I Phillips, Saul Feldstein and Edgar Q, Rooker.

1

5

 

255.

Harmony / Walter Piston.

1

4

 

256.

ประวัติดนตรีตะวันตก = A History of Western Music / เกรียงไกร ทองจิตติ.

1

5

 

257.

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาทฤษฏีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน = Music Fundamentals / cเกรียงไกร ทองจิตติ.

1

4

 

258.

ทฤษฎีดนตรีสากล 1 = Music Theory 1 / จิระศักดิ์ จิตตบุตร.

1

5

 

259.

คู่มือทฤษฎีดนตรีสากลพื้นฐาน = Foundation theory of music / ชัยยศ วรชินา และเพ็ญศรี วงศาปัดนา.

1

5

 

260.

คู่มือทฤษฎีดนตรีสากลพื้นฐาน / ชัยยศ วรชินา และเพ็ญศรี วงศ์ปัดดา.

1

4

 

261.

ทฤษฎีดนตรีสากล 1 / นิวัติ เกิดปากแพรก.

1

5

 

262.

ดนตรีวิวัฒน์ = bProgressive Music / ปนาพันธ์ นุตร์อำพันธ์.

1

5

 

263.

หลักการแต่งเพลง / ไพรัช มากกาญจนกุล.

1

5

 

264.

การศึกษาและวิเคราะห์ผลงานดนตรีของครูประสิทธิ์ ศิลปบรรเลง = A Study and Analysis of Khru Prasidh Silapabanleng's Music / สมเกียรติ สายวงศ์.

1

5

 

265.

Help yourself to harmony / Zdna Mac Barnam.

1

4

 

266.

First year harmony / William Lovelock.

1

5

 

267.

Composing Music with Computers / Reck Miranda.

1

4

 

268.

เบื้องหลังเพลงรัก / บูรพา อารัมภีร.

1

4

 

269.

โด-เร-มี-อดีต / ศุภาศิริ สุพรรณเภสัช.

1

5

 

270.

เพลงเขียนคน ดนตรีเขียนโลก รวมเพลงและแนวความคิดระหว่าง พ.ศ. 2519-2537 / สมชัย พหลกุลบุตร.

1

4

 

271.

The Beatles ตำนานสีเต่าทองวงดนตรีที่โลกคลั่ง / cเยาวเรศ เอี่ยมเจริญ.

1

4

 

272.

A New Approach to Ear Training : A Programmed course in Melodic and Harmonic Dictation/cLeo .Kraft.

1

3

 

273.

Music for Ear training CDROM and Workbook / Michael Horvit, Timothy Koozin and Robert Nelson.

1

2

 

274.

Music for Sight Singing / Robert W. Ottman.

1

4

 

275.

MUSIC FOR EAR TRIANNING CD-ROM AND WORKBOOKh[CD-ROM

1

5

 

276.

แบบฝึกหัดดนตรีไทยด้วยตนเอง / สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

277.

คู้มือการใช้งานโปรแกรมดนตรี Finale / สมชาย รัศมี.

1

4

 

278.

เทคนิคการแกะเพลง / สมชาย รัศมี.

1

5

 

279.

การศึกษาสภาพปัจจุบันการขับลื้อของชาวไทลื้อศึกษากรณีไทลื้อ ในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา /เยาวมาลย์ วรรณสุข.

1

4

 

280.

เพลง ชุดทำขวัญ / โครงการจัดตั้ง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

5

 

281.

ดนตรีนาฏศิลป์ขั้นพื้นฐาน / หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา.

1

4

 

282.

เพลงประกอบระบำรำฟ้อน / อุมาภรณ์ กล้าหาญ.

1

5

 

283.

เพลงพระราชนิพนธ์ แนวคิดและหลักการเรียบเรียงเพลงสำหรับร้องประสานเสียง / สมชาย รัศมี.

1

3

 

284.

Have fun playing jazz : beasy to read, easy to play ragtime through jazztime / Charles Lindsay.

1

4

 

285.

The Rock Story / cby Mary Val Marsh, Carroll A Rinehart and Edith J. Savage.

1

5

 

286.

Composing Music / by Mary Val Marsh, Carroll A Rinehart and Edith J. Savage.

1

4

 

287.

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา

1

3

 

288.

เพลงเพื่อการสอนและการจัดกิจกรรมนันทนาการh[VCD]

1

4

 

289.

เพลงเพื่อการสอนและการจัดกิจกรรมพัฒนาการh[VCD]

1

5

 

290.

เพลงเพื่อการจัดการสอนและจัดกิจกรรมนันทนาการ h[VCD]

1

4

 

291.

เพลงเพื่อการสอนและการจัดกิจกรรมเพื่อนันทนาการ h[VCD]

1

4

 

292.

เพลงเพื่อการสอนและการจัดกิจกรรมนันทนาการh[VCD]

1

5

 

293.

เพลงเพื่อการสอนและการจัดกิจกรรมนันทนาการ / ชัยวัฒน์ เหล่าสืบสกุลไทย.

1

4

 

294.

ที่อยู่, ที่ยืนของเพื่อชีวิต / วีระศักดิ์ สุนทรศรี.

1

5

 

295.

Jazz styles / Englewood cliffscMark C. Gridley.

1

4

 

296.

Mel Bay's Drum improvising studies For Jozz and Rock / Jee Lambert.

1

4

 

297.

ประวัติดนตรีแจซ / ประสิทธิ์ เลียวศิริพงศ์.

1

3

 

298.

ตำนานเพลงบลูส์ / โดย พจน์ อนุวงศ์ และสิเหร่.

1

4

 

299.

อนุรักษ์มรดกไทยh[VCD]

1

5

 

300.

รวมบันทึกเพลงไทยภิชาต เลณะสวัสดิ์.

1

4

 

301.

รวมบันทึกเพลงไทยภิชาต เลณะสวัสดิ์.

1

3

 

302.

ดนตรีพื้นบ้านล้านนา [VCD]

1

4

 

303.

วัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านไทยทักษิณ / พิทักษ์ คชวงษ์.

1

5

 

304.

ดนตรีรองเง็ง / ประภาส ขวัญประดับ.

1

4

 

305.

ดนตรีพื้นบ้านไทยภาคเหนือ / ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์.

1

4

 

306.

เพลงเรือแหลมโพธิ์จังหวัดสงขลา / สนิท บุญฤทธิ์.

1

5

 

307.

ปกิณกะการดนตรี และเพลงไทย / สมบัติ จำปาเงิน, สำเนียง มณีกาญจน์.

1

4

 

308.

ดนตรีพื้นบ้านอีสาน / สุกิจ พลประถม.

1

5

 

309.

ดนตรีพื้นบ้านฅนเมืองเหนือ / ณรงค์ สมิทธรรม.

1

4

 

310.

ศิลปะทางเพลงพื้นบ้านภาคเหนือ.

1

5

 

311.

รายงานการวิจัย การวิเคราะห์องค์ประกอบทางดนตรีเพลงปฏิพากย์ = Analysis Elements of Music of Patiphak Songs / สุชาติ แสงทอง.

1

3

 

312.

อีสานคดี ชุด ลูกทุ่งอีสาน : ประวัติศาสตร์อีสาน ตำนานเพลงลูกทุ่ง / เรียบเรียงโดย แวง พลังวรรณ.

1

4

 

313.

Classic Country Legends of Country Music / Charles K. Wolfe.

1

4

 

314.

Introduction to jazz history / Donald D. Megill, Richard S. Demory.

1

4

 

315.

แจ๊ซซ์ = bJazz / อนันต์ ลือประดิษฐ์.

1

5

 

316.

Jazz / cPual O. W. Tanner, David W. Megill and Maurice Grerow.

1

4

 

317.

Beat Merchants the Origins, History, Impact and Rock Legacy of the 1960s British Pop Groups / cAlam Clayson.

1

5

 

318.

The Chronicle of Classical Music : bAn Intimate Diary of the Lives and Music of the Great Composers / cAlan Kendall.

1

4

 

319.

700 คำถาม-คำตอบ ดนตรีคลาสสิก : ภาคทฤษฎี / cณัชชา โสคติยานุรักษ์.

1

3

 

320.

ดนตรีคลาสสิก ซิมโฟนี่ คอนแชร์โต้ โซนาต้า / cสุภาวดี สังขวาสีรัตนมาศ.

1

4

 

321.

ดนตรีคลาสสิก : ภาคทฤษฏี / cณัชชา โสดติยานุรักษ์.

1

5

 

322.

คลาสสิกสามัญประจำบ้าน : รสนิยม วัฒนธรรม ดนตรี / c ดุสิต จรูญพงษ์ศักดิ์.

1

4

 

323.

ดนตรีคลาสติก ซิมโฟนี่ คอนแชร์โต้ โซนาต้า / cสุภาวดี  

1

3

 

324.

การอำนวยเพลงวงขับร้องประสานเสียง / cพึงจิตต์ สวามิภักดิ์.

1

4

 

325.

คู่มือนักดนตรี ชุดการเรียบเรียงเสียงประสาน / cสมชาย รัศมี.

1

5

 

326.

หัดแต่งเพลงโดยวิธีธรรมชาติ / cสุรินทร์ ภาคศิริ...(และคนอื่นๆ).

1

4

 

327.

เปรียบเทียบผลการเรียนวิชาดนตรีไทย เรื่องการตีฆ้องวงใหญ่โดยใช้บทเรียนโมดูลกับการสอนปกติ / เสรี เย็นเปี่ยม.

1

3

 

328.

Sismese Music / cPaul J. Seelig.

1

4

 

329.

ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 29 / มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

1

4

 

330.

วิวัฒนาการของเพลงไทยสมัยรัตนโกสินทร์ / โกวิทย์ ขันธศิริ และคนอื่น.

1

3

 

331.

มหกรรมดนตรีและวินิชทัศนาพิเศษ 5 รัชกาล เพลงไทยสากล / สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กองทุนส่งเสริมงานวิจัย.

1

4

 

332.

โน้ตดนตรีไทย / cจตุพร กังวล.

1

5

 

333.

โน้ตสากล-ดนตรีไทย / cจตุพร กังวล.

1

4

 

334.

เพลงกับวรรณคดีไทย / cจิราภรณ์ เมืองพรวน.

1

3

 

335.

สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย / cเฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี.

1

4

 

336.

งานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 26 / cมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

1

5

 

337.

ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 26 26-27 มกราคม 2538 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / cมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

1

4

 

338.

สารานุกรมเพลงไทย / cณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์.

1

3

 

339.

เพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี / cสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.

1

4

 

340.

หนังสือเครื่องดนตรีไทย / cธนิต อยู่โพธิ์.

1

5

 

341.

ดนตรีไทย / cสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กองการสัมพันธ์ต่างประเทศ.

1

4

 

342.

มหาดุริยางค์ไทย / cประสิทธิ์ ถาวร.

1

5

 

343.

ปริทรรศน์ดนตรีไทย / cประดิษฐ์ อินทนิล.

1

5

 

344.

ดนตรีวิจักษ์ : bความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่อความชื่นชม / cพูนพิศ อมาตยกุล.

1

4

 

345.

ดนตรีวิจักษ์ : bความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่อความชื่นชม / cพูนพิศ อมาตยกุล.

1

3

 

346.

โหมโรงซอด้วง / cภิชาติ เลณะสวัสดิ์.

1

3

 

347.

อังกะลุง / cบริษัท รักษ์สิปป์.

1

4

 

348.

ไหว้ครูและครอบดนตรีไทย / cบริษัท รักษ์สิปป์.

1

5

 

349.

มหกรรมดนตรีไทย เฉลิมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสเสด็จเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ : 19 ตุลาคม 2537 / cวาสนา ปรียาโชติ…และคนอื่นๆ.

1

4

 

350.

ดนตรีพื้นบ้านและศิลปการแสดงของไทย = bFolk Music and Treaditional Performing Arts of Thailand / ศึกษาธิการกระทรวงสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

1

5

 

351.

ที่ระลึกประกวดการบรรเลงดนตรีไทยเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมของชาติชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทยประจำปี 2529 / สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ.

1

4

 

352.

การดนตรีไทย / สงัด ภูเขาทอง.

1

3

 

353.

โน๊ตดนตรีไทยประเภทเพลงร้องและบรรเลง เล่ม 1 / สงัดภูเขาทอง.

1

4

 

354.

ดนตรีไทยโน๊ตและวิธีฝึก / สมพงษ์ กาญจนผลิน.

1

5

 

355.

ดนตรีไทยโน๊ตและวิธีฝึก / สมพงษ์ กาญจนผลิน.

1

4

 

356.

เอกสารประกอบการพิจารณาให้ปริญาครุศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ / สมพล อนุตตรังกูร.

1

3

 

357.

เส้นทางเพลงลูกทุ่งไทย / สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

1

4

 

358.

้สวรรค์วาทิตเจ็บสิบสอง : ลำนำดอกสร้อยสุภาษิต / สมพล อนุตตรังกูร.

1

5

 

359.

ดนตรีชาวสยาม / สุกรี เจริญสุข.

1

4

 

360.

เพลงชาติ = National Anthem / cสุกรี เจริญสุข.

1

3

 

361.

ที่ระลึก 80 ปี ดร. คุณหญิงชิ้น ศิลปบรรเลง / หลวงประดิษฐ์ไพเราะ ศร ศิลปบรรเลง.

1

4

 

362.

ทฤษฎีเพลงเถา / อุดม อรุณรัตน์.

1

5

 

363.

หัดเป่า 'ขลุ่ย' กันดีกว่า / เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์.

1

4

 

364.

โน้ตเพลงไทย / ภิชาต เลณะสวัสดิ์.

1

3

 

365.

พุทธธรรมในดนตรีไทย / พิชิต ชัยเสรี.

1

3

 

366.

The complete encyclopedia of musical instruments / Bert Oling, Heinz Wallisch.

1

3

 

367.

Sources of Musical Sounds / by Mary Val Marsh, Carroll A Rinehart and Edith J. Savage.

1

4

 

368.

การตีกลองชุด / ไพรัช มากกาญจนกุล.

1

4

 

369.

Musicanship for the Classroom Teacher / cby Mase Kaplan and Frances J. Steiner.

1

4

 

370.

The Materials of Music / by Mary Val Marsh Carroll A Rinehart and Edith J Savage.

1

5

 

371.

The Materials of Music / Mary Val Marsh, Carroll A.Rinehart and Edith J. Savage.

1

5

 

372.

Foundations of music : ba computer assisted ntroduction / by Rebert Nelson and Carl J.Christensen.

1

5

 

373.

Rudiments of music / cRobert W Ottman, Frank D. Mainous.

1

4

 

374.

The AB guide to music theory part II / cEric Taylor.

1

5

 

375.

The AB guide to music theory / Eric Taylor.

1

5

 

376.

สังคีตนิยมว่าด้วยเครื่องดนตรีของวงดุริยางค์ / ไขแสง ศุขะวัฒนะ.

1

4

 

377.

สังคีตนิยมว่าด้วยเครื่องดนตรีของวงดุริยางค์ / ไขแสง ศุขะวัฒนะ.

1

5

 

378.

เอกสารประกอบการสอนวิชา ทักษะดนตรี 1 / จรินทร์ เทพสงเคราะห์.

1

4

 

379.

การประสานเสียงโครมาติก / นิวัติ เกิดปากแพรก.

1

4

 

380.

คู่มือทฤษฎีและปฏิบัติการดนตรีสากล / โดย บรรเทิง ชลช่วยชีพ, กาญจนา คชแสง และ วัชรี ขาวสะอาด.

1

4

 

381.

ทฤษฎีดนตรีระดับเกรดหนึ่ง / พิชัย ปรัชญานุสรณ์.

1

4

 

382.

ทฤษฎีดนตรีระดับเกรดสอง / พิชัย ปรัชญานุสรณ์.

1

3

 

383.

ทฤษฎีดนตรีระดับเกรดสาม / พิชัย ปรัชญานุสรณ์.

1

4

 

        15.2 แหล่งวิทยาการ/ฝึกงาน

                1. บริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัดมหาชน
                2. บริษัทอาร์ เอสโปรโมชั่น จำกัด
                3. ห้องบันทึกเสียงต่างๆ ในบริเวณกรุงเทพมหานคร
                4. กรมประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย
                5. ดุริยางค์ตำรวจแห่งประเทศไทย

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

ปีงบประมาณ/บาท

2549

2550

2551

2552

2553

    1. ค่าตอบแทน

50,000

50,000

40,000

35,000

30,000

    2. ค่าใช้สอย

60,000

60,000

60,000

60,000

60,000

    3. ค่าวัสดุ

150,000

150,000

150,000

100,000

100,000

    4. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

-

-

-

-

-

รวมงบดำเนินการ

260,000

260,000

250,000

195,000

190,000

    5. ค่าครุภัณฑ์

300,000

200,000

100,000

75,000

50,000

    6. ค่าที่ดิน

-

-

-

-

-

รวมงบลงทุน

300,000

200,000

100,000

75,000

50,000

รวมทั้งสิ้น

560,000

460,000

350,000

270,000

240,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 127 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

หน่วยกิต

1. หมวดศึกษาทั่วไป

31 หน่วยกิต

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9 หน่วยกิต

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8 หน่วยกิต

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 หน่วยกิต

    1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8 หน่วยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ

90 หน่วยกิต

    2.1 วิชาแกน

33 หน่วยกิต

    2.2 วิชาเฉพาะด้าน

40 หน่วยกิต

    2.3 วิชาเอกเลือก

12 หน่วยกิต

    2.4 วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

5 หน่วยกิต

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

6 หน่วยกิต

รวมทั้งหมด

127 หน่วยกิต

        17.3 รายวิชา และจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 90 หน่วยกิต แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังต่อไปนี้

            (1) วิชาแกน จำนวน 33 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161101

พื้นฐานดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

Fundamental of Thai Music

 

2161301

ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

Music Fundamentals

 

2161701

คอมพิวเตอร์ดนตรีขั้นพื้นฐาน

3 (2-2-5)

 

Introduction to Music Computer

 

2162101

ทฤษฎีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

Theory of Thai Music

 

2162703

การบริหารจัดการวงดนตรี

3 (3-0-6)

 

Music Ensemble Management

 

2163501

สวนศาสตร์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

Music Acoustics

 

2163701

การผลิตผลงานทางดนตรีด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Productions of Computerized Music

 

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

English for Learning

 

2313703

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปกรรม

3 (3-0-6)

 

English for Fine and Applied Arts

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

 

Computer for Career

 

            (2) วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 40 หน่วยกิต จำแนกตามแขนงวิชาดังนี้

                    2.1 แขนงวิชาดนตรีไทย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161103

การบันทึกโน้ตเพลงไทย

3 (3-0-6)

 

Thai Music Notations

 

2161111

ประวัติการดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

History of Thai Music

 

2162103

ลักษณะและประเภทเพลงไทย

3 (3-0-6)

 

Classification of Thai Music

 

2162111

ขนบประเพณีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

The Tradition of Thai Music

 

2162206

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Ensemble 1

 

2162501

การจัดเก็บระบบข้อมูลดนตรี

3 (3-0-6)

 

Systemization of Musical Datas

 

2162701

หน้าทับดนตรีไทย

3 (2-2-5)

 

Rhythmic Pattern in Thai Music

 

2163201

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Ensemble 2

 

2163202

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Ensemble 3

 

2163419

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 1

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 1

 

2163420

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 2

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 2

 
2163711 รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3 (3-0-6)

  Form and Analysis  
2163906 สัมมนาดนตรี

3 (2-2-5)

  Seminar in Music  
2164901 การเสนอผลงานทางดนตรี

3 (2-2-5)

  Music Presentation  
2164902 การวิจัยทางดนตรี

3 (2-2-5)

  Music Research  

                    2.2 แขนงวิชาดนตรีสากล

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161302

ทฤษฎีดนตรีสากล 1

3 (3-0-6)

 

Music Theory 1

 

2161311

ประวัติดนตรีตะวันตก

3 (3-0-6)

 

Music from Antiquity to 1750

 

2162301

ทฤษฎีดนตรีสากล 2

3 (3-0-6)

 

Music Theory 2

 

2162302

ทฤษฎีดนตรีสากล 3

3 (3-0-6)

 

Music Theory 3

 

2162303

การประพันธ์

3 (2-2-5)

 

Composition

 

2162417

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 1

2 (0-4-2)

 

Big Band 1

 

2163301

ทฤษฎีดนตรีสากล 4

3 (3-0-6)

 

Music Theory 4

 

2163417

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 2

2 (0-4-2)

 

Big Band 2

 

2163418

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 3

2 (0-4-2)

 

Big Band 3

 

2163419

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 1

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 1

 

2163420

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 2

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 2

 

2163711

รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

Form and Analysis

 

2163906

สัมมนาดนตรี

3 (2-2-5)

 

Seminar in Music

 

2164901

การเสนอผลงานทางดนตรี

3 (2-2-5)

 

Music Presentation

 

2164902

การวิจัยทางดนตรี

3 (2-2-5)

 

Music Research

 

            (3) วิชาเฉพาะด้าน เลือก ให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต จำแนกตามแขนงวิชาดังนี้

                3.1 รายวิชาเลือกแขนงวิชาดนตรีไทย ให้เลือกเรียนเพียงกลุ่มเดียว 12 หน่วยกิต จากกลุ่มต่อไปนี้

                    1. กลุ่มปฏิบัติเครื่องดีดไทย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161202

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked Instrument 1

 

2161203

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked Instrument 2

 

2162201

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 3

2 (0-4-2)

Thai Plucked 3

2162202

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 4

 

2163206

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 5

 

2163207

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 6

 

                    2. กลุ่มปฏิบัติเครื่องสีไทย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161205

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed Instrument 1

 

2161216

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed Instrument 2

 

2162203

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai String 3

 

2162204

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai String 4

 

2163203

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai String 5

 

2163204

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai String 6

 

                    3. กลุ่มปฏิบัติเครื่องตีไทย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161208

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 1

 

2161209

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 2

 

2162205

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 3

 

2162216

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 4

 

2163205

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 5

 

2163216

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 6

 

                    4. กลุ่มปฏิบัติเครื่องเป่าไทย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161211

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed 1

 

2161212

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed 2

 

2162222

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 3

 

2162223

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 4

 

2163213

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 5

 

2163214

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 6

 

                    5. กลุ่มปฏิบัติขับร้องเพลงไทย

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161214

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 1

 

2161215

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 2

 

2162224

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 3

 

2162225

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 4

 

2163215

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 5

 

2163217

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 6

 

                3.2 รายวิชาเลือกแขนงวิชาดนตรีสากล ให้เลือกเรียนเพียงกลุ่มเดียว 12 หน่วยกิต จากกลุ่มต่อไปนี้

                    1. กลุ่มปฏิบัติเครื่องลมไม้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 1

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 1

 

2161402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 2

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 2

 

2162401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 3

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 3

 

2162402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 4

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 4

 

2163401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 5

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 5

 

2163402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 6

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 6

 

                    2. กลุ่มปฏิบัติเครื่องทองเหลือง

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 1

 

2161404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 2

 

2162403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 3

 

2162404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 4

 

2163403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 5

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 5

 

2163404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 6

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 6

 

                    3. กลุ่มปฏิบัติเครื่องสายสากล

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1

2 (0-4-2)

 

String Performance 1

 

2161406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 2

2 (0-4-2)

 

String Performance 2

 

2162405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 3

2 (0-4-2)

 

String Performance 3

 

2162406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 4

2 (0-4-2)

 

String Predominance 4

 

2163405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 5

2 (0-4-2)

 

String Predominance 5

 

2163406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 6

2 (0-4-2)

 

String Performance 6

 

                    4. กลุ่มปฏิบัติกีตาร์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161407

ปฏิบัติกีตาร์ 1

2 (0-4-2)

 

Guitar 1

 

2161408

ปฏิบัติกีตาร์ 2

2 (0-4-2)

 

Guitar 2

 

2162407

ปฏิบัติกีตาร์ 3

2 (0-4-2)

 

Guitar 3

 

2162408

ปฏิบัติกีตาร์ 4

2 (0-4-2)

 

Guitar 4

 

2163407

ปฏิบัติกีตาร์ 5

2 (0-4-2)

 

Guitar 5

 

2163408

ปฏิบัติกีตาร์ 6

2 (0-4-2)

 

Guitar 6

 

                    5. กลุ่มปฏิบัติเครื่องคีย์บอร์ด

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2161409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 1

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 1

 

2161410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 2

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 2

 

2162409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 3

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 3

 

2162410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 4

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 4

 

2163409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 5

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 5

 

2163410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 6

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 6

 

                2.4 กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2164801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

5 (450)

 

Practical Experience in Music

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต รวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชานี้

        17.4 แผนการศึกษา

                17.4.1 แผนการจัดการศึกษา แขนงวิชาดนตรีไทย

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

2161101

พื้นฐานดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

2161301

ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

2161202

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2161205

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 1

2 (0-4-2)

2161208

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 1

2 (0-4-2)

2161211

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 1

2 (0-4-2)

2161214

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 1

2 (0-4-2)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

2161111

ประวัติการดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

2161701

คอมพิวเตอร์ดนตรีขั้นพื้นฐาน

3 (2-2-5)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

 

2161103

การบันทึกโน้ตเพลงไทย

3 (3-0-6)

 

2161203

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 2

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2161216

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 2

2 (0-4-2)

2161209

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 2

2 (0-4-2)

2161212

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2

2 (0-4-2)

2161215

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 2

2 (0-4-2)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก
1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

2162103

ลักษณะและประเภทเพลงไทย

3 (3-0-6)

 

2162703

การบริหารจัดการวงดนตรี

3 (3-0-6)

 

2162101

ทฤษฎีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

2162201

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 3

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2162203

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 3

2 (0-4-2)

2162205

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 3

2 (0-4-2)

2162222

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 3

2 (0-4-2)

2162224

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 3

2 (0-4-2)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

เลือก
1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2162111

ขนบประเพณีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

2162501

การจัดเก็บระบบข้อมูลดนตรี

3 (3-0-6)

 

2162701

หน้าทับดนตรีไทย

3 (2-2-5)

 

2162206

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 1

2 (0-4-2)

 

2162202

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 4

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2162204

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 4

2 (0-4-2)

2162216

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 4

2 (0-4-2)

2162223

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 4

2 (0-4-2)

2162225

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 4

2 (0-4-2)

 

รวม

22

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2313703

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปกรรม

3 (3-0-6)

 

2163501

สวนศาสตร์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

2163711

รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

2163206

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 5

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2163203

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 5

2 (0-4-2)

2163205

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 5

2 (0-4-2)

2163213

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 5

2 (0-4-2)

2163215

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 5

2 (0-4-2)

2163201

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 2

2 (0-4-2)

 

2163419

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 1

2 (0-4-2)

 

Xxxxxxx

หมวดวิชาเลือกเสรี

3 (3-0-6)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2163906

สัมมนาดนตรี

3 (2-2-5)

 

2163701

การผลิตผลงานทางดนตรีด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

2163202

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 3

2 (0-4-2)

 

2163420

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 2

2 (0-4-2)

 

2163207

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 6

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2163204

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 6

2 (0-4-2)

2163216

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 6

2 (0-4-2)

2163214

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 6

2 (0-4-2)

2163217

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 6

2 (0-4-2)

Xxxxxxx

หมวดวิชาเลือกเสรี

3 (3-0-6)

 
 

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2164901

การเสนอผลงานทางด้านดนตรี

3 (2-2-5)

 

2164902

การวิจัยทางดนตรี

3 (2-2-5)

 
 

รวม

6

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2164801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

5 (450)

 
 

รวม

5

 

                17.4.2 แผนการจัดการศึกษา แขนงวิชาดนตรีสากล

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

2161101

พื้นฐานดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

2161301

ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

2161401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 1

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2161403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1

2 (0-4-2)

2161405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1

2 (0-4-2)

2161407

ปฏิบัติกีตาร์ 1

2 (0-4-2)

2161409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 1

2 (0-4-2)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

2161311

ประวัติดนตรีตะวันตก

3 (3-0-6)

 

2161701

คอมพิวเตอร์ดนตรีขั้นพื้นฐาน

3 (2-2-5)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

 

2161302

ทฤษฎีดนตรีสากล 1

3 (3-0-6)

 

2161402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 2

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2161404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2

2 (0-4-2)

2161406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 2

2 (0-4-2)

2161408

ปฏิบัติกีตาร์ 2

2 (0-4-2)

2161410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 2

2 (0-4-2)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก
1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

2162301

ทฤษฎีดนตรีสากล 2

3 (3-0-6)

 

2162703

การบริหารจัดการวงดนตรี

3 (3-0-6)

 

2162101

ทฤษฎีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

2162401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 3

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2162403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3

2 (0-4-2)

2162405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 3

2 (0-4-2)

2162407

ปฏิบัติกีตาร์ 3

2 (0-4-2)

2162409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 3

2 (0-4-2)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

เลือก
1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2162302

ทฤษฎีดนตรีสากล 3

3 (3-0-6)

 

2162303

การประพันธ์

3 (2-2-5)

 

2162417

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 1

2 (0-4-2)

 

2162402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 4

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2162404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4

2 (0-4-2)

2162406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 4

2 (0-4-2)

2162408

ปฏิบัติกีตาร์ 4

2 (0-4-2)

2162410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 4

2 (0-4-2)

 

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2313703

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปกรรม

3 (3-0-6)

 

2163501

สวนศาสตร์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

2163711

รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

2163301

ทฤษฎีดนตรีสากล 4

3 (3-0-6)

 

2163401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 5

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2163403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 5

2 (0-4-2)

2163405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 5

2 (0-4-2)

2163407

ปฏิบัติกีตาร์ 5

2 (0-4-2)

2163409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 5

2 (0-4-2)

2163417

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 2

2 (0-4-2)

 

2163419

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 1

2 (0-4-2)

 

xxxxxxx

หมวดวิชาเลือกเสรี

3 (3-0-6)

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2163906

สัมมนาดนตรี

3 (2-2-5)

 

2163701

การผลิตผลงานทางดนตรีด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

2163418

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 3

2 (0-4-2)

 

2163420

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 2

2 (0-4-2)

 

2163402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 6

2 (0-4-2)

เลือก
1 รายวิชา

2163404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 6

2 (0-4-2)

2163406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 6

2 (0-4-2)

2163408

ปฏิบัติกีตาร์ 6

2 (0-4-2)

2163410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 6

2 (0-4-2)

xxxxxxx

หมวดวิชาเลือกเสรี

3 (3-0-6)

 
 

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2164901

การเสนอผลงานทางด้านดนตรี

3 (2-2-5)

 

2164902

การวิจัยทางดนตรี

3 (2-2-5)

 
 

รวม

6

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2164801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

5 (450)

 
 

รวม

5

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน จำนวน 33 หน่วยกิต

รายวิชา 2161101

พื้นฐานดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

Fundamental of Thai Music

 

        ศึกษาคุณค่าความสำคัญและประโยชน์ของดนตรีไทย ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยต่อสังคมและวัฒนธรรมของไทย วิวัฒนาการของดนตรีไทยในยุคสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน โดยศึกษาเกี่ยวกับเครื่องดนตรี วงดนตรี บทเพลง บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ส่งเสริมเผยแพร่และพัฒนาดนตรีไทย

รายวิชา 2161301

ทฤษฎีดนตรีสากลขึ้นพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

Music Fundamentals

 

        การบันทึกโน้ตสากล บันไดเสียง กุญแจ ขั้นคู่ ศัพท์สังคีตทั่วไป และการฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน

รายวิชา 2161701

คอมพิวเตอร์ดนตรีขั้นพื้นฐาน

3 (2-2-5)

 

Introduction to Music Computer

 

        ประวัติความเป็นมาของ Music Computer ส่วนประกอบหลัก (Hardware) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) การใช้โปรแกรมดนตรีแบบต่างๆ

รายวิชา 2162101

ทฤษฎีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

Theory of Thai Music

 

        ศึกษาองค์ประกอบของดนตรีไทยเกี่ยวกับเสียง มาตราเสียง ระดับเสียง กลุ่มเสียงที่ใช้ในบทเพลง สำเนียงภาษาต่าง ๆ จังหวะ อัตราจังหวะ หน้าทับประเภทต่าง ๆ ทำนอง ทำนองหลัก และการแปรทำนองทางบรรเลงและทางร้อง การประสานเสียงพื้นผิว รูปแบบและโครงสร้างของบทเพลงประเภทเพลงเถา เพลงตับ เพลงเรื่อง เพลงโหมโรง การแบ่งสัดส่วนบทเพลงออกเป็นท่อน จับ ตัว องค์ ไม้ คุณภาพและสีสันของเสียง บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีไทย ศัพท์สังคีตที่สำคัญ

รายวิชา 2162703

การบริหารจัดการวงดนตรี

3 (3-0-6)

 

Music Ensemble Management

 

        การจัดตั้งวงดนตรี การคัดเลือกนักดนตรี อัตรากำลังคน อัตรากำลังเครื่องและอุปกรณ์ ค่าดำเนินการในการจัดการฝึกซ้อม การคิดค่าตอบแทนในการบริการ

รายวิชา 2163501

สวนศาสตร์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

Music Acoustics

 

        ศึกษาการเกิดเสียงของเครื่องดนตรีในทางฟิสิกส์ และคุณสมบัติของเสียง ได้แก่ ความถี่ ลักษณะคลื่นเสียง ความกังวาน ความเข้ม ระดับเสียง คุณภาพของเสียง เสียงซ้อน หน่วยวัดเสียงด้านต่าง ๆ การคำนวณเซนต์ ความกลมกล่อมของเสียง บันไดเสียงรูปแบบต่าง ๆ สวนศาสตร์ของเครื่องดนตรี

รายวิชา 2163701

การผลิตผลงานทางดนตรีด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Productions of Computerized Music

 

        ขบวนการผลิตผลงานเพื่อเผยแพร่ในรูปของ Visual Media การจัดพิมพ์โน้ตเพลง การสร้างฐานข้อมูลโน้ตดนตรี ขบวนการผลิตผลงานเพื่อเผยแพร่ในรูปของ Audio visual Media การบันทึกในสตูดิโอ

รายวิชา 2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

English for Learning

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 2313703

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปกรรม

3 (3-0-6)

 

English for Fine and Applied Arts

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี และการแสดง เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 4311702

คอมพิวเตอร์เพื่ออาชีพ

3 (2-2-5)

 

Computer for Career

 

        ศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยวกับโครงสร้างและวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่าง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น การใช้ซอฟต์แวร์ชุดสำนักงาน ระบบฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์เวอร์คชีต เวอร์ดโปรเซสเซอร์ ฯลฯ

 

            3. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน (ดนตรีไทย) บังคับ จำนวน 40 หน่วยกิต

รายวิชา 2161103

การบันทึกโน้ตเพลงไทย

3 (3-0-6)

 

Thai Music Notations

 

        ศึกษาความสำคัญและประโยชน์การบันทึกโน้ตเพลงไทย ลักษณะของโน้ตที่ใช้บันทึกเพลงไทย ได้แก่ โน้ต 9 ตัว โน้ตนิ้ว โน้ตอักษรไทย โน้ตสากล โน้ตเชอเว เป็นต้น ฝึกโสตประสาท ฝึกอ่านและบันทึกโน้ตแต่ละประเภท

รายวิชา 2161111

ประวัติการดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

History of Thai Music

 

        ประวัติวิวัฒนาการของดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยปัจจุบัน ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างดนตรีกับศิลปะที่เกี่ยวข้อง ศึกษาลักษณะของเครื่องดนตรีไทยในแต่ละสมัย รูปแบบคีตลักษณ์ เทคนิค และการประพันธ์เพลงของคีตกวีไทย ศึกษารูปแบบการประสมวงดนตรีในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ ตลอดจนคีตกวี คีตวรรณกรรมที่สำคัญ

รายวิชา 2162103

ลักษณะและประเภทเพลงไทย

3 (3-0-6)

 

Classification of Thai Music

 

        ศึกษาลักษณะโครงสร้างเพลงไทยประเภทต่าง ๆ ได้แก่ เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื่อง เพลงเถา เพลงลูกล้อลูกขัด เพลงลา เพลงลูกหมด เพลงหางเครื่อง เพลงภาษา เพลงพิธีการและเพลงประกอบการแสดง

รายวิชา 2162111

ขนบประเพณีดนตรีไทย

3 (3-0-6)

 

The Tradition of Thai Music

 

        ศึกษาขนบประเพณี แบบแผนและแนวปฏิบัติในวงดนตรีไทย เช่น ระเบียบวิธีการบรรเลง กระบวนการถ่ายทอด เป็นต้น ความสำคัญของครูซึ่งเป็นสมมุติเทพและครูผู้สั่งสอนการดนตรี การเคารพบูชาครู ความหมายสาระ คุณค่าของพิธีไหว้ครูและครอบครูดนตรีไทย องค์ประกอบและกระบวนการของพิธีไหว้ครู ความสำคัญและคุณสมบัติของผู้ประกอบพิธีและผู้เข้าร่วมพิธีไหว้ครู จรรยาบรรณและจิตพิสัยของนักดนตรีไทยที่พึงประสงค์

รายวิชา 2162206

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Ensemble 1

 

        ฝึกปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย การเลือกบทเพลง การฝึกซ้อม การปรับวงอย่างถูกต้องตามแบบแผนของการบรรเลงวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ

รายวิชา 2162501

การจัดเก็บระบบข้อมูลดนตรี

3 (3-0-6)

 

Systemization of Musical Datas

 

        ศึกษาวิธีการและเก็บรวบรวมข้อมูลดนตรีภาคสนาม หลักมนุษยสัมพันธ์ การสังเกต สัมภาษณ์ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรี วิธีการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ หมวดหมู่ ได้แก่ ข้อมูลจากการจดบันทึก เทปบันทึกเสียง วีดิทัศน์ แผ่นเสียง โน้ตเพลง บัตรรายการ ภาพถ่าย การเชื่อมโยงข้อมูล การจัดบรรณานุกรมข้อมูล การนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อการจัดเก็บข้อมูล

รายวิชา 2162701

หน้าทับดนตรีไทย

3 (2-2-5)

 

Rhythmic Pattern in Thai Music

 

        ศึกษาบทบาท วิธีการ และความสำคัญของหน้าทับดนตรีไทย เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงหน้าทับ ไม้กลอง โครงสร้าง และลักษณะของจังหวะหน้าทับประเภทต่าง ๆ หลักและวิธีการใช้หน้าทับให้สอดคล้องกับทำนองเพลง และวัตถุประสงค์ของผู้ประพันธ์

รายวิชา 2163201

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Ensemble 2

 

        ฝึกปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย การเลือกบทเพลง การฝึกซ้อม การปรับวงอย่างถูกต้องตามแบบแผนของการบรรเลงวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ ต้องเป็นเพลงชั้นสูงกว่าการเรียนรวมวงใหญ่ 1

รายวิชา 2163202

ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Ensemble 3

 

        ฝึกปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย การเลือกบทเพลง การฝึกซ้อม การปรับวงอย่างถูกต้องตามแบบแผนของการบรรเลงวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ ต้องเป็นเพลงชั้นสูงกว่าการเรียนรวมวงใหญ่ 2

รายวิชา 2163419

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 1

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 1

 

        หาพิสัยความสูงต่ำของเสียงผู้ร้อง จัดกลุ่มตามพิสัย ฝึกการหายใจที่ถูกต้อง ฝึกการออกเสียงจากตำแหน่งต่าง ๆ ฝึกการใช้เสียงทุกระดับ ฝึกการออกเสียงสระต่าง ๆ ฝึกการเทียบเสียงกับเครื่องดนตรีมาตรฐาน ย้ายเสียงขึ้นลง ใช้บทเพลงที่ค่อนข้างง่ายไม่เกิน 3 แนว

รายวิชา 2163420

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 2

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 2

 

        ฝึกออกเสียงที่ยากขึ้น ฝึกการย้ายเสียงโดไปในบันไดเสียงต่าง ๆ ใช้บทเพลงที่ยากกว่าในระดับที่ 1 และเพิ่มเป็นแนว 4 แนว

รายวิชา 2163711

รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

Form and Analysis

 

        ศึกษาถึงโครงสร้างของรูปแบบดนตรีที่เริ่มจากวลีเพลง (Motif) ไปจนกระทั่งถึงการวิเคราะห์รูปแบบของโซนาต้า (Sonata) ลอนโด (Londo) และรูปแบบของการแปรทำนอง (Variation Forms)

รายวิชา 2163906

สัมมนาดนตรี

3 (2-2-5)

 

Seminar in Music

 

        ศึกษาเพื่อให้เกิดความรอบรู้เกี่ยวกับเนื้อหาดนตรีด้านต่าง ๆ และสามารถคิดวิเคราะห์ได้ ศึกษาเรียนรู้วิธีการจัดสัมมนาเพื่อสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไปได้

รายวิชา 2164901

การเสนอผลงานทางดนตรี

3 (2-2-5)

 

Music Presentation

 

        ให้นักศึกษาได้มีโอกาสเสนอผลงานของตนในรูปแบบต่าง ๆ จัดแสดงแผนงานและการประเมินผลโครงการที่ชัดเจน โดยเลือกกิจกรรมต่อไปนี้ 1 กิจกรรม โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอนรายวิชานี้

                1. ดนตรีนิทัศน์ ให้นักศึกษาจัดนิทรรศการทางดนตรี
                2. การแสดงเดี่ยว ให้นักศึกษาสรุปผลงานทางด้านปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ได้ศึกษาในหลักสูตร โดยให้นักศึกษาเลือกบทเพลงที่ตนเองถนัดบรรเลงต่อสาธารณะชน
                3. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาค้นคว้าในเรื่องราวที่ตนเองสนใจ
                4. เสนอผลงานด้านการประพันธ์ โดยไม่จำกัดของเครื่องดนตรีและสื่อที่นำเสนอ

รายวิชา 2164902

การวิจัยทางดนตรี

3 (2-2-5)

 

Music Research

 

        ความหมาย ความมุ่งหมาย ความสำคัญของการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย จรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย การวางแผนการวิจัย การฝึกปฏิบัติการวิจัยทางดนตรี การเขียนรายงาน การอ่านผลการวิจัย การวิจารณ์ผลงานวิจัย การใช้ผลงานวิจัย

 

            4. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน (ดนตรีสากล) บังคับ จำนวน 40 หน่วยกิต

รายวิชา 2161302

ทฤษฎีดนตรีสากล 1

3 (3-0-6)

 

Music Theory 1

 

        ตรัยด์ (Triad) คอร์ด (Chord) และการพลิกกลับของคอร์ด (Inversion) จุดพักเพลง (Cadence) การเคลื่อนที่ของคอร์ดตรัยด์ การใช้คอร์ดในรูปพื้นด้น และการพลิกกลับ โน้ตนอกประสาน การเขียนและวิเคราะห์ทำนอง การประสานเสียง 4 แนว การฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาเรียน

รายวิชา 2161311

ประวัติดนตรีตะวันตก

3 (3-0-6)

 

Music from Antiquity to 1750

 

        ศึกษาความคิดเกี่ยวกับการเกิดของดนตรีโบราณ ดนตรีสมัยกรีก ดนตรีสมัยกลาง ดนตรีสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยา และสมัยบาโร้ค ศึกษาวิวัฒนาการของรูปแบบต่าง ๆ ความคิดใหม่ในด้านการประสานเสียง การใช้เครื่องดนตรี บุคคลสำคัญ และผลงานที่สำคัญ

รายวิชา 2162301

ทฤษฎีดนตรีสากล 2

3 (3-0-6)

 

Music Theory 2

 

        คอร์ดทบ 7 (7 Chord) ทบ 9 (9 Chord) ฯลฯ การย้ายบันไดเสียงแบบ Diatonic modulation การใช้ Secondary dominant การใช้ Sequence การฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน

รายวิชา 2162302

ทฤษฎีดนตรีสากล 3

3 (3-0-6)

 

Music Theory 3

 

        ศึกษาการใช้คอร์ดยืม (borrow chord) โครแมติกคอร์ด (chromatic chord) คอร์ดที่แปลงเสียง (alter chord) การเปลี่ยนกุญแจเสียงแบบโครแมติก (chromatic modulation) การฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน

รายวิชา 2162303

การประพันธ์

3 (2-2-5)

 

Composition

 

        ศึกษาการประพันธ์ดนตรีอย่างง่าย ๆ ขั้นต้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการประพันธ์

รายวิชา 2162417

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 1

2 (0-4-2)

 

Big Band 1

 

        ฝึกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝึกความพร้อมเพรียงในการบรรเลงร่วมกัน การบรรเลงให้น้ำเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ของการบรรเลงในด้านความถูกต้องของเสียงและอารมณ์เพลง ปฏิบัติรวมวงใหญ่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 13 คนขึ้นไป

รายวิชา 2163301

ทฤษฎีดนตรีสากล 4

3 (3-0-6)

 

Music Theory 4

 

        ศึกษาทฤษฎีดนตรีสากลในศตวรรษที่ 21 เช่น parallel harmony poly chord bitonal quartal harmony

รายวิชา 2163417

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 2

2 (0-4-2)

 

Big Band 2

 

        ฝึกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝึกความพร้อมเพรียงในการบรรเลงร่วมกัน การบรรเลงให้น้ำเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ของการบรรเลงในด้านความถูกต้องของเสียงและอารมณ์เพลง ปฏิบัติรวมวงใหญ่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 13 คนขึ้นไป การปฏิบัติรวมวงใหญ่ในขั้นนี้ให้ฝึกบทเพลงในระดับสูงกว่าระดับ 1

รายวิชา 2163418

ปฏิบัติรวมวงใหญ่ 3

2 (0-4-2)

 

Big Band 3

 

        ฝึกทักษะการเล่นรวมวง ฝึกความพร้อมเพรียงในการบรรเลงร่วมกัน การบรรเลงให้น้ำเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ของการบรรเลงในด้านความถูกต้องของเสียงและอารมณ์เพลง ปฏิบัติรวมวงใหญ่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 13 คนขึ้นไป การปฏิบัติรวมวงใหญ่ในขั้นนี้ให้ฝึกบทเพลงในระดับสูงกว่าระดับ 2

รายวิชา 2163419

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 1

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 1

 

        หาพิสัยความสูงต่ำของเสียงผู้ร้อง จัดกลุ่มตามพิสัย ฝึกการหายใจที่ถูกต้อง ฝึกการออกเสียงจากตำแหน่งต่าง ๆ ฝึกการใช้เสียงทุกระดับ ฝึกการออกเสียงสระต่าง ๆ ฝึกการเทียบเสียงกับเครื่องดนตรีมาตรฐาน ย้ายเสียงขึ้นลง ใช้บทเพลงที่ค่อนข้างง่ายไม่เกิน 3 แนว

รายวิชา 2163420

ปฏิบัติขับร้องประสานเสียง 2

2 (0-4-2)

 

Chorus Vocal 2

 

        ฝึกออกเสียงที่ยากขึ้น ฝึกการย้ายเสียงโดไปในบันไดเสียงต่าง ๆ ใช้บทเพลงที่ยากกว่าในระดับที่ 1 และเพิ่มเป็นแนว 4 แนว

รายวิชา 2163711

รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรี

3 (3-0-6)

 

Form and Analysis

 

        ศึกษาถึงโครงสร้างของรูปแบบดนตรีที่เริ่มจากวลีเพลง (Motif) ไปจนกระทั่งถึงการวิเคราะห์รูปแบบของโซนาต้า (Sonata) ลอนโด (Londo) และรูปแบบของการแปรทำนอง (Variation Forms)

รายวิชา 2163906

สัมมนาดนตรี

3 (2-2-5)

 

Seminar in Music

 

        ศึกษาเพื่อให้เกิดความรอบรู้เกี่ยวกับเนื้อหาดนตรีด้านต่าง ๆ และสามารถคิดวิเคราะห์ได้ศึกษาเรียนรู้วิธีการจัดสัมมนาเพื่อสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไปได้

รายวิชา 2164901

การเสนอผลงานทางดนตรี

3 (2-2-5)

 

Music Presentation

 

        ให้นักศึกษาได้มีโอกาสเสนอผลงานของตนในรูปแบบต่าง ๆ จัดแสดงแผนงานและการประเมินผลโครงการที่ชัดเจน โดยเลือกกิจกรรมต่อไปนี้ 1 กิจกรรม โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอนรายวิชานี้

1. ดนตรีนิทัศน์ ให้นักศึกษาจัดนิทรรศการทางดนตรี

2. การแสดงเดี่ยว ให้นักศึกษาสรุปผลงานทางด้านปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ได้ศึกษาในหลักสูตร โดยให้นักศึกษาเลือกบทเพลงที่ตนเองถนัดบรรเลงต่อสาธารณะชน

3. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาค้นคว้าในเรื่องราวที่ตนเองสนใจ

4. เสนอผลงานด้านการประพันธ์ โดยไม่จำกัดของเครื่องดนตรีและสื่อที่นำเสนอ

รายวิชา 2164902

การวิจัยทางดนตรี

3 (2-2-5)

 

Music Research

 

        ความหมาย ความมุ่งหมาย ความสำคัญของการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย จรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย การวางแผนการวิจัย การฝึกปฏิบัติการวิจัยทางดนตรี การเขียนรายงาน การอ่านผลการวิจัย การวิจารณ์ผลงานวิจัย การใช้ผลงานวิจัย

 

            5. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้านเลือก (ดนตรีไทย) เลือก จำนวน 12 หน่วยกิต

รายวิชา 2161202

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked Instrument 1

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด ต่อเพลงตับ ต้นเพลงฉิ่ง 3 ชั้น (ต้นเพลงฉิ่ง จระเข้หางยาว ตวงพระธาตุ นกขมิ้น) เขมรไทรโยค ลาวดวงเดือน ลาวดำเนินทราย แขกต่อยหม้อเถา ตับวิวาห์พระสมุทร (คลื่นกระทบฝั่ง บังใบ แขกสาหร่าย) โหมโรงกระแตไต่ไม้ โหมโรงจอมสุรางค์ออกสะบัดสะบิ้ง โหมโรงสี่แคว เจ้าพระยาเถา เขมรลออองค์เถา หรือฝึกปฏิบัติเครื่องดีดพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161203

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked Instrument 2

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด โดยต่อเพลงโหมโรงไอยเรศ โหมโรงเยี่ยมวิมาน โหมโรงครอบจักรวาลออกม้าย่อง แป๊ะ 3 ชั้น อาหนูเถา นางครวญเถา สุดสงวนเถา พัดชา ลีลากระทุ่ม ครอบจักรวาล 2 ชั้น การเวกเล็กเถา เขมรปากท่อเถา แขกขาวเถา หรือฝึกปฏิบัติเครื่องดีดพื้นบ้าน โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161205

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed Instrument 1

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี โดยต่อเพลงตับต้นเพลงฉิ่ง 3 ชั้น (ต้นเพลงฉิ่ง จระเข้หางยาว ตวงพระธาตุ นกขมิ้น) เขมรไทรโยค ลาวดวงเดือน ลาวดำเนินทราย แขกต่อยหม้อเถา ตับวิวาห์พระสมุทร (คลื่นกระทบฝั่ง บังใบ แขกสาหร่าย) โหมโรงกระแตไต่ไม้ โหมโรงจอมสุรางค์ออกสะบัดสะบิ้ง โหมโรงสี่แคว เจ้าพระยาเถา เขมรลออองค์เถา หรือฝึกปฏิบัติเครื่องสีพื้นบ้าน โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิช า 2161216

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed Instrument 2

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี โดยต่อเพลงโหมโรงไอยเรศ โหมโรงเยี่ยมวิมาน โหมโรงครอบจักรวาลออกม้าย่อง แป๊ะ 3 ชั้น อาหนูเถา นางครวญเถา สุดสงวนเถา พัดชา ลีลากระทุ่ม ครอบจักรวาล 2 ชั้น การเวกเล็กเถา เขมรปากท่อเถา แขกขาวเถา หรือฝึกปฏิบัติเครื่องสีพื้นบ้าน โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161208

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 1

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีไทยและมอญ โดยต่อเพลงสาธุการ ตับต้นเพลงฉิ่ง หรือฝึกปฏิบัติเครื่องตีพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161209

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 2

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีไทยและมอญ โดยต่อเพลงโหมโรงเช้าโล้ พระเจ้าลอดถาด กราวรำ หรือฝึกปฏิบัติเครื่องตีพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161211

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed 1

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยต่อเพลงสาธุการ ตับต้นเพลงฉิ่ง หรือฝึกปฏิบัติเครื่องเป่าพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161212

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Bowed 2

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยต่อเพลงโหมโรงเช้าโล้ พระเจ้าลอดถาด กราวรำ หรือฝึกปฏิบัติเครื่องเป่าพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2161214

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 1

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 1

 

        ฝึกปฏิบัติขับร้องเพลงชาติ สรรเสริญพระบารมี พม่าเขว 2 ชั้น ลาวต่อนก 2 ชั้น บูเซ็นซอค 2 ชั้น ลาวเสี่ยงเทียนชั้นเดียว โสมส่องแสงชั้นเดียว ต้อยตริ่ง 2 ชั้น พม่ากลองยาว 2 ชั้น เขมรพายเรือ 2 ชั้น เขมรกล่อมลูก 2 ชั้น เขมรปากท่อ 2 ชั้น เขมรกำปอ 2 ชั้น มอญท่าอิฐ 2 ชั้น แขกกล่อมเจ้า 2 ชั้น มอญดูดาว 2 ชั้น นาคราชชั้นเดียว ลาวพุงดำ 2 ชั้น แขกบรเทศ 2 ชั้น ลาวดวงเดือน ตับวิวาห์ พระสมุทร แขกต่อยหม้อเถา แขกขาวเถา และเพลงพื้นบ้าน

รายวิชา 2161215

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 2

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 2

 

        ฝึกปฏิบัติขับร้องเพลงตับต้นเพลงฉิ่ง 3 ชั้น (ต้นเพลงฉิ่ง จระเข้หางยาว ตวงพระธาตุ นกขมิ้น) แป๊ะ 3 ชั้น ลาวดำเนินทราย 2 ชั้น ลมพัดชายเขา 2 ชั้น นางนาค 2 ชั้น สามเส้า 2 ชั้น จีนขิมเล็ก 2 ชั้น อาหนูเถา เงี้ยวรำลึกเถา การเวกเถา พัดชา ลีลากระทุ่มดอกไม้ไทร 2 ชั้น นางนาคเถา สุดสงวนเถา

รายวิชา 2162201

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 3

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด โดยต่อเพลงโหมโรงรัตนโกสินทร์ เพลงฉิ่งมุล่งชั้นเดียว สุรินทราหู 3 ชั้น โหมโรงแขกมอญ แขกมอญ 3 ชั้น สารถีเถา โหมโรงราโค เต่ากินผักบุ้ง แขกมอญบางขุนพรหมเถา โหมโรงมหาฤกษ์ พระอาทิตย์ชิงดวง ถอนสมอ มหาฤกษ์ มหาชัย หรือฝึกปฏิบัติเครื่องดีดพื้นบ้าน โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162202

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 4

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด โดยต่อเพลงโหมโรงมะลิเลื้อย พม่าเห่เถา มอญอ้อยอิ่ง โหมโรงสามม้า (ม้ารำ ม้าสะบัดกีบ ม้าย่อง) เขมรปี่แก้ว 3 ชั้น มอญรำดาบเถา โหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง เขมรปี่แก้วทางสักวา ราตรีประดับดาวเถา โหมโรงมหาราช ใบ้คลั่ง เขมรเป่าใบไม้เถา เงี้ยวรำลึกเถา หรือฝึกปฏิบัติเครื่องดีดพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162203

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai String 3

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี โดยต่อเพลงโหมโรงรัตนโกสินทร์ เพลงฉิ่งมุล่งชั้นเดียว สุรินทราหู 3 ชั้น โหมโรงแขกมอญ แขกมอญ 3 ชั้น สารถีเถา โหมโรงราโค เต่ากินผักบุ้ง แขกมอญบางขุนพรหมเถา โหมโรงมหาฤกษ์ พระอาทิตย์ชิงดวง ถอนสมอ มหาฤกษ์ มหาชัย หรือฝึกปฏิบัติเครื่องสีพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162204

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai String 4

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี โดยต่อเพลงโหมโรงมะลิเลื้อย พม่าเห่เถา มอญอ้อยอิ่ง โหมโรงสามม้า (ม้ารำ ม้าสะบัดกีบ ม้าย่อง) เขมรปี่แก้ว 3 ชั้น มอญรำดาบเถา โหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง เขมรปี่แก้วทางสักวา ราตรีประดับดาวเถา โหมโรงมหาราช ใบ้คลั่ง เขมรเป่าใบไม้เถา เงี้ยวรำลึกเถา โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162205

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 3

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี โดยต่อเพลงโหมโรงเย็น วา ลงสรง เพลงเรื่องสร้อยสน หรือฝึกปฏิบัติเครื่องตีพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162216

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 4

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี โดยต่อเพลงเถาอย่างน้อย 5 เพลง เพลงตับเรื่องอย่างน้อย 2 ตับ หรือฝึกปฏิบัติเครื่องตีพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162222

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 3

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า โดยต่อเพลงโหมโรงเย็น วา ลงสรง เพลงเรื่องสร้อยสน หรือฝึกปฏิบัติเครื่องเป่าพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162223

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 4

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยต่อเพลงเถาอย่างน้อย 5 เพลง เพลงตับเรื่องอย่างน้อย 2 ตับ หรือฝึกปฏิบัติเครื่องเป่าพื้นบ้านโดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงที่ฝึกตามความเหมาะสม

รายวิชา 2162224

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 3

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 3

 

        ฝึกปฏิบัติขับร้องไทย โดยต่อเพลงถอนสมอเถา สารถีเถา เขมรพวงเถา แขกมอญบางขุนพรหมเถา พระอาทิตย์ชิงดวง แขกมอญ 3 ชั้น สุรินทราหู 3 ชั้น พม่าเห่เถา แขกลพบุรี 3 ชั้น ตับลาวเจริญศรี

รายวิชา 2162225

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 4

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 4

 

        ฝึกปฏิบัติขับร้องไทยโดยต่อเพลงเขมรโพธิสัตว์เถา เขมรปี่แก้ว 3 ชั้น ใบ้คลั่ง 3 ชั้น แขกไทรเถา แสนคำนึงเถา ออกเดี่ยวบุหลันเถา ตับนางซิลเดอร์ริลลา

รายวิชา 2163206

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 5

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด โดยต่อเพลงโหมโรงขวัญเมือง เขมรโพธิสัตว์เถา ตับนิทราชาคริต ตับนางซินเดอเรลลา โหมโรงกราวนอก ตับจูล่ง เพลงตับต่าง ๆ เชิดจีน โหมโรงเทิดสิรินธร ตับลาวเจริญศรี แขกลพบุรี ขอมเงิน

รายวิชา 2163207

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Plucked 6

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด โดยต่อเพลงโหมโรงสะบัดสะบิ้งเถา พญาโศก 3 ชั้น เพลงประเภทลูกล้อลูกขัด โหมโรงพม่าวัด แขกโอด เขมรราชบุรีทยอยนอกทยอยใน เชิดจีนทางบางคอแหลม บุหลันเถา พม่าห้าท่อน ทยอยญวน เพลงหน้าพาทย์พื้นฐานประกอบการแสดง

รายวิชา 2163203

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai String 5

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทสี โดยต่อเพลงโหมโรงขวัญเมือง เขมรโพธิสัตว์เถา ตับนิทราชาคริต ตับนางซินเดิอเรลลา โหมโรงกราวนอก ตับจูล่ง เพลงตับต่าง ๆ เชิดจีน โหมโรงเทิดสิรินธร ตับลาวเจริญศรี แขกลพบุรี ขอมเงิน

รายวิชา 2163204

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai String 6

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสี โดยต่อเพลงโหมโรงสะบัดสะบิ้ง พญาโศก 3 ชั้น เพลงประเภทลูกล้อลูกขัด โหมโรงพม่าวัด แขกโอด เขมรราชบุรีทยอยนอกทยอยใน เชิดจีนทางบางคอแหลม บุหลันเถา พม่าห้าท่อน ทยอยญวน เพลงหน้าพาทย์พื้นฐานประกอบการแสดง

รายวิชา 2163205

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 5

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี โดยต่อเพลงประเภททยอยอย่างน้อย 5 เพลง เพลงประกอบการแสดงทั่ว ๆ ไป

รายวิชา 2163216

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Melodic Percussion 6

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี โดยต่อเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้พิธีไหว้ครูดนตรีไทย โขน ละคร และหน้าพาทย์ที่ใช้ในการแสดง

รายวิชา 2163213

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 5

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า โดยต่อเพลงประเภทเพลงย่อย อย่างน้อย 5เพลง เพลงประกอบการแสดงทั่ว ๆ ไป

รายวิชา 2163214

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Wind 6

 

        ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า โดยต่อเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้วิธีไหว้ครูดนตรีไทย โขนละคร และหน้าพาทย์ที่ใช้ในการแสดง

รายวิชา 2163215

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 5

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 5

 

        ฝึกปฏิบัติขับร้องเพลงไทย โดยต่อเพลงเขมรใหญ่ ตับจูล่ง ตับนิทราชาคริต มอญรำดาบเถา พญาโศก 3 ชั้น ขอมเงินเถา เชิดจีน แขกโอด พม่าห้าท่อน

รายวิชา 2163217

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 6

2 (0-4-2)

 

Thai Singing 6

 

        ฝึกปฏิบัติขับร้องเพลงไทย โดยต่อเพลงปลาทองเถา อกทะเล 3 ชั้น นกขมิ้น 3 ชั้น สารถีเถา จีนขิมใหญ่ ทยอยญวน ตับนางลอย

 

            6. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้านเลือก (ดนตรีสากล) เลือก จำนวน 12 หน่วยกิต

รายวิชา 2161401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 1

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 1

 

        การเรียนการสอนเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

รายวิชา 2161402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 2

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 2

 

        การเรียนการสอนเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 1

รายวิชา 2161403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 1

 

        การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียงศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

รายวิชา 2161404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 2

 

        การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียงศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 1

รายวิชา 2161405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1

2 (0-4-2)

 

String Performance 1

 

        การเรียนการสอนเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) การใช้คันชักและการวางนิ้ว การตั้งเสียงและการเกิดเสียง ฝึกเล่นบันไดเสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรีปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

รายวิชา 2161406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 2

2 (0-4-2)

 

String Performance 2

 

        การเรียนการสอนเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) การใช้คันชักและการวางนิ้ว การตั้งเสียงและการเกิดเสียง ฝึกเล่นบันไดเสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 1

รายวิชา 2161407

ปฏิบัติกีตาร์ 1

2 (0-4-2)

 

Guitar 1

 

        การเรียนปฏิบัติกีตาร์คลาสสิค มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี และการดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการตีคอร์ด การเกากีตาร์ การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

รายวิชา 2161408

ปฏิบัติกีตาร์ 2

2 (0-4-2)

 

Guitar 2

 

        การเรียนปฏิบัติกีตาร์คลาสสิค มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี และการดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการตีคอร์ด การเกากีตาร์ การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 1

รายวิชา 2161409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 1

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 1

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติคีย์บอร์ด มุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การไล่เสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

รายวิชา 2161410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 2

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 2

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติคีย์บอร์ด มุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การไล่เสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 1

รายวิชา 2162401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 3

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 3

 

        การเรียนการสอนเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 2

รายวิชา 2162402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 4

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 4

 

        การเรียนการสอนเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 3

รายวิชา 2162403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 3

 

        การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 2

รายวิชา 2162404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 4

 

        การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 3

รายวิชา 2162405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 3

2 (0-4-2)

 

String Performance 3

 

        การเรียนการสอนเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) การใช้คันชักและการวางนิ้ว การตั้งเสียงและการเกิดเสียง ฝึกเล่นบันไดเสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 2

รายวิชา 2162406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 4

2 (0-4-2)

 

String Predominance 4

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ต่ำ) การใช้คันชักและการวางนิ้ว การตั้งเสียงและการเกิดเสียง ฝึกเล่นบันไดเสียง บทฝึก และวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกปฏิบัติฝึกในขั้นสูงกว่าระดับที่ 3

รายวิชา 2162407

ปฏิบัติกีตาร์ 3

2 (0-4-2)

 

Guitar 3

 

        การเรียนปฏิบัติกีตาร์คลาสสิค มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี และการดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการตีคอร์ด การเกากีตาร์ การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 2

รายวิชา 2162408

ปฏิบัติกีตาร์ 4

2 (0-4-2)

 

Guitar 4

 

        การเรียนปฏิบัติกีตาร์คลาสสิค มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี และการดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการตีคอร์ด การเกากีตาร์ การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 3

รายวิชา 2162409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 3

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 3

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติคีย์บอร์ด มุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การไล่เสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 2

รายวิชา 2162410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 4

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 4

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติคีย์บอร์ด มุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การไล่เสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 3

รายวิชา 2163401

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 5

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 5

 

        การเรียนการสอนเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 4

รายวิชา 2163402

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 6

2 (0-4-2)

 

Woodwind Performance 6

 

        การเรียนการสอนเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาการปฏิบัติให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 5

รายวิชา 2163403

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 5

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 5

 

        การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 4

รายวิชา 2163404

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 6

2 (0-4-2)

 

Brass Performance 6

 

        การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปากสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึก และวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 5

รายวิชา 2163405

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 5

2 (0-4-2)

 

String Predominance 5

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ต่ำ) การใช้คันชักและการวางนิ้ว การตั้งเสียงและการเกิดเสียง ฝึกเล่นบันไดเสียง บทฝึกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกปฏิบัติฝึกในขั้นสูงกว่าระดับที่ 4

รายวิชา 2163406

ปฏิบัติเครื่องสายสากล 6

2 (0-4-2)

 

String Performance 6

 

        การเรียนการสอนเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาการปฏิบัติให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) การใช้คันชักและการวางนิ้ว การตั้งเสียงและการเกิดเสียง ฝึกเล่นบันไดเสียง บทฝึกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 5

รายวิชา 2163407

ปฏิบัติกีตาร์ 5

2 (0-4-2)

 

Guitar 5

 

        การเรียนปฏิบัติกีตาร์คลาสสิค มุ่งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการตีคอร์ด การเกากีตาร์ การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกให้ฝึกในระดับที่สูงกว่าระดับ 4

รายวิชา 2163408

ปฏิบัติกีตาร์ 6

2 (0-4-2)

 

Guitar 6

 

        การเรียนการสอนกีตาร์คลาสสิค มุ่งพัฒนาการปฏิบัติให้เต็มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียงสำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการตีคอร์ด การเกากีตาร์ การถ่ายทอดอารมณ์ บทฝึกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับนี้ให้เป็นระดับที่สูงกว่าในระดับที่ 5

รายวิชา 2163409

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 5

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 5

 

        การเรียนการสอนปฏิบัติคีย์บอร์ด มุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ท่าทาง การดูแลรักษา การไล่เสียง การฝึกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับที่สูงกว่าระดับ 4

รายวิชา 2163410

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 6

2 (0-4-2)

 

Keyboard Performance 6

 

        การเขียนการสอนปฏิบัติบอร์ด มุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ท่าทาง การดูแลรักษา การไล่เสียง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝึกในระดับที่สูงกว่าระดับ 5

 

            7. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 5 หน่วยกิต

รายวิชา 2164801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

5 (450)

 

Practical Experience in Music

 

        ให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์ด้านวิชาชีพดนตรีในสถานประกอบการจริง ซึ่งมีระยะเวลาและมาตรฐานการฝึกงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชาา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลายย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

**********

 

ภาคผนวก

 

ตาราง แสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรปรับปรุง

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี

ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี

 

2

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรี)

ศิลปบัณฑิต (ดนตรี)

เปลี่ยนชื่อปริญญาใหม่

3

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

4 ข้อ

4 ข้อ

ปรับปรุงใหม่ให้เหมาะสม

5

หลักสูตร

 

เรียนภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 12 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 น.ก.
และหมวดวิชาเฉพาะ 6 น.ก.

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 137 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 127 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

(94 หน่วยกิต)

(90 หน่วยกิต)

 

2.1 วิชาแกน

- หน่วยกิต

33 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

32 หน่วยกิต

40 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

40 หน่วยกิต

12 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

 

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

(15 หน่วยกิต)

-

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลข 7 หลัก จัดเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

มี

มี

 

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

11 คน

10 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ไม่ได้ระบุชัดเจน

มีจำนวน 5 คน

 

 

หลักสูตรศิลปบัณฑิต

สาขาวิชาดนตรี

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์