หลักสูตรศิลปบัณฑิต
สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

1

2

ชื่อปริญญา

1

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1

5

กำหนดการเปิดสอน

2

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

2

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

2

8

ระบบการศึกษา

2

9

ระยะเวลาการศึกษา

3

10

การลงทะเบียนเรียน

3

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

3

12

อาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้สอน

4

13

แผนการรับนักศึกษา

10

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

11

15

ห้องสมุด

12

16

งบประมาณ

17

17

หลักสูตร

18

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

18

 

17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

18

 

17.3 รายวิชา

18

 

17.4 แผนการศึกษา

27

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

36

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

56

19

การพัฒนาหลักสูตร

57

 

ภาคผนวก

59

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พุทธศักราช 2549

-------------------------

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย   หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
ภาษาอังกฤษ   Bachelor of Arts Program in Community Development

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม   ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
  Bachelor of Arts in Community Development
ชื่อย่อ   ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน)
  B.A. (Community Development)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4.ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาหลักสูตร

                มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์มีความเชื่อมั่นว่า การจัดการศึกษาด้านการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น เป็นกระบวนการศึกษาที่จำเป็นต่อการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและท้องถิ่น เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไป
                การพัฒนาชุมชนเป็นวิชาชีพที่ให้บริการแก่ชุมชนและสังคม โดยการนำความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อให้ชุมชนและสังคมเกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การพัฒนาชุมชนเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในชุมชนและสภาพแวดล้อมของชุมชนเป็นระบบที่ปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลาในรูปแบบองค์รวม โดยมีเป้าหมายเพื่อการพึ่งพาตนเองได้บนแนวคิดพื้นฐานที่ว่ามนุษย์มีศักยภาพ มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี และความพึงพอใจในชีวิต นักพัฒนาชุมชน เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และทักษะทางการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น เป็นผู้มีสติปัญญาดี รู้จักคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ และสามารถวางแผนการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น รู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ติดตามความก้าวหน้าทางวิทยาการสมัยใหม่สามารถทำวิจัยและใช้งานวิจัยให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น มีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เสียสละ อุทิศตน และเคารพในสิทธิและความเป็นบุคคลของคนอื่น ยึดมั่นในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพและมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
                การจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น จึงดำเนินการโดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สนับสนุนและส่งเสริมสร้างบรรยากาศเพื่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ มีวิจารณญาณ มีภาวะผู้นำ สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและมีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

            หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน มีวัตถุประสงค์เฉพาะดังนี้

                1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถที่เกี่ยวกับการพัฒนา การบริหารการพัฒนาในระดับชุมชนและท้องถิ่น
                2. เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน การจัดการวิสาหกิจชุมชน การจัดการสวัสดิการชุมชน
                3. เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีทักษะและมีจรรยาบรรณต่อการบริหารการพัฒนาท้องถิ่น
                4. เพื่อสนองตอบต่อการกระจายอำนาจของภาครัฐ ที่ต้องการส่งเสริมการพัฒนาชุมชน การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน และการจัดสวัสดิการชุมชน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และการจัดการความรู้ของท้องถิ่น และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ทำงานในระดับท้องถิ่น
                    ได้รับการศึกษาระดับปริญญาตรี

5. กำหนดการเปิดสอน

        ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษามีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รหัสวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รหัสวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรหัสวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ – สกุล

วุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1.

นายเสรี ซาเหลา

    -  สส.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  กศ.บ.ชีวิทยา

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ(ประสานมิตร)

    1.เอกสารประกอบการสอน 1 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

2.

น.ส.อุทัยวรรณ ลิมปชยาพร

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  ศศ.บ.(การโรงแรม/การท่องเที่ยว)

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยสยาม

    1.เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

3.

นายสุทธิพงษ์ ภูเมืองปาน

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ.(ภาษาอังกฤษ)

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

    1.เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

4.

นายวิรัตน์ วงค์รอด

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ. (รัฐศาสตร์)
    -  บธ.บ.(บริหารธุรกิจ)

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
    -  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    1.เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

5.

น.ส.พรรณภัทร ใจเอื้อ

    -  สส.ม.(การบริหารนโยบายและสวัสดิการสังคม)
    -  ศศ.บ.(สังคมศึกษา)

    -  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

    1.เอกสารประกอบการสอน 2 วิชา
    2. งานวิจัย 4 เรื่อง (วิจัยร่วม)

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ – สกุล/วุฒิ-วิชาเอก

ความรับผิดชอบวิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย/ประสบการณ์

1.

ผศ.สุริย์ พันธุ์พงษ์

    -  กศ.ม.(การบริหารการศึกษา)
    -  กศ.บ.(สังคมศึกษา)

วิชาที่สอน

    1. หลักสังคมวิทยาและสังคมวิทยา
    2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
    3. ประชากรศึกษา
    4. ปัญหาสังคม

ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาปัญหาสังคม

2.

รศ.ปรียา พิมพาภรณ์

    -  ค.ม.(หลักสูตรและการสอน)
    -  กศ.บ.(ภูมิศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. วิถีไทย
    2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
    3. สังคมและวัฒนธรรม
    4. ครอบครัวและชุมชนไทย

ตำรา

    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาสวัสดิการสังคม

3.

นางจุไรวรรณ โพธิ์แก้ว

    -  ค.ม.(หลักสูตรและการสอน)
    -  ค.บ.(สังคมศึกษา)

วิชาที่สอน

    1. หลักมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา
    2. ปัญหาสังคม
    3. การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม
    4. สังคมศาสตร์กับการพัฒนา
    5. การพัฒนาเยาวชน
    6. วิถีไทย
    7. สังคมวิทยาการท่องเที่ยว

ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาวิถีไทย
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมวิทยาการท่องเที่ยว
    -  โครงสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

4.

นายเสรี ซาเหลา

    -  สส.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  กศ.บ.(ชีววิทยา)

วิชาที่สอน

    1. ทฤษฏีทางสังคมศาสตร์และการพัฒนาชุมชน
    2. กระบวนการพัฒนาชุมชน

ตำรา

    -  การพัฒนาความสามรถของบุคคลและกลุ่ม

งานวิจัย

    -  การใช้เวลาว่างของเด็กและเยาวชน
    -  บทบาทของ อบต.กับการวางแผนพัฒนาตำบล 5 ปี

5

ดร.ธาตรี จีราพันธ์

    -  Ph.D. (Animal Science)
    -  M.S. (Animal Science)
    -  วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์)

วิชาที่สอน

    1. เกษตรทางเลือก
    2. เกษตรผสมผสาน
    3. การแปรรูปผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน

ผลงานทางวิชาการ

    -  หลักการเลี้ยงสัตว์
    -  ไร่นาสวนผสม
    -  อาหารและการให้อาหาร

บทความทางวิชาการ

    -  การเลี้ยงไก่ไข่
    -  การถนอมอาหารสัตว์

งานวิจัย

    -  ผลวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจการเลี้ยงโคนมในจังหวัดนครสวรรค์

6.

รศ.ดร.ธานี เกสทอง

    -  Ph.D. (Development Education)
    -  ศศ.ม.(สิ่งแวดล้อมศึกษา)
    -  กศ.บ.(ชีววิทยา)
    -  ศศ.บ.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. การจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน
    2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา

ผลงานทางวิชาการ

    -  การศึกษาไทย
    -  การประถมศึกษา

งานวิจัย

    -  ค่านิยมเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรป่าไม้ของครู
    -  การประเมินคุณภาพนักเรียน จ.เพชรบูรณ์
    -  การประเมินโครงการศึกษาเพื่อพัฒนา

ประสบการณ์

    -  ศึกษานิเทศก์ สปอ.หล่มเก่า
    -  ศึกษานิเทศก์ สปจ.เพชรบูรณ์
    -  รองคณบดี คณะครุศาสตร์

7.

รศ.วิเชียร เกษประทุม

    -  ค.ม. (การสอนภาษาไทย)
    -  ศศ.บ. (การสอนภาษาไทย)

วิชาที่สอน

    1. ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีกับการพัฒนา
    2. การสื่อสารเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

ผลงานทางวิชาการ

    -  การสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
    -  คติชนวิทยา
    -  ราชาศัพท์
    -  สำนวนไทย
    -  ภาษาไทยที่มักใช้ผิด
    -  นิทานพื้นบ้าน

งานวิจัย

    -  เพลงพื้นบ้านจากพยุหะคีรี
    -  นิทานพื้นบ้านนครสวรรค์

8.

ผศ.จำลอง ลือชา

    -  พบ.ม.(บริหารทรัพยากรมนุษย์)
    -  กศ.บ.(ภูมิศาสตร์) น.บ.

วิชาที่สอน

    1. ทรัพยากรมนุษย์กับคุณภาพชีวิต
    2. การประเมินนโยบายและแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

ผลงานทางวิชาการ

    -  จิตวิทยาการศึกษา
    -  วัยรุ่นกับการศึกษาเป็นรายกรณี

บทความทางวิชาการ

    -  การค้าโสเภณีเด็ก ปัญหาอุปสรรค การก้ปัญหา
    -  ลูกจ้างชั่วคราว รภ.นว.
    -  คุณภาพชีวิตที่พึงแก้ไข

9.

ผศ.วิสาข์ เกษประทุม

    -  ค.ม.(คณิตศาสตร์)
    -  กศ.บ.เกียรตินิยม(คณิตศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น
    2. สถิติเพื่อการวิจัย

ตำราวิชาการ

    -  ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

10.

ผศ.สุชาติ พงษ์พานิช

    -  กศ.ม.(ภาษาและวรรณคดีไทย)
    -  กศ.บ.(ภาษาไทย)

วิชาที่สอน

    1. การสื่อสารเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

ตำราวิชาการ

    -  การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ประสบการณ์

    -  หัวหน้าฝ่ายธุรการ สถาบันราชภัฏนครสวรรค์
    -  รองหัวหน้าสนง.อธิการบดี สถาบันรภ.นว.

11.

ผศ.กันยา จันทรวรชาติ

    -  กศ.ม.(ภูมิศาสตร์)
    -  กศ.บ.(ภูมิศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. มลภาวะและการควบคุมการจัดสิ่งแวดล้อมชุมชน

ตำราวิชาการ

    -  ภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์
    -  เทคนิคการศึกษาภูมิศาสตร์
    -  มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

บทความทางวิชาการ

    -  นครสวรรค์ ภาคเหลือตอนล่างภาคกลางตอนบน

งานวิจัย

    -  ศึกษาภูมินามของหมู่บ้านในจังหวัดนครสวรรค์ กรณีอำเภอไพศาลี
       จ.นครสวรรค์

12.

นายสุทธิพงษ์ ภูเมืองปาน

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ.(อังกฤษ)

วิชาที่สอน

    1. การบริหารงานพัฒนาชุมชน
    2. การพัฒนาประชาสังคม
    3. การวางแผนในงานพัฒนาชุมชน
    4. การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพพัฒนาชุมชน
    5. กระบวนการพัฒนาชุมชน
    6. หลักสังคมวิทยา
    7. การจัดการฝึกอบรมและสัมมนา
    8. การพัฒนาชนบท
    9. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
    10. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน
    11. การพัฒนาตนในงานพัฒนาชุมชน

ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการวางแผนในงานพัฒนาชุมชน
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาตนในงานพัฒนาชุมชน

งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์
    -  ชุมชนรอบบึงบอระเพ็ดกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน
    -  กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครสวรรค์ แนวทาง การอนุรักษ์เผยแพร่ และ
       จัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์

-การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมชุมชนบ้านโคกหม้อ อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี

13.

ผศ.เสาวดี ธนวิภาคะนนท์

    -  ค.ม.(การสอนภาษาไทย)
    -  กศ.บ.(ภาษาไทย)

วิชาที่สอน

    1. การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น
    2. คติชนวิทยา

ผลงานทางวิชาการ

    -  เอกสารวรรณกรรมศึกษา
    -  บทความเรื่องสำนวนไทย

14.

นายสมิง จงกะสิกิจ

    -  วท.ม.(เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม)
    -  กศ.บ.(ภาษาอังกฤษ)

วิชาที่สอน

    1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการวิสาหกิจชุมชน
    2. ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
    3. หลักสหกรณ์ชุมชน

ตำราวิชาการ

    -  การสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

งานวิจัย

    -  การบริหารจัดการสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน กรณีศึกษาในเขตภาคเหนือตอนบน

15.

ดร.สมภพ เจิมขุนทด

    -  Ed.D. (Industrial Educational Management)
    -  ศศ.ม. (วิธีสอนสังคม)
    -  กศ.บ. (ประวัติศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. เศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    2. นโยบาย แผน และการบริหารตามแผนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

ตำราทางวิชาการ

    -  กิจกรรมเสริมหลักสูตร

งานวิจัย

    -  เจตคติของอาจารย์วิทยาลัยครูต่อเทคโนโลยี
    -  พัฒนาชุดการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต

ประสบการณ์

    -  วิทยากรโครงการแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง

16.

นายวิรัตน์ วงค์รอด

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  พธ.บ.(บริหารรัฐกิจ)
    -  บธ.บ.(การจัดการทั่วไป)

วิชาที่สอน

    1. หลักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    2. การปฏิรูปที่ดินกับการพัฒนาชุมชน
    3. การพัฒนาประชาสังคม
    4. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม
    5. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน
    6. การสังคมสงเคราะห์
    7. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    8. เศรษฐศาสตร์ชุมชน
    9. เศรษฐกิจพอเพียง
    10. การปกครองท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน

ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการปฏิรูปที่ดินกับการพัฒนาชุมชน
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักมนุษยวิทยา
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์
    -  ชุมชนรอบบึงบอระเพ็ดกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน
    -  กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครสวรรค์ แนวทาง การอนุรักษ์เผยแพร่ และ
       จัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์
    -  แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน ศึกษากรณี พื้นที่ชุ่มน้ำอำเภอ
       โกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์

ประสบการณ์

    -  ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดชลบุรี

17.

น.ส. พรรณภัทร ใจเอื้อ

    -  สส.ม.(การบริหารนโยบายและสวัสดิการสังคม)
    -  ศศ.บ.(สังคมศึกษา)

วิชาที่สอน

    1. การสังคมสงเคราะห์
    2. การพัฒนาประชาสังคม
    3. การพัฒนาองค์กรชุมชน
    4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน
    5. การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
    6. การบริหารความขัดแย้งในชุมชน
    7. เศรษฐกิจพอเพียง

ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาประชาสังคม
    -  เอกสารประกอบการสอน
    -  วิชาสวัสดิการสังคม

2. งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์
    -  ชุมชนรอบบึงบอระเพ็ดกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน
    -  กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครสวรรค์ แนวทาง การอนุรักษ์เผยแพร่ และ
       จัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์

18

น.ส.อุทัยวรรณ ลิมปชยาพร

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  ศศ.บ.(การบริหารจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว)

วิชาที่สอน

    1. วิถีไทย
    2. ชุมชนศึกษา
    3. การพัฒนาองค์กรชุมชน
    4. เทคนิคการให้การศึกษาแก่ชุมชน
    5. การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
    6. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน
    7. เศรษฐกิจพอเพียง

ตำรา

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาความสามารถของบุคคลและกลุ่ม

งานวิจัย

    -  กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรโดยสารธรรมชาติ
       ทดแทนสารเคมี กรณีเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ต.เขาชนกัน อ.แม่วงก์
       จ.นครสวรรค์
    -  ชุมชนรอบบึงบอระเพ็ดกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน

 

        12.3 อาจารย์พิเศษ

ที่

ชื่อ – สกุล/วุฒิ-วิชาเอก

ความรับผิดชอบวิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย/ประสบการณ์

1.

นายประสิทธิ์ มีช้าง

    -  ร.ม.(การเมืองการปกครอง)
    -  ค.บ.(เกษตรศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน
    2. รัฐธรรมนูญกับสิทธิชุมชน
    3. เทคนิคการให้การศึกษาชุมชน

ประสบการณ์ทำงาน

    -  พัฒนาการอำเภอแม่สอด จ. ตาก
    -  หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายองค์กรปกครองท้องถิ่น กระทรวง
       การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

2.

นายสุจินต์ ดาววีระกุล

    -  สส.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  สส.บ.

วิชาที่สอน

    1. กระบวนการพัฒนาชุมชน
    2. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

ประสบการณ์ทำงาน

    -  กรมพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย
    -  หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการเลือกตั้งสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
       จังหวัดนครสวรรค์

3.

นายรักษ์พล วงษ์ม่วง

    -  พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
    -  ร.บ.(รัฐศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. ภาวะความเป็นผู้นำในงานพัฒนาชุมชน
    2. การฝึกอบรม

ประสบการณ์ทำงาน

    -  กรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย
    -  หัวหน้าฝ่ายฝึกอบรม ศพช.เขต12

4.

นายฉลาด วีรวรรณนาวิน

    -  พบ.ม.(พัฒนาสังคม)
    -  ค.บ.(เกษตรศาสตร์)

วิชาที่สอน

    1. ชุมชนศึกษา
    2. การสัมมนาในงานพัฒนาชุมชน

ประสบการณ์ทำงาน

    -  พัฒนาการอำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์
    -  หัวหน้างานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์

13. แผนการรับนักศึกษา

        แผนการรับนักศึกษา และจำนวนบัณฑิตที่จบการศึกษา ดังนี้

        13.1 แขนงวิชา การพัฒนาชุมชน

ประเภท

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

    -  จำนวนที่รับเข้า

40

40

40

40

40

    -  จำนวนที่จบการศึกษา

-

-

-

-

40

    -  จำนวนนักศึกษาสะสม

40

80

120

160

160

    -  จำนวนที่จบสะสม

-

-

-

-

40

        13.2 แขนงวิชา วิสาหกิจชุมชน

ประเภท

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

    -  จำนวนที่รับเข้า

40

40

40

40

40

    -  จำนวนที่จบการศึกษา

-

-

-

-

40

    -  จำนวนนักศึกษาสะสม

40

80

120

160

160

    -  จำนวนที่จบสะสม

-

-

-

-

40

        13.3 แขนงวิชา สวัสดิการชุมชน

ประเภท

ปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

    -  จำนวนที่รับเข้า

-

40

40

40

40

    -  จำนวนที่จบการศึกษา

-

-

-

-

 

    -  จำนวนนักศึกษาสะสม

-

40

80

120

160

    -  จำนวนที่จบสะสม

-

-

-

-

 

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 อาคารสถานที่

ลำดับ

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่ (ห้อง)

จำนวนรับเพิ่ม

1

อาคารเรียน (คณะ)

7

2

2

ห้องปฏิบัติการชนบทศึกษา

1

1

3

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

1

1

4

ห้องฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1

1

5

ห้องประชุม

1

1

        14.2 อุปกรณ์การสอ

ลำดับ

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่(เครื่อง)

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

1

เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

25

5

2

เครื่องฉายข้ามศีรษะ

40

5

3

เครื่องฉาย Projector

3

1

4

จอภาพ

3

1

5

กล้องถ่ายวีดีโอ

4

1

6

เครื่องขยายเสียง

25

5

7

เครื่องฉายภาพนิ่ง

1

1

8

เครื่องวีดีโอ

19

5

9

เครื่องถ่ายทอดสัญญาณภาพ 3 มิติ

3

1

10

เครื่องฉายสไลด์

10

3

11

เครื่องรับโทรทัศน์

15

5

12

กล้องถ่ายรูป

6

2

13

กล้องถ่ายรูปดิจิตอล

1

1

14

เครื่อง LCD Projector

1

1

15

เครื่องขยายสัญญาณ

4

2

16

เครื่องถ่ายเอกสาร

3

1

17

ไมโครโฟน

4

2

15. ห้องสมุด

        15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ลำดับที่

หนังสือ/ตำรา

จำนวนที่มีอยู่

จำนวนคาดว่าจะเพียงพอ

1

การพัฒนาชุมชน

16 เล่ม

20 เล่ม

2

การพัฒนาชุมชน SO 325

12 เล่ม

15 เล่ม

3

การพัฒนาชุมชน : ชุมชนศึกษาและการวางแผน

8 เล่ม

10 เล่ม

4

การพัฒนาชุมชนหลักการและการปฏิบัติ

1 เล่ม

5 เล่ม

5

การพัฒนาชุมชนเชิงปฏิบัติ

3 เล่ม

5 เล่ม

6

การพัฒนาชุมชนโดยวิธีการศึกษาอบรมนอกระบบโรงเรียน

4 เล่ม

5 เล่ม

7

การพัฒนาชุมชนตามแนวความคิดนักปรัชญาตะวันตก

4 เล่ม

5 เล่ม

8

การพัฒนาชุมชนเปรียบเทียบ : การพัฒนาชุมชนตามอุดมการณ์ประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์

8 เล่ม

10 เล่ม

9

การพัฒนาชุมชนและกลุ่มรวมคำบรรยายพิเศษ

4 เล่ม

5 เล่ม

10

ประชากรศึกษากับโครงการการพัฒนาชนบท

11 เล่ม

15 เล่ม

11

เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

12

การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

13

การพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

14

รากฐานแห่งชีวิตวัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา

2 เล่ม

5 เล่ม

15

บทบาทเมืองขนาดกลางในการพัฒนาภูมิภาค

1 เล่ม

4 เล่ม

16

ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท

7 เล่ม

10 เล่ม

17

ทรัพยากรธรรมชาติกับการพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

18

ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบทไทย

4 เล่ม

5 เล่ม

19

การศึกษากับการพัฒนาชนบทไทย

5 เล่ม

8 เล่ม

20

ตัวชี้วัดสำหรับงานพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

21

การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานสำหรับประเทศไทย

4 เล่ม

5 เล่ม

22

ข้อคิดนักพัฒนา

1 เล่ม

5 เล่ม

23

การศึกษากับการพัฒนาชุมชน

18 เล่ม

22 เล่ม

24

ประสานช่องว่างประสบการณ์การศึกษาร่วมกับของนักพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

25

การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (ทวิลักษณ์) ในการพัฒนาชนบทไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

26

เทคนิคการให้การศึกษาชุมชน

2 เล่ม

5 เล่ม

27

พัฒนา 441 เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

3 เล่ม

5 เล่ม

28

หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

29

การบริหารพัฒนาชนบท

4 เล่ม

5 เล่ม

30

หลักการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชนประยุกต์

5 เล่ม

7 เล่ม

31

การบริหารและการพัฒนาชนบทเปรียบเทียบ

5 เล่ม

8 เล่ม

32

ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญของการพัฒนาชุมชน

3 เล่ม

5 เล่ม

33

หลักการพัฒนาชุมชน

5 เล่ม

10 เล่ม

34

กระบวนการพัฒนาชุมชน

6 เล่ม

10 เล่ม

35

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

1 เล่ม

10 เล่ม

36

กระบวนการพัฒนาชุมชน

3 เล่ม

10 เล่ม

37

การพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

38

รากฐานแห่งชีวิตวัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา

2 เล่ม

5 เล่ม

39

การพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

40

รากฐานแห่งชีวิตวัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา

2 เล่ม

5 เล่ม

41

บทบาทเมืองขนาดกลางในการพัฒนาภูมิภาค

1 เล่ม

2 เล่ม

42

ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท

7 เล่ม

10 เล่ม

43

ทรัพยากรธรรมชาติกับการพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

44

ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบทไทย

4 เล่ม

8 เล่ม

45

การศึกษากับการพัฒนาชนบทไทย

5 เล่ม

8 เล่ม

46

ตัวชี้วัดสำหรับงานพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

47

การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานสำหรับประเทศไทย

4 เล่ม

5 เล่ม

48

ข้อคิดนักพัฒนา

1 เล่ม

5 เล่ม

49

การศึกษากับการพัฒนาชุมชน

19 เล่ม

20 เล่ม

50

ประสานช่องว่างประสบการณ์การศึกษาร่วมกับของนักพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

51

ศักยภาพในการพัฒนาและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบทไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

52

ตามเอกสารภาพและความเข้มแข็งของชุมชนบทไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

53

กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยเครื่องชี้วัดความจำเป็น

1 เล่ม

5 เล่ม

54

กฎหมายกับชุมชน มิติใหม่ของการพัฒนา

4 เล่ม

5 เล่ม

55

เครือข่ายเรียนรู้เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

1 เล่ม

5 เล่ม

56

คู่มือการฝึกอบรมการวางแผนพัฒนาชนบท

11 เล่ม

15 เล่ม

57

คู่มือระบบบริหารการพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

58

เอกสารการสอนรหัสวิชาเทคโนโลยีเบื้องต้นในการพัฒนาชนบท

4 เล่ม

5 เล่ม

59

การพัฒนาบุคคลกลุ่มและเอกชน

7 เล่ม

10 เล่ม

60

ชุมชนเซ่งกี : วิถีชีวิตและกระบวนการพัฒนาสู่การพึ่งพาตนเอง

4 เล่ม

5 เล่ม

61

การพึ่งตนเอง : ศักยภาพในการพัฒนาชุมชน

2 เล่ม

5 เล่ม

62

กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา

14 เล่ม

15 เล่ม

63

ทำอย่างไรถึงจะหายจน

1 เล่ม

5 เล่ม

64

การพัฒนาที่ยั่งยืน

7 เล่ม

5 เล่ม

65

แนวการพัฒนาธุรกิจชุมชน

1 เล่ม

5 เล่ม

66

ธุรกิจชุมชน : ศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่น

1 เล่ม

5 เล่ม

67

หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

3 เล่ม

5 เล่ม

68

หัตถกรรมพื้นบ้านสร้างงาน : สร้างรายได้

2 เล่ม

5 เล่ม

69

ปัญหาวิกฤตด้านชนบทสู่…ทางรอด

2 เล่ม

5 เล่ม

70

พัฒนาชุมชนกับงานพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

71

การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

1 เล่ม

5 เล่ม

72

ประชากรศึกษากับโครงการพัฒนาชนบท

4 เล่ม

5 เล่ม

73

เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

74

การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

75

บทบาทเมืองขนาดกลางในการพัฒนาภูมิภาค : กรณีศึกษา

1 เล่ม

5 เล่ม

76

การศึกษานอกโรงเรียนกับการพัฒนาชนบท

2 เล่ม

5 เล่ม

77

การประชุมทางวิชาการ เรื่อง การพัฒนาชนบทในยุคสารสนเทศ

1 เล่ม

5 เล่ม

78

NGO’ อีสาน

2 เล่ม

5 เล่ม

79

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

80

ชุมชนเข้มแข็ง : บทเรียนภาคปฏิบัติ

1 เล่ม

5 เล่ม

81

ชนบทไทย : การพัฒนาประชาสังคม

3 เล่ม

5 เล่ม

82

หมู่บ้านชนบทไทย จากข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน

1 เล่ม

5 เล่ม

83

แนวคิดทฤษฎีในการพัฒนาอีสานและชนบทไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

84

การบริหารการพัฒนาชนบทเพื่อสร้างความเข้มแข็ง

2 เล่ม

5 เล่ม

85

ราชการชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

86

เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท (ฉบับปรับปรุง)

1 เล่ม

5 เล่ม

87

ปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขของคนไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

88

36 ปีเล่าขานการพัฒนาชนบทไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

89

การจัดการธุรกิจชุมชน

1 เล่ม

5 เล่ม

90

รายงานการประเมินผลโครงการสร้างงานในชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

91

พัฒนาชนบทยั่งยืน : สำหรับสาขา เศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

15 เล่ม

92

รายงานการประเมินโครงการสร้างในชนบท

1 เล่ม

5 เล่ม

93

พัฒนาชนบทแบบยั่งยืน : สำหรับสาขาเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

15 เล่ม

        15.2 ชื่อวารสาร และเอกสารอื่น ๆ

ลำดับที่

ชื่อวารสาร/เอกสารอื่น ๆ

จำนวนที่มีอยู่

จำนวนคาดว่าจะเพียงพอ

1

ทำอะไรจึงจะหายจน

1 เล่ม

3 เล่ม

2

การพัฒนาที่ยั่งยืน

7 เล่ม

10 เล่ม

3

แนวทางการพัฒนาธุรกิจชุมชน

1 เล่ม

8 เล่ม

4

ธุรกิจชุมชน : ศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่น

1 เล่ม

8 เล่ม

5

หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

3 เล่ม

8 เล่ม

6

ธ.ก.ส.

1 เล่ม

7 เล่ม

7

การเงินการธนาคาร

1 เล่ม

5 เล่ม

8

การศึกษาไทย

1 เล่ม

5 เล่ม

9

เกษตร

1 เล่ม

10 เล่ม

10

เทคโนโลยีการเกษตร

1 เล่ม

5 เล่ม

11

เทคโนโลยีชาวบ้าน

1 เล่ม

5 เล่ม

12

เทคโนโลยีชีวปริทรรศน์

1 เล่ม

5 เล่ม

13

ไทยศึกษา

1 เล่ม

5 เล่ม

14

นโยบายพลังงาน

1 เล่ม

4 เล่ม

15

ผู้นำท้องถิ่น

1 เล่ม

4 เล่ม

16

พลังงาน

1 เล่ม

4 เล่ม

17

พัฒนบริหารศาสตร์

1 เล่ม

5 เล่ม

18

เพชรบุรีวิทยาลงกรณ์

1 เล่ม

3 เล่ม

19

แพทย์ทางเลือก

1 เล่ม

3 เล่ม

20

มฉก.วิชาการ

1 เล่ม

4 เล่ม

21

มนุษย์ศาสตร์สาร

1 เล่ม

5 เล่ม

22

มูลนิธิชัยพัฒนา

1 เล่ม

5 เล่ม

23

รัฐประศาสนศาสตร์

1 เล่ม

3 เล่ม

24

รัฐสภาสาร

1 เล่ม

3 เล่ม

25

โลกการค้า

1 เล่ม

3 เล่ม

26

โลกพลังงาน

1 เล่ม

4 เล่ม

27

โลกสีเขียว

1 เล่ม

5 เล่ม

28

วรรณวิทัศน์

1 เล่ม

5 เล่ม

29

วิชาการ

1 เล่ม

5 เล่ม

30

วิทยาจารย์

1 เล่ม

3 เล่ม

31

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1 เล่ม

3 เล่ม

32

ศรีนครินทรวิโรฒ

1 เล่ม

3 เล่ม

33

ศิลปากร

1 เล่ม

3 เล่ม

34

ศึกษาศาสตร์

1 เล่ม

3 เล่ม

35

สงขลานครินทร์

1 เล่ม

3 เล่ม

36

สมุนไพร

1 เล่ม

3 เล่ม

37

สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์

1 เล่ม

3 เล่ม

38

สาธารณสุขศาสตร์

1 เล่ม

3 เล่ม

39

สานปฏิรูป

1 เล่ม

3 เล่ม

40

สารนครศรีธรรมราช

1 เล่ม

3 เล่ม

41

สิ่งแวดล้อม มก.

1 เล่ม

3 เล่ม

42

สุโขทัยธรรมาธิราช

1 เล่ม

3 เล่ม

43

อนามัยสิ่งแวดล้อม

1 เล่ม

3 เล่ม

44

เนชั่นสุดสัปดาห์

1 เล่ม

3 เล่ม

45

มติชนสุดสัปดาห์

1 เล่ม

3 เล่ม

46

สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์

1 เล่ม

3 เล่ม

        15.3 แหล่งวิทยาการแหล่งฝึกงาน

            1) แหล่งวิทยาการ

                - สหกรณ์ออมทรัพย์ชุมชน
                - สถาบันการเงินชุมชน
                - กลุ่มธุรกิจชุมชน
                - สถาบันการเงินของรัฐ
                - สถาบันการเงินเอกชน

            2) แหล่งฝึกงาน

                - สถาบันการเงินของชุมชนในจังหวัดนครสวรรค์
                - สถาบันการเงินของรัฐในจังหวัดนครสวรรค์
                - สำนักงานพัฒนาชุมชน
                - กลุ่ม องค์กรชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ

2549

2550

2551

2552

2553

งบดำเนินการ

    - ค่าตอบแทน 115,200 115,200 115,200 115,200 115,200
    - ค่าใช้สอย 172,800 172,800 172,800 172,800 172,800
    - ค่าวัสดุ 576,000 576,000 576,000 576,000 576,000

รวม

864,000

864,000

864,000

864,000

864,000

งบลงทุน          

    - ค่าครุภัณฑ์

576,000

576,000

576,000

576,000

576,000

รวมงบลงทุน

200,000

200,000

200,000

200,000

200,000

รวมทั้งหมด

1,640,000

1,640,000

1,640,000

1,640,000

1,640,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการพัฒนาชุมชน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

92

 

1. วิชาแกน

36

 

2. วิชาเฉพาะด้าน บังคับ

33

 

3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

15

 

4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

8

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

129

        17.3 รายวิชา และจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ เรียนไม่น้อยกว่า 92 หน่วยกิต

            1. วิชาแกน จำนวน 36 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3(3-0-6)

 
  English for Learning    

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 
  English for Social Science    

2411102

หลักมานุษยวิทยา

3(3-0-6)

 
  Principles of Anthropology    

2421103

ทฤษฎีและยุทธศาสตร์การพัฒนา

3(3-0-6)

 
  Theory and Strategy for Development    

2422204

กระบวนการทำงานพัฒนา

3(3-0-6)

 
  Process of Development Work    

2422206

การจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชน

3(3-0-6)

 
  Community Development Management and Planning    

2422210

คอมพิวเตอร์เพื่องานพัฒนา

3(3-0-6)

 
  Computer for Development Work    

2423221

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 
  Economics for Development    

2431101

หลักสังคมวิทยา

3(3-0-6)

 
  Principles of Sociology    

2433110

ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น

3(3-0-6)

 
Introduction to Social Science Research Methodology

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

Introduction to Business Operation

4302701

สถิติเพื่อการวิจัย

3(3-0-6)

Statistics for Research Methodology

            2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ จำนวน 33 หน่วยกิต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

แขนงวิชาการพัฒนาชุมชน

2422205

เทคนิคและวิธีการพัฒนาชุมชน

3(3-0-6)

Technique and Methodology for Community Development

2422208

ชุมชนศึกษา

3(2-2-5)

Community Study

2423211

แผนแม่บทชุมชนกับการพัฒนา

3(3-0-6)

Community Strategic Planning for Development

2423212

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

3(3-0-6)

Knowledge Management in Development

2423213

การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา

3(3-0-6)

Analysis and Solution of Community Development

2423214

การบริหารงานพัฒนาชุมชน

3(3-0-6)

Community Development Administration

2423220

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

3(3-0-6)

Theory and Principle of Community Development

2423221

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 
  Economics for Development    

2424216

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาชุมชน

3(2-2-5)

 
  Research Methodology for Community Development    

2424217

การสัมมนาปัญหาในงานพัฒนาชุมชน

3(2-2-5)

 
  Seminar on Problems in Community Development    

2424218

เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน

3(2-2-5)

 
  Networks of Learning in Community Development    

แขนงวิชาวิสาหกิจชุมชน

2422301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 
 

Introduction to Small and Micro Community Enterprise

   

2423202

เศรษฐกิจชุมชนกับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

2 (2-0-4)

 
 

Community Economics for Small and Micro Community Enterprise

   

2423212

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

3 (3-0-6)

  Knowledge Management in Development    

2423303

ทฤษฎีและกลยุทธ์วิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 
 

Theory and Strategy of Small and Micro Community Enterprise

   

2423304

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจชุมชน

2 (2-0-4)

 
  Law for Small and Micro Community Enterprise    

2423305

การวางแผนและการจัดการวิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

Planning and Management for Small and Micro Community Enterprise

   

2423306

การบริหารการเงินในองค์กรชุมชน

2 (2-0-4)

  Financing Management in Community Organizing    

2423307

ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 

Management Information System for the Small and Micro Community Enterprise

   

2424307

การบัญชีสำหรับวิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 
  Accounting for Small and Micro Community Enterprise    

2424308

การสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 
  Networks Building for the Development of Small and Micro Community Enterprise    

2424309

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 
 

Small and Micro Community Enterprise Research Methodology

   

2424311

สัมมนาปัญหาการจัดการวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 

Seminar on Problems in Small and Micro Community Enterprise

   
 

แขนงวิชา สวัสดิการชุมชน

   

2422401

ทฤษฎีและหลักการจัดสวัสดิการสังคม

3(3-0-6)

 
 

Social Welfare Preparation for the Poor and the Less Opportunity Persons

   

2422402

การจัดสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส

3(3-0-6)

 
 

Theory and Principle for the Preparation of Social Welfare

 

2423212

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

3(3-0-6)

 
  Knowledge Management in Development    

2423403

สวัสดิการผู้สูงอายุ

3(3-0-6)

 
  Social Welfare for the Elderly    

2423404

กฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิการชุมชน

3(3-0-6)

 
  Laws of Community Welfare    

2423405

การวางแผนงานสวัสดิการชุมชน

3(3-0-6)

 
  Planning Community Welfare    

2423406

เทคนิคและหลักการปฏิบัติงานสวัสดิการชุมชน

3(3-0-6)

 
  Public Policy for Social and Community Welfare    

2423407

ระบบสารสนเทศกับการสวัสดิการชุมชน

3(2-2-5)

 
  Community Welfare for Information System    

2424407

นโยบายสาธารณะกับการจัดสวัสดิการชุมชนและสังคม

3(3-0-6)

 
  Public Policy for Social and Community Welfare    

2424408

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาสวัสดิการชุมชน

3(2-2-5)

 
  Community Welfare Research Methodology    

2424409

สัมมนาปัญหาการจัดการสวัสดิการชุมชน

3(2-2-5)

Seminar on the Problems of Community Welfare Preparation

 

            3. วิชาเฉพาะด้านเลือก ให้เลือกเรียนอย่างน้อย 15 หน่วยกิต

                โดยเลือกเรียนจากรายวิชาเหล่านี้ซึ่งสามารถเลือกรายวิชาได้จากหมวดวิชาต่างๆ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

  1) หมวดสิทธิชุมชน    

2423703

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน

2(2-0-4)

 
  Popular Participation in Community Development    
2423704

การปกครองท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน

3(3-0-6)  
  Local Government and Community Development    
2423705 เศรษฐศาสตร์การเมืองกับการพัฒนา 2(2-0-4)  
  Economics Politic Science and Development    
2424701

รัฐธรรมนูญกับสิทธิชุมชน

2(2-0-4)  
  The Constitution and Community Rights    
2424702 บทบาทชายหญิงในงานพัฒนา 2(2-0-4)  
  Gender Perspectives in Development    
  2) หมวดการจัดการทรัพยากรชุมชน    
2424706 การพัฒนาแบบยั่งยืน 3(3-0-6)  

 

Sustainable Development

 

 

2422713

เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

2 (2-0-4)

 
 

Appropriate Technology for Local Life

   
2422714 การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น 3 (3-0-6)  
  Local Wisdom Management    
2423707 นโยบายและการวางแผนการใช้ที่ดิน 2 (2-0-4)  
  Community Policy and Land use Planning    
2423712 การพัฒนาความสามารถของบุคคลและกลุ่ม 3 (3-0-6)  
  The Development of Group and Individual Competence    
2423715 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน 3 (2-2-5)  
  Natural Resources and Environmental Management in Community    
2424708 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6)  
  Social and Cultural Capital    
2424709 การท่องเที่ยวโดยชุมชน 2(2-0-4)  
  Community Based Tourism    
2424710 การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน 2(2-0-4)  
  Community Tourism Development    
2424711 มัคคุเทศก์ชุมชน 2 (2-0-4)  
  Tour Guide for Community    
  3) หมวดการจัดการชุมชน    
2422733 การพัฒนาตนในงานพัฒนาชุมชน 2 (2-0-4)  
  Self Development in Community Development    
2423211 แผนแม่บทชุมชนกับการพัฒนา 3 (3-0-6)  
  Community Strategic Planning for Development    
2423213 การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา 3 (3-0-6)  
  Analysis and Solution of Community Development    
2423716 การบริหารความขัดแย้งในชุมชน 2 (2-0-4)  
  Conflict Management in Community    
2423717 การจัดการองค์กรธุรกิจชุมชน 2 (2-0-4)  
  Management of Business Organization in Community    
2423718 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในชุมชน 2 (2-0-4)  
  Human Resource Management in community    
2423719 การวางแผนและบริหารธุรกิจชุมชน 2 (2-0-4)  
  Community Planning and Management Business    
2423720 กลุ่มธุรกิจพื้นฐานกับการจัดการชุมชน 2 (2-0-4)  
  Basic Social - Economic Units and Community Development    
2424721 เทคนิคการให้การศึกษาชุมชน 2 (2-0-4)  
  Educational Transferring Techniques    
2424722 การพัฒนาองค์กรชุมชน 3 (3-0-6)  
  Organization Community Development    
2424723 ปัญหาสังคมกับการพัฒนาชุมชน 3 (2-2-5)  
  Social Problems in Community Development    
2424724 การพัฒนาชุมชนเปรียบเทียบ 3 (3-0-6)  
  Comparative Study in Community Development    
2424725 เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง 3 (3-0-6)  
  Self - Reliance Community Economics    
  4) หมวดสวัสดิการชุมชน    
2422402 การจัดสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส 2 (2-0-4)  
  Social Welfare for Disadvantaged Groups and Poor    
2422732 สวัสดิการชุมชน 3 (3-0-6)  
  Community Welfare    
2423726 การสังคมสงเคราะห์ชุมชน 2 (2-0-4)  
  Social Work Community    
2423729 การสังคมสงเคราะห์ 3 (3-0-6)  
  Social Work    
2423731 การสังคมสงเคราะห์กลุ่ม 3 (3-0-6)  
  Social Work Groups    
2424727 สวัสดิการชุมชนพึ่งตนเอง 3(3-0-6)  
  Community Welfare for Self – Reliance    
2424728 กฎหมายกับการจัดสวัสดิการชุมชน 2 (2-0-4)  
  Laws and Community Welfare    
2424730 การบริหารงานสวัสดิการชุมชน 2 (2-0-4)  
  Community Welfare Administration    

            4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 8 หน่วยกิต

Preparation for Professional Experience in Community Development 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2423215

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3 (135)

2424819

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ Professional Experience in Community Development

5 (450)

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

                ให้เลือกเรียนวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรหัสวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรหัสวิชาที่กำหนดให้เรียน โดยไม่นับรวมหน่วยกิตในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชา

        17.4 แผนการศึกษา

                1. แขนงวิชา การพัฒนาชุมชน

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

4000102

2000101

2431101

2411102

2400101

4000104

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ทั่วไป

วิถีไทย

หลักสังคมวิทยา

หลักมานุษยวิทยา

การใช้สารสนเทศ

สุขภาพเพื่อชีวิต

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

2210101

4000101

2421103

2310102

2000102

4000103

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

ทฤษฎีและยุทธศาสตร์การพัฒนา

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

วิถีโลก

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(2-0-4)

3(2-2-5)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

บังคับ

บังคับบังคับ

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000105

2000106

2000107

3201101

2500104

2422204

2422210

xxxxxxx

ชีวิตกับดนตรี หรือ

ชีวิตกับศิลปะ หรือ

ชีวิตกับนาฏการ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการทำงานพัฒนา

คอมพิวเตอร์เพื่องานพัฒนา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

2(2-0-4)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

เลือก 1 วิชา

 

แกน

บังคับ

แกน

แกน

 

รวมหน่วยกิต

16

 

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2422205

2422206

4302701

2422208

xxxxxxx

xxxxxxx

เทคนิคและวิธีการพัฒนาชุมชน

การจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชน

สถิติเพื่อการวิจัย

ชุมชนศึกษา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

 

 

รวมหน่วยกิต

18

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2433110

2423221

2423220

2000104

2423211

xxxxxxx

xxxxxxx

ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

บัณฑิตในอุดมคติไทย

แผนแม่บทชุมชนกับการพัฒนา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

แกน

แกน

บังคับ

บังคับ

บังคับ

 

 

รวมหน่วยกิต

20

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2423212

2423213

2423221

2423214

2312701

2423215

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา

สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

การบริหารงานพัฒนาชุมชน

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(135)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

 

 

รวมหน่วยกิต

18

 

ปีที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2424216

2313702

2424217

2424218

xxxxxxx

xxxxxxx

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาชุมชน

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

การสัมมนาปัญหาในงานพัฒนาชุมชน

เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

บังคับ

แกน

บังคับ

บังคับ

 

 

รวมหน่วยกิต

18

 

ปีที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2424819

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5 (450)

 
 

รวมหน่วยกิต

5

 

                2. แขนงวิชา วิสาหกิจชุมชน

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

4000102

2000101

2431101

2411102

2400101

4000104

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ทั่วไป

วิถีไทย

หลักสังคมวิทยา

หลักมานุษยวิทยา

การใช้สารสนเทศ

สุขภาพเพื่อชีวิต

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

2210101

4000101

2421103

2310102

2000102

4000103

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

ทฤษฎีและยุทธศาสตร์การพัฒนา

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

วิถีโลก

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(2-0-4)

3(2-2-5)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

บังคับ

บังคับบังคับ

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000105

2000106

2000107

3201101

2500104

2422204

2422210

xxxxxxx

ชีวิตกับดนตรี หรือ

ชีวิตกับศิลปะ หรือ

ชีวิตกับนาฏการ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการทำงานพัฒนา

คอมพิวเตอร์เพื่องานพัฒนา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

2(2-0-4)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

บังคับ

แกน

บังคับ

แกน

แกน

 

รวมหน่วยกิต

16

 

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2422301

2422206

4302701

2423202

xxxxxxx

xxxxxxx

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน

การจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชน

สถิติเพื่อการวิจัย

เศรษฐกิจชุมชนกับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

 

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2423303

2433110

2423304

2423221

2312701

2000104

xxxxxxx

ทฤษฎีและกลยุทธ์วิสาหกิจชุมชน

ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจชุมชน

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

บัณฑิตในอุดมคติไทย

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

แกน

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

18

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2423212

2423305

2423307

2423306

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

2423215

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

การวางแผนและการจัดการวิสาหกิจชุมชน

ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

การบริหารการเงินในองค์กรชุมชน

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3(3-0-6)

2(2-0-4)

3(2-2-5)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(135)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

19

 

ปีที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2424307

2424308

2424309

2313702

2424311

xxxxxxx

xxxxxxx

การบัญชีสำหรับวิสาหกิจชุมชน

การสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

สัมมนาปัญหาการจัดการวิสาหกิจชุมชน

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

20

 

ปีที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2424819

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5 (450)

 
 

รวมหน่วยกิต

5

 

                3. แขนงวิชา สวัสดิการชุมชน

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

4000102

2000101

2431101

2411102

2400101

4000104

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ทั่วไป

วิถีไทย

หลักสังคมวิทยา

หลักมานุษยวิทยา

การใช้สารสนเทศ

สุขภาพเพื่อชีวิต

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 1 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

2210101

4000101

2421103

2310102

2000102

4000103

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

ทฤษฎีและยุทธศาสตร์การพัฒนา

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

วิถีโลก

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(2-0-4)

3(2-2-5)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

แกน

บังคับ

บังคับบังคับ

รวมหน่วยกิต

17

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000105

2000106

2000107

2500104

3201101

2422204

2422210

xxxxxxx

ชีวิตกับดนตรี หรือ

ชีวิตกับศิลปะ หรือ

ชีวิตกับนาฏการ

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

กระบวนการทำงานพัฒนา

คอมพิวเตอร์เพื่องานพัฒนา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

บังคับ

บังคับ

แกน

แกน

แกน

รวมหน่วยกิต

16

ปีที่ 2 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2422401

2422206

4302701

2422402

xxxxxxx

xxxxxxx

ทฤษฎีและหลักการจัดสวัสดิการสังคม

การจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชน

สถิติเพื่อการวิจัย

การจัดสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

 

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2423403

2433110

2423404

2423221

2312701

2000104

xxxxxxx

xxxxxxx

สวัสดิการผู้สูงอายุ

ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น

กฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิการชุมชน

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

บัณฑิตในอุดมคติไทย

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

บังคับ

แกน

บังคับ

แกน

แกน

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

21

 

ปีที่ 3 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2423212

2423405

2423407

2423406

xxxxxxx

xxxxxxx

2423215

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

การวางแผนงานสวัสดิการชุมชน

ระบบสารสนเทศกับการสวัสดิการชุมชน

เทคนิคและหลักการปฏิบัติงานสวัสดิการชุมชน

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(135)

บังคับ

บังคับ

บังคับ

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

19

 

ปีที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 1)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2424407

2424408

2313702

2424409

xxxxxxx

xxxxxxx

นโยบายสาธารณะกับการจัดสวัสดิการชุมชนและสังคม

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาสวัสดิการชุมชน

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

สัมมนาปัญหาการจัดการสวัสดิการชุมชน

วิชาเลือกเอก 1 ชุดวิชา

วิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

บังคับ

บังคับ

แกน

บังคับ

 

รวมหน่วยกิต

17

 

ปีที่ 4 (ภาคการศึกษาที่ 2)

รหัสวิชา

ชื่อรหัสวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2424819

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

 
 

รวมหน่วยกิต

5

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Social Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2411102

หลักมานุษยวิทยา

3 (3-0-6)

 

Principles of Anthropology

 

        ศึกษาขอบข่ายประวัติความเป็นมา แนวคิดของนักมานุษยวิทยาความสำคัญของมานุษยวิทยาในฐานะเป็นศาสตร์ทางมานุษยวิทยา และหลักการของมานุษยวิทยา ได้แก่ วิวัฒนาการของมนุษย์ ความเชื่อ ประเพณี เป็นต้น

รายวิชา 2421103

ทฤษฎีและยุทธศาสตร์การพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Theory and Strategy for Development

 

        ศึกษาทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวกับการพัฒนา โครงสร้างและลักษณะชุมชน ความหมาย ปรัชญา แนวคิด หลักการและเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การนำทฤษฎีสังคมศาสตร์ ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน โดยมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง

รายวิชา 2422204

กระบวนการทำงานพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Process of Development Work

 

        ศึกษาความหมาย ขั้นตอนของการพัฒนา วิเคราะห์กระบวนการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน การนำกระบวนการพัฒนาเข้าไปประยุกต์ในชุมชน ตลอดจนสามารถวิเคราะห์กระบวนการพัฒนาที่ดำเนินการในปัจจุบัน

รายวิชา 2422206

การจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Development Management and Planning

 

        ศึกษาความหมาย รูปแบบ หลักการ การจัดการและการวางแผนในการพัฒนาชุมชน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชนของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ปัญหาอุปสรรคของการวางแผนพัฒนาชุมชน

รายวิชา 2422210

คอมพิวเตอร์เพื่องานพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Computer for Development Work

 

        ศึกษาระบบพื้นฐานและการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งาน

รายวิชา 2423221

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Economics for Development

 

        หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ลักษณะพื้นฐาน โครงสร้าง และปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา การพัฒนาเกษตรกรรมและการพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ประชากร การศึกษา และสุขภาพอนามัย การออม การลงทุน การค้า และหนี้ต่างประเทศ ปัญหาและทางเลือกของการพัฒนาเศรษฐกิจ

รายวิชา 2312701

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้

3 (3-0-6)

 

English for Learning

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 2431101

หลักสังคมวิทยา

3 (3-0-6)

 

Principles of Sociology

 

        ศึกษาขอบข่ายประวัติความเป็นมา แนวคิด ของนักสังคมวิทยา ความสำคัญของสังคมวิทยาในฐานะเป็นศาสตร์ทางสังคม และหลักการของสังคมวิทยา ได้แก่ การจัดระเบียบสังคม การจัดช่วงชั้นทางสังคม กลุ่มสังคม สถาบันสังคม วัฒนธรรม การขัดเกลาทางสังคม เป็นต้น

รายวิชา 2433110

ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Introduction to Social Science Research Methodology

 

        ศึกษาเกี่ยวกับจุดประสงค์และความหมายของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ วิธีการต่าง ๆ ใน การวิจัย การดำเนินการวิจัย การใช้สถิติ แหล่งข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การเขียนราย งาน การอ่านผลการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การนำวิธีการและผลการวิจัยไปใช้ใน การปฏิบัติงาน ฝึกปฏิบัติการดำเนินงานวิจัยภาคสนามทุกขั้นตอน

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 4302701

สถิติเพื่อการวิจัย

3 (3-0-6)

 

Statistics for Research Methodology

 

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของสถิติเพื่อการวิจัย ประเภทของสถิติ วิธีการแนวสถิติ สถิติพรรณนา สถิติวิเคราะห์เบื้องต้น กระบวนการและเทคนิคการใช้สถิติในงานวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

 

            3. คำอธิบายวิชาวิชาเฉพาะด้านบังคับ 36 หน่วยกิต

                    3.1 แขนงวิชา การพัฒนาชุมชน

รายวิชา 2422205

เทคนิคและวิธีการพัฒนาชุมชน

3 (3-0-6)

 

Technique and Methodology for Community Development

 

        ศึกษาแนวทาง ปรัชญา หลักการและเทคนิคต่างๆ ในการทำงานพัฒนาชุมชน ได้แก่ การจัดเวทีประชาคม การพูดในที่ชุมชน การประสานงานพัฒนาชุมชน เป็นต้น การศึกษาดูงานการพัฒนาในที่ต่างๆ และการเลือกใช้เทคนิคที่เหมาะสมในการพัฒนาชุมชน

รายวิชา 2422208

ชุมชนศึกษา

3 (2-2-5)

 

Community Study

 

        ศึกษาความหมาย ความจำเป็น ประโยชน์ ประเภท วิธีการศึกษาชุมชน ศึกษาชุมชนในเรื่องของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ โครงสร้างของชุมชน ตลอดจนศักยภาพของชุมชนในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ฝึกปฏิบัติศึกษาชุมชนตามเนื้อหาดังกล่าวข้างต้น

รายวิชา 2423211

แผนแม่บทชุมชนกับการพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Community Strategic Planning for Development

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมายการทำแผนแม่บทชุมชนพึ่งตนเอง เป้าหมายของการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง หน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง ขั้นตอนการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง กระบวนการจัดเก็บข้อมูลแผนชุมชนพึ่งตนเอง แหล่งงบประมาณสนับสนุนการจัดทำแผนชุมชน การส่งต่อต่อแผนชุมชนต่อหน่วยงาน/องค์กร การฝึกปฏิบัติการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง

รายวิชา 2423212

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Knowledge Management in Development

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย การจัดการความรู้ เป้าหมายของการจัดการความรู้ หลักการของการจัดการความรู้ แนวคิดวิธีการดำเนินการจัดการความรู้ การสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการจัดการความรู้ การสร้างทีมจัดการความรู้ขององค์กร การฝึกปฏิบัติการจัดการความรู้ร่วมกับชุมชน

รายวิชา 2423213

การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Analysis and Solution of Community Development

 

        ศึกษาหลักการ วิธีการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน การวิเคราะห์จากเอกสารและการวิเคราะห์ภาคสนาม การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชน ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ วิธีการแก้ไขปัญหาในชุมชน

รายวิชา 2423214

การบริหารงานพัฒนาชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Development Administration

 

        ศึกษาแนวคิดและหลักการบริหาร การบริหารการพัฒนา การะประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทขององค์กรในชุมชนในการบริหารงาน

รายวิชา 2423220

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

3 (3-0-6)

 

Theory and Principle of Community Development

 

        ศึกษาโครงสร้างและลักษณะของชุมชน ความหมาย ปรัชญา หลักการและเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การนำทฤษฎีสังคมศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน โดยมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมืองเป็นหลัก

รายวิชา 242322 2

สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

3 (2-2-5)

 

Information for Community Development

 

        ศึกษาแหล่ง ระเบียบวิธีการรวบรวมข้อมูลด้านการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ข้อมูลทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร กลุ่ม ด้วยวิธีการต่าง ๆ หรือใช้คอมพิวเตอร์ เทคนิคการประยุกต์ไปใช้ การจัดเก็บข้อมูลชุมชนต่าง ๆ อย่างมีระบบ

รายวิชา 2424216

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาชุมชน

3 (2-2-5)

 

Research Methodology for Community Development

 

        ศึกษาวิธีการต่าง ๆ ในการค้นคว้าหาความรู้ แนวคิด และระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ประยุกต์ใช้กับงานเพื่อการพัฒนาชุมชน ตลอดจนศึกษาสถิติเบื้องต้น ที่จะเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยทางสังคมศาสตร์ การฝึกหัดทำวิจัย ครอบคลุมตั้งแต่การกำหนดปัญหา แนวคิดและสมมติฐาน การกำหนดประชากร การรวบรวมข้อมูลในภาคสนามเพื่อการจัดการชุมชนที่เหมาะสม และการวิเคราะห์ข้อมูล กระบวนการนำเสนอผลการวิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชน

รายวิชา 2424217

การสัมมนาปัญหาในงานพัฒนาชุมชน

3 (2-2-5)

 

Seminar on Problems in Community Development

 

        สัมมนาปัญหาการพัฒนาชุมชนในเชิงทฤษฎี หลักการและการปฏิบัติงานพัฒนาประเทศไทย เปรียบเทียบเชิงวิเคราะห์ความแตกต่างกันไป ศึกษาหมู่บ้านตัวอย่าง เพื่อการแสวงหาแนวทางในการนำวิธีพัฒนาชุมชนไปใช้กับชุมชนให้ได้ผล

รายวิชา 2424218

เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน

3 (2-2-5)

 

Networks of Learning in Community Development

 

        ศึกษาความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ วิธีการ การปลูกฝัง การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชน

 

                    3.2 แขนงวิชาวิสาหกิจชุมชน

รายวิชา 2422301

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Introduction to Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย หลักการ และองค์ประกอบของวิสาหกิจชุมชน ความสำคัญและรูปแบบของวิสาหกิจชุมชน วิวัฒนาการของวิสาหกิจชุมชน และงานวิสาหกิจชุมชนในประเทศไทย

รายวิชา 2423202

เศรษฐกิจชุมชนกับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Economics for Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาแนวการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงตามฐานเศรษฐกิจท้องถิ่น และนโยบายภาครัฐ วิเคราะห์ปัจจัยหลักของเศรษฐกิจท้องถิ่น ได้แก่ แรงงานและอาชีพในชุมชน การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเน้นเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรกรรมทฤษฎีใหม่กับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

รายวิชา 24232122

การจัดการความรู้ในงานพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Knowledge Management in Development

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย การจัดการความรู้ เป้าหมายของการจัดการความรู้ หลักการของการจัดการความรู้ แนวคิดวิธีการดำเนินการจัดการความรู้ การสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการจัดการความรู้ การสร้างทีมจัดการความรู้ขององค์กร การฝึกปฏิบัติการจัดการความรู้ร่วมกับชุมชน

รายวิชา 24233033

ทฤษฎีและกลยุทธ์วิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Theory and Strategy of Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนา แนวคิด หลักการ กระบวนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน โดยการนำเอาทฤษฎี แนวคิดทางสังคมศาสตร์ไปปรับใช้ในการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

รายวิชา 2423304

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจชุมชน

2 (2-0-4)

 

Law for Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาเกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดการวิสาหกิจชุมชน กระบวนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนแบบมีส่วนร่วม ความสอดคล้องเกี่ยวข้อง

รายวิชา 2423305

การวางแผนและการจัดการวิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Planning and Management for Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษากระบวนการและกลวิธีในการวางแผนวิสาหกิจชุมชน การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนวิสาหกิจชุมชน การคาดคะเนความต้องการเพื่อรองรับความเจริญเติบโตของวิสาหกิจชุมชนในอนาคต หลักสำคัญของการเขียนโครงการเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน กระบวนการและขั้นตอนการจัดทำโครงการวิสาหกิจชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

รายวิชา 24233066

การบริหารการเงินในองค์กรชุมชน

2 (2-0-4)

 

Financing Management in Community Organizing

 

        ศึกษากฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเงิน การคลังของหน่วยงานระดับท้องถิ่น องค์กรชุมชน ศึกษาถึงการบริหารการเงินขององค์กรที่ประสบความสำเร็จ ในส่วนของขั้นตอน การควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ การตรวจสอบการใช้งบประมาณ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดทำรายงานการเงิน การทำงายงานการเงิน งบประมาณประจำปี เงินนอกงบประมาณ

รายวิชา 2423307

ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 

Management Information System for the Small and Micro Community Enterprise

        ศึกษาแหล่งและระเบียบวิธีการรวบรวมข้อมูลทางด้านการจัดการวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ ข้อมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร ด้วยวิธีการต่างๆ ทางคอมพิวเตอร์ เทคนิคการประยุกต์ไปใช้ การจัดเก็บข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชนอย่างเป็นระบบ

รายวิชา 24243077

การบัญชีสำหรับวิสาหกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Accounting for Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาหลักและวิธีการทางบัญชีทั่วไป ความแตกต่างระหว่างพนักงานบัญชี ผู้ทำบัญชี เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี และการบัญชีที่เหมาะสมกับการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน

รายวิชา 2424308

การสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 

Networks Building for the Development of Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญ องค์ประกอบ ลักษณะและกระบวนการในการสร้างเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในท้องถิ่น และการสร้างการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนที่ยั่งยืน

รายวิชา 24243099

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 

Small and Micro Community Enterprise Research Methodology

 

        ศึกษาวิธีการต่าง ๆ ในการค้นคว้าหาความรู้ แนวคิด และระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ประยุกต์ใช้กับงานเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนศึกษาสถิติเบื้องต้น ที่จะเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยทางสังคมศาสตร์ การฝึกหัดทำวิจัย ครอบคลุมตั้งแต่การกำหนดปัญหา แนวคิดและสมมติฐาน การกำหนดประชากร การรวบรวมข้อมูลในภาคสนามเพื่อการจัดการวิสาหกิจชุมชนที่เหมาะสม และการวิเคราะห์ข้อมูล กระบวนการนำเสนอผลการวิจัยเพื่อการการวิสาหกิจชุมชน

รายวิชา 24243111

สัมมนาปัญหาการจัดการวิสาหกิจชุมชน

3 (2-2-5)

 

Seminar on Problems in Small and Micro Community Enterprise

 

        ศึกษาค้นคว้าเอกสารทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการวิสาหกิจชุมชนทั้งในระดับพื้นที่ ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการวิสาหกิจชุมชน มีการวิเคราะห์เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวิชาสูงขึ้นโดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์

 

                    3.3 แขนงวิชา สวัสดิการชุมชน

รายวิชา 24224011

ทฤษฎีและหลักการจัดสวัสดิการสังคม

3 (3-0-6)

 

Social Welfare Preparation for the Poor and the Less Opportunity Persons

 

        ศึกษา ทฤษฏีเกี่ยวกับการพัฒนา แนวคิด โดยการนำเอาทฤษฎี แนวคิดทางสังคมศาสตร์ไปปรับใช้ในการพัฒนาสวัสดิการชุมชน

รายวิชา 24224022

การจัดสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส

3 (3-0-6)

 

Theory and Principle for the Preparation of Social Welfare

 

        ศึกษานิยาม ความหมาย แนวคิดและ ทฤษฎีว่าด้วยการจัดสวัสดิการ แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมในประเทศไทย แนวคิด ความหมาย และทฤษฎีความยากจนแนวความคิดเรื่องคนจนในสังคมไทย กลุ่มคนจนและสาเหตุความยากจน เหตุและผลที่คนจนควรได้รับลักการ กระบวนการพัฒนาสวัสดิการชุมชนสวัสดิการ

รายวิชา 24234033

สวัสดิการผู้สูงอายุ

3 (3-0-6)

 

Social Welfare for the Elderly

 

        ศึกษาการเปลี่ยนแปลงวัยผู้สูงอายุ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมต่อผู้สูงอายุ ปัญหาผู้สูงอายุ ระบบสวัสดิการและการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุ ในระดับครอบครัว ชุมชน และสังคม รวมทั้งวิธีการและเทคนิคการทำงานกับผู้สูงอายุ

รายวิชา 24234044

กฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิการชุมชน

3 (3-0-6)

 

Laws of Community Welfare

 

        ศึกษารัฐธรรมนูญไทย ปัจจุบัน กฎหมาย พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 ศึกษาแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม องค์กรสาธารณประโยชน์ ในการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม

รายวิชา 24234055

การวางแผนงานสวัสดิการชุมชน

3 (3-0-6)

 

Planning Community Welfare

 

        ศึกษากระบวนการและกลวิธีในการวางแผนสวัสดิการชุมชน การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนสวัสดิการชุมชน การคาดคะเนความต้องการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ สังคม ของสวัสดิการชุมชนในอนาคต หลักสำคัญของการเขียนโครงการเพื่อการพัฒนาสวัสดิการชุมชน กระบวนการขั้นตอนการจัดทำโครงการสวัสดิการชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

รายวิชา 24234066

เทคนิคและหลักการปฏิบัติงานสวัสดิการชุมชน

3 (2-2-5)

 

Technique and Methodology for Community Welfare

 

        ศึกษาหลักการ วิธีการ กระบวนการ และกลวิธีการปฏิบัติงานสวัสดิการในระดับชุมชน เทคนิคการใช้ชุมชนเป็นฐานในการช่วยเหลือชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชน การทำงานกลุ่มประชาชน และสหวิชาชีพ การจัดบริการสังคมเพื่อชุมชน การแสวงหาและใช้ทรัพยากร การจัดโครงการการติดตามและประเมินผลโครงการ บทบาทของนักสวัสดิการชุมชน/นักพัฒนาในการทำงานช่วยเหลือชุมชน

รายวิชา 2423407

ระบบสารสนเทศกับการสวัสดิการชุมชน

3 (2-2-5)

 

Community Welfare for Information System

 

        ศึกษาแหล่งและระเบียบวิธีการรวบรวมข้อมูลทางด้านสวัสดิการชุมชน ได้แก่ ข้อมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร ด้วยวิธีการต่างๆ ทางคอมพิวเตอร์ เทคนิคการประยุกต์ไปใช้ การจัดเก็บข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับสวัสดิการชุมชนอย่างเป็นระบบ

รายวิชา 2424407

นโยบายสาธารณะกับการจัดสวัสดิการชุมชนและสังคม

3 (3-0-6)

 

Public Policy for Social and Community Welfare

 

        ศึกษานโยบายสาธารณะ นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม ความสำคัญของนโยบายกับระบบสวัสดิการสังคม ความหมายของคำว่านโยบาย นโยบายสาธารณะเป็นสาขาวิชาและกระบวนการ ขอบเขตของนโยบายสังคมเหมือนกับนโยบายสวัสดิการสังคมหรือไม่ ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายสาธารณะ นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม นโยบายกับระบบสวัสดิการสังคม ประเภทของนโยบายสวัสดิการสังคม ขอบเขตและจุดมุ่งหมาย รูปธรรมของนโยบายสวัสดิการสังคม ประโยชน์ของนโยบายสวัสดิการสังคมต่อการปฏิบัติงานสังคมของรัฐและสังคมสงเคราะห์

รายวิชา 24244088

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาสวัสดิการชุมชน

3 (2-2-5)

 

Community Welfare Research Methodology

 

        ศึกษาวิธีการต่าง ๆ ในการค้นคว้าหาความรู้ แนวคิด และระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ประยุกต์ใช้กับงานเพื่อการพัฒนาสวัสดิการชุมชน ตลอดจนศึกษาสถิติเบื้องต้น ที่จะเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยทางสังคมศาสตร์ การฝึกหัดทำวิจัย ครอบคลุมตั้งแต่การกำหนดปัญหา แนวคิดและสมมติฐาน การกำหนดประชากร การรวบรวมข้อมูลในภาคสนามเพื่อการจัดการสวัสดิการชุมชนที่เหมาะสม และการวิเคราะห์ข้อมูล กระบวนการนำเสนอผลการวิจัยเพื่อการจัดสวัสดิการชุมชน

รายวิชา 24244099

สัมมนาปัญหาการจัดการสวัสดิการชุมชน

3 (2-2-5)

 

Seminar on the Problems of Community Welfare Preparation

 

        ศึกษาค้นคว้าเอกสารทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการจัดสวัสดิการชุมชนทั้งในระดับพื้นที่ ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสวัสดิการชุมชน มีการวิเคราะห์เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวิชาสูงขึ้น โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์

 

             4. วิชาเฉพาะด้านเลือก 9 หน่วยกิต

                    ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

                    4.1 หมวดสิทธิชุมชน

รายวิชา 2423703

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน

2 (2-0-4)

 

Popular Participation in Community Development

 

        ศึกษาแนวคิด หลักการ และความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งในระดับบุคคล กลุ่ม และชุมชน ในฐานะสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน กระบวนการ และวิธีการกระตุ้นปลุกจิตสำนึก ตลอดจนการสร้างโอกาสในการมีส่วนร่วม รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนโดยวิธีไม่มีความรุนแรง

รายวิชา 24237044

การปกครองท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน

3 (3-0-6)

 

Local Government and Community Development

 

        ศึกษาการเมืองการปกครองที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาสังคมไทย ระบบราชการและบทบาทการพัฒนาชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย ศึกษาความรู้เกี่ยวกับระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารส่วนท้องถิ่น การเก็บภาษีและจัดเก็บรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาชุมชน

รายวิชา 24237055

เศรษฐศาสตร์การเมืองกับการพัฒนา

2 (2-0-4)

 

Economics Politic Science and Development

 

        ศึกษาแนวคิด หลักการ รูปแบบการพัฒนาตามแนวการศึกษาแบบเศรษฐศาสตร์การเมืองทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง

รายวิชา 24247011

รัฐธรรมนูญกับสิทธิชุมชน

2 (2-0-4)

 

The Constitution and Community Rights

 

        ศึกษาแนวคิดพื้นฐาน ความหมาย หลักการ และความสำคัญของสิทธิมนุษยชน เข้าใจถึงสิทธิบุคคล สิทธิชุมชน และพัฒนาการสิทธิมนุษยชนตามหลักสากล และตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รายวิชา 24247022

บทบาทชายหญิงในงานพัฒนา

2 (2-0-4)

 

Gender Perspectives in Development

 

        วิเคราะห์วิวัฒนาการของบทบาทหญิงชาย ในสถาบันทางสังคม ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการกำหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของหญิงชาย การรับบทบาทให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ ทั้งนี้ โดยเน้นบทบาทหญิงชายในการพัฒนาเป็นหลัก

รายวิชา 2424706

การพัฒนาแบบยั่งยืน

3 (3-0-6)

 

Sustainable Development

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย หลักการของการพัฒนาแบบยั่งยืน ศึกษาการมีส่วนร่วมขององค์กรต่าง ๆ ที่มีต่อชุมชน เพื่อเป็นแนวทางและวิธีการปฏิบัติเพื่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง ในชุมชนตามวิถีไทย เน้นศึกษาโครงการพระราชดำริ อุดมการณ์แผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง

 

                    4.2 หมวดการจัดการทรัพยากรชุมชน

รายวิชา 2422713

เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่น

2 (2-0-4)

 

Appropriate Technology for Local Life

 

        ศึกษาความหมายของเทคโนโลยี อิทธิพลของเทคโนโลยีต่อการดำรงชีวิต การเลือกใช้เทคโนโลยี การจัดการปรับปรุงเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับท้องถิ่น การนำพลังงานทดแทนมาใช้ในท้องถิ่นเพื่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ

รายวิชา 2422714

การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น

3 (3-0-6)

 

Local Wisdom Management

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย หลักการ ความสำคัญของการจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น วิวัฒนาการของการจัดการและกระบวนการเรียนรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนและสังคม กระบวนการจัดการและถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น

รายวิชา 2423707

นโยบายและการวางแผนการใช้ที่ดิน

2 (2-0-4)

 

Community Policy and Land use Planning

 

        ศึกษาประวัติความเป็นมา รูปแบบ ปรัชญา แนวคิด ปัญหาเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน กฎระเบียบเกี่ยวกับที่ดิน และสร้างวิสัยทัศน์ในการวางผังชุมชนที่นำมาเป็นเกณฑ์ในการวางแผนปรับปรุงเขตชุมชนเก่า การเลือกสถานที่สร้างชุมชนใหม่ การกำหนดเขตที่อยู่อาศัย เขตอุตสาหกรรม การวางผังถนน การจราจรและสาธารณูปโภคที่จำเป็น การจัดสิ่งแวดล้อมในชุมชน

รายวิชา 24237122

การพัฒนาความสามารถของบุคคลและกลุ่ม

3 (3-0-6)

 

The Development of Group and Individual Competence

 

        ศึกษาหลักการ วิธีการพัฒนาบุคคล และกลุ่ม อุดมการณ์ คุณธรรม สำหรับนักพัฒนา วิธีการให้สมาชิกในชุมชนเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาชุมชน กระบวนการและเทคนิคของการรวมกลุ่ม การพัฒนากลุ่ม การปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเพื่อการพัฒนาชุมชน

รายวิชา 2423715

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน

3 (2-2-5)

 

Natural Resources and Environmental Management in Community

 

        ความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ วิธีการการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน การปลูกฝังการสร้างจิตสำนึกให้กับชุมชนในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน การจัดทำแผนการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่น

รายวิชา 24247088

ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม

3 (3-0-6)

 

Social and Cultural Capital

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย ของทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ในทัศนะนักวิชาการ นักคิดต่างประเทศ และประเทศไทย การสร้างการเรียนรู้ในการพัฒนาทุนทางสังคมในระดับรากหญ้า ระดับชุมชน และระดับประเทศ การจัดการทุนทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

รายวิชา 24247099

การท่องเที่ยวโดยชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Based Tourism

 

        ศึกษาแนวคิด หลักการ องค์ประกอบ และรูปแบบการท่องเที่ยว และการท่องเที่ยว โดยชุมชน การบูรณาการการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ การสร้างการมีส่วนร่วม และการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวที่ชุมชนเป็นฐาน โดยการใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในงานพัฒนา

รายวิชา 24247100

การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Tourism Development

 

        การท่องเที่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ฐานการพัฒนาการท่องเที่ยวในชุมชนและท้องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และวัฒนธรรม การจัดการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ การจัดการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาในชุมชน การตลาด และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดการท่องเที่ยวในชุมชนและท้องถิ่นภายในประเทศ

รายวิชา 24247111

มัคคุเทศก์ชุมชน

2 (2-0-4)

 

Tour Guide for Community

 

        การเพิ่มทัศนคติที่ดีแก่มัคคุเทศก์ การเพิ่มความรู้ จริยธรรม และการต้อนรับในบทบาทมัคคุเทศก์ การใช้ภาษา การวางตัวในแบบอย่างตัวแทนที่ดีของไทย การพัฒนาบุคลิกภาพของมัคคุเทศก์ การรับผิดชอบต่อลูกค้า และการให้บริการที่ดีอย่างประทับใจ

 

                    4.3 หมวดการจัดการชุมชน

รายวิชา 2422733

การพัฒนาตนในงานพัฒนาชุมชน

2 (2-0-4)

 

Self Development in Community Development

 

        ศึกษาทฤษฎี แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาตน การพัฒนาตนตามแนวทัศนะของนักจิตวิทยา เน้นการพัฒนาตนตามแนวพุทธศาสน์ เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีเป้าหมายแก้ปัญหา และพัฒนาการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการนำไปใช้เพื่อการพัฒนางานและกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาชุมชน

รายวิชา 24232111

แผนแม่บทชุมชนกับการพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Community Strategic Planning for Development

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมายการทำแผนแม่บทชุมชนพึ่งตนเอง เป้าหมายของการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง หน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง ขั้นตอนการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง กระบวนการจัดเก็บข้อมูลแผนชุมชนพึ่งตนเอง แหล่งงบประมาณสนับสนุนการจัดทำแผนชุมชน การส่งต่อต่อแผนชุมชนต่อหน่วยงาน/องค์กร การฝึกปฏิบัติการทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง

รายวิชา 24232133

การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา

3 (3-0-6)

 

Analysis and Solution of Community Development

 

        ศึกษาหลักการ วิธีการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน การวิเคราะห์จากเอกสารและการวิเคราะห์ภาคสนาม การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชน ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ วิธีการแก้ไขปัญหาในชุมชน

รายวิชา 2423716

การบริหารความขัดแย้งในชุมชน

2 (2-0-4)

 

Conflict Management in Community

 

        ศึกษาความหมาย ขั้นตอนของการบริหารความขัดแย้ง วิเคราะห์กระบวนการบริหารความขัดแย้งแบบต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน วิธีการจัดการกับความขัดแย้งเพื่อนำมาใช้ในการจัดการชุมชนที่เหมาะสม

รายวิชา 24237177

การจัดการองค์กรธุรกิจชุมชน

2 (2-0-4)

 

Management of Business Organization in Community

 

        ศึกษาระบบและโครงสร้างขององค์กรธุรกิจชุมชน การพัฒนาองค์กรธุรกิจชุมชน พฤติกรรมองค์กรธุรกิจชุมชน นโยบายองค์กรธุรกิจชุมชน การพัฒนาทรัพยากรในองค์กรธุรกิจชุมชน กระบวนการจัดการและหน้าที่สำคัญของการจัดการองค์กรธุรกิจชุมชน

รายวิชา 2423718

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในชุมชน

2 (2-0-4)

 

Human Resource Management in community

 

        ศึกษาองค์ประกอบและโครงสร้างของการบริหารงานบุคคล บทบาทหน้าที่ของทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนา ปัญหาและความสำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ แนวทางการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว การวิเคราะห์งาน การกำหนดรายละเอียดของงาน คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน การวางแผนกำลังคน การสรรหา การคัดเลือก และการบรรจุคนเข้าทำงาน การสร้างภาวะความเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม

รายวิชา 24237199

การวางแผนและบริหารธุรกิจชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Planning and Management Business

 

        ศึกษากระบวนการและกลวิธีในการวางแผนธุรกิจชุมชน การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนและการบริหาร การคาดคะเนความต้องการเพื่อรองรับความเจริญเติบโตของธุรกิจชุมชนในอนาคต หลักสำคัญของการเขียนโครงการเพื่อการพัฒนาธุรกิจชุมชน กระบวนการและขั้นตอนการจัดทำโครงการอย่างมีส่วนร่วม

รายวิชา 24237200

กลุ่มธุรกิจพื้นฐานกับการจัดการชุมชน

2 (2-0-4)

 

Basic Social - Economic Units and Community Development

 

        ศึกษาทฤษฎี หลักการ องค์ประกอบ และวัฏจักรของกลุ่มธุรกิจพื้นฐานในชุมชน ปัจจัยและอำนาจต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบทบาทของกลุ่มที่มีต่อสมาชิกและสังคม การวิเคราะห์กลุ่มต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน ทั้งที่เกิดจากการจัดตั้งของประชาชน และจากการสนับสนุนของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อทราบปัญหาและแนวทางแก้ไข

รายวิชา 24247211

เทคนิคการให้การศึกษาชุมชน

2 (2-0-4)

 

Educational Transferring Techniques

 

        ศึกษาแนวทาง ปรัชญา หลักการและเทคนิคในการให้การศึกษาเพื่อการดำรงชีวิตในชุมชน การฝึกอบรม การสาธิต การจัดนิทรรศการ การศึกษาดูงาน การสอนทักษะ การเปลี่ยนแปลงเจตคติ และการยอมรับนวัตกรรม การเลือกใช้เทคนิคในการให้การศึกษาชุมชน

รายวิชา 2424722

การพัฒนาองค์กรชุมชน

3 (3-0-6)

 

Organization Community Development

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ประเภทขององค์กรชุมชนในการบริหารงานและการพัฒนาองค์กรชุมชน การดำเนินงานขององค์กรชุมชนในประเทศไทย ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

รายวิชา 24247233

ปัญหาสังคมกับการพัฒนาชุมชน

3 (2-2-5)

 

Social Problems in Community Development

 

        ศึกษาความหมายและขอบเขตของปัญหาสังคม หลักและทฤษฎีและวิธีการวิเคราะห์ปัญหาสังคม สาเหตุของปัญหาสังคม ปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในสังคมทั่วไป สังคมชนบท สังคมเมือง ผลกระทบของปัญหาสังคมที่มีต่อบุคคล กลุ่มคนและสังคม วิธีการดำเนินการแก้ไขปัญหาสังคม การพัฒนาชุมชนจากปัญหาสังคมที่เป็นอยู่

รายวิชา 2424724

การพัฒนาชุมชนเปรียบเทียบ

3 (3-0-6)

 

Comparative Study in Community Development

 

        ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบวิธีดำเนินงานของการพัฒนาชุมชนในประเทศและต่างประเทศ การจัดตั้งองค์กร การวางแผน และการบริหารงานพัฒนาชุมชนของประเทศต่างๆ เปรียบเทียบกับประเทศไทย

รายวิชา 2424725

เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง

3 (3-0-6)

 

Self - Reliance Community Economics

 

        ศึกษาแนวคิด ความหมาย และความสำคัญของเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทฤษฎีใหม่ องค์กรชุมชนด้านเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง กับการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน

 

                    4.4 หมวดสวัสดิการชุมชน

รายวิชา 24224022

การจัดสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส

2 (2-0-4)

 

Social Welfare for Disadvantaged Groups and Poor

 

        ศึกษานิยาม ความหมาย แนวคิดและ ทฤษฎีว่าด้วยการจัดสวัสดิการ ประเภท สาเหตุของความยากจน และการด้อยโอกาส การบริการที่หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจัดขึ้นสำหรับการแก้ปัญหาความยากจนและคนด้อยโอกาส ศึกษากฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการแก่คนจน และคนด้อยโอกาสในสังคม

รายวิชา 24227322

สวัสดิการชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Welfare

 

        ศึกษาความหมาย กระบวนการบริการทางสังคม เพื่อสนองความต้องการของชุมชน ศึกษารูปแบบ ลักษณะงานสวัสดิการของรัฐและเอกชนของไทย โดยเปรียบเทียบกับงานสวัสดิการของต่างประเทศ ศึกษาการจัดสวัสดิการชุมชนในรูปแบบต่างๆ

รายวิชา 24237266

การสังคมสงเคราะห์ชุมชน

2 (2-0-4)

 

Social Work Community

 

        ศึกษาความหมาย ปรัชญา ขอบเขต วัตถุประสงค์และความสำคัญของงานสังคมสงเคราะห์ ความสำคัญของงานสังคมสงเคราะห์ ความสัมพันธ์ของงานสังคมสงเคราะห์กับงานสวัสดิการสังคม วิวัฒนาการของการสังคมสงเคราะห์ งานสังคมสงเคราะห์ในประเทศไทย บทบาทหน้าที่ ลักษณะและขอบเขตการให้บริการ ความจำเป็นของวิชาชีพที่มีต่อสังคมในการพัฒนาคนและพัฒนาสังคม

รายวิชา 24237299

การสังคมสงเคราะห์

3 (3-0-6)

 

Social Work

 

        ศึกษาความหมาย ปรัชญา ขอบเขต วัตถุประสงค์และความสำคัญของงานสังคมสงเคราะห์ ความสำคัญของงานสังคมสงเคราะห์ ความสัมพันธ์ของงานสังคมสงเคราะห์กับงานสวัสดิการสังคม วิวัฒนาการของการสังคมสงเคราะห์ งานสังคมสงเคราะห์ในประเทศไทย บทบาทหน้าที่ ลักษณะและขอบเขตการให้บริการ ความจำเป็นของวิชาชีพที่มีต่อสังคมในการพัฒนาคนและพัฒนาสังคม

รายวิชา 24237311

การสังคมสงเคราะห์กลุ่ม

3 (3-0-6)

 

Social Work Groups

 

        ศึกษาความหมาย ปรัชญา ขอบเขต วัตถุประสงค์และความสำคัญของงานสังคมสงเคราะห์กลุ่ม ความสำคัญของงานสังคมสงเคราะห์กลุ่ม ความสัมพันธ์ของงานสังคมสงเคราะห์กับงานสวัสดิการสังคม วิวัฒนาการของการสังคมสงเคราะห์กลุ่ม งานสังคมสงเคราะห์กลุ่มในประเทศไทย บทบาทหน้าที่ ลักษณะและขอบเขตการให้บริการ ความจำเป็นของวิชาชีพที่มีต่อสังคมในการพัฒนาคนและพัฒนาสังคม

รายวิชา 2424727

สวัสดิการชุมชนพึ่งตนเอง

3 (3-0-6)

 

Community Welfare for Self – Reliance

 

        ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ การจัดสวัสดิการตั้งแต่อดีตสู่การจัดสวัสดิการในปัจจุบัน หลักสำคัญในการจัดสวัสดิการชุมชน ศึกษาทางเลือกเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน รูปแบบการจัดสวัสดิการโดยชุมชน รวมทั้งทิศทางของกระบวนการสวัสดิการชุมชนและข้อเสนอต่อนโยบายรัฐ

รายวิชา 24247288

กฎหมายกับการจัดสวัสดิการชุมชน

2 (2-0-4)

 

Laws and Community Welfare

 

        ศึกษารัฐธรรมนูญไทย ปัจจุบัน กฎหมาย พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 ศึกษาแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม องค์กรสาธารณประโยชน์ ในการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม

รายวิชา 24247300

การบริหารงานสวัสดิการชุมชน

2 (2-0-4)

 

Community Welfare Administration

 

        ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ นโยบาย การบริหารสวัสดิการ การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ทรัพยากร เพื่อการจัดการบริหารสวัสดิการชุมชนบทฐานข้อมูลต่าง ๆ เพื่อรองรับความต้องการของชุมชน รวมทั้งรองรับการเปลี่ยนแปลงของบริบทต่าง ๆ เพื่อความสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น

       

            5. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

รายวิชา 24232155

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3 (2-2-5)

 

Preparation for Professional Experience in Community Development

        จัดให้นักศึกษามีกิจกรรมเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในด้านการความรู้ ทักษะ เจตคติและแรงจูงใจ มีคุณลักษณ์ที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยเน้นการฝึกการปฏิบัติงานในด้านทักษะและวิธีการทำงาน การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดทำแผนและโครงการสำหรับงานพัฒนาชุมชน การเผยแพร่ความรู้ การถ่ายทอดความรู้ งานจัดระบบและให้บริการข้อมูลทางด้านการพัฒนาชุมชน การจัดกิจกรรมทางด้านการพัฒนาชุมชนที่นำมาสู่การเรียนรู้

รายวิชา 24248199

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5 (450 ชม.)

 

Professional Experience in Community Development

 

        จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพการพัฒนาชุมชนองค์การหรือหน่วยงาน เพื่อให้ได้รับความรู้ ทักษะ เจตคติและประสบการณ์ในอาชีพพัฒนาชุมชน โดยให้นักศึกษาเข้าไปใช้ชีวิตในชุมชน จำนวน 450 ชั่วโมง เพื่อทำการศึกษาชุมชน นำผลการศึกษามาวิเคราะห์ปัญหา สร้างโครงการ และปฏิบัติงานการวางโครงการ ศึกษารูปแบบ การจัดระบบงาน การบริการ วิธีการดำเนินงาน การแก้ไขปัญหาของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงานอยู่ในชุมชนนั้น พร้อมนำเสนอผลการฝึกประสบการณ์เผยแพร่องค์ความรู้โดยคำแนะนำและควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา ในรูปของการสัมมนา การจัดนิทรรศการ หรือ ภาคนิพนธ์

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตรร

        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลายย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***************

 

ภาคผนวก

1. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต พุทธศักราช 2549

        ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรการพัฒนาชุมชนบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรใหม่

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาชุมชน

 

จัดเป็น 3 แขนงวิชา(หรือวิชาเอก)

2

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน

 

ไม่เปลี่ยนชื่อปริญญาใหม่

3

ปรัชญาของหลักสูตร

มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

4 ข้อ

4 ข้อ

เปลี่ยนแปลง

5

หลักสูตร

เรียนคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 3 นก.
เรียนภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 6 นก.

เรียนคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย7 นก. เรียนภาษาอังกฤษ
อย่างน้อย 14 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 8 น.ก. และหมวดวิชาเฉพาะ(วิชาแกน) 3 น.ก.และหมวดวิชาด้านบังคับ 3 นก.

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 125 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

34 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

82 หน่วยกิต

92 หน่วยกิต

 

2.1 วิชาแกน

 

33 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

42 หน่วยกิต

36 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

18 หน่วยกิต

12 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

11 หน่วยกิต

 

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

 

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

(2) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ยึดระบบ ISCED แต่ปรับเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมมี 69 รายวิชา

ปรับปรุงคำอธิบายใหม่ 108 รายวิชา

ตัดออก - รายวิชา
เพิ่มใหม่ 39 รายวิชา

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

6 คน

6 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

มีจำนวน 6 คน (สูงกว่าเกณฑ์)

 

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

        1. ศ.นพ.ประเวศ วะสี โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพฯ

        2. พลเอกศิริ ทิวะพันธุ์ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        3. รศ.ดร. เสรี พงศ์พิศ สถาบันพัฒนาท้องถิ่น

        4. นายเรืองชัย ทรัพย์นิรันดร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        5. นพ. สมพงษ์ ยูงทอง โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์

        6. นพ.พลเดช ปิ่นประทีป สถาบันเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น(LDI)

        7. นายประพนธ์ อุดมทอง สื่อมวลชนท้องถิ่น จ.นครสวรรค์

        8. นายชู สิทธิจักร ปราชญ์ชาวบ้าน อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์

        9. ผศ.ดร.โกวิทย์ พวงงาม ภาควิชาพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

        10. รศ.สายันต์ ไพรชาญจิตร์ ภาควิชาพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

        11. รศ. ชอบ เข็มกลัด ภาควิชาพัฒนาชุมชนคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

        12. ดร.พัชรินทร์ สิรสุนทร ภาควิชาพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร

        13. ดร.สนั่น กัลปา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        14. นายเสรี ซาเหลา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        15. นายสุทธิพงษ์ ภูเมืองปาน คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        16. นายวิรัตน์ วงค์รอด คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        17. นางสาวพรรณภัทร ใจเอื้อ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        18. นางสาวอุทัยวรรณ ลิมปชยาพร คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

3. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรการพัฒนาชุมชน

        1. มหาวิทยาลัยฯ จัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์แกรนด์รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 28-30 ตุลาคม 2545 ทำให้ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตร วิชาแกน วิชาบังคับ และวิชาเลือกบางส่วน

        3. ประชุมโปรแกรมวิชาเพื่อจัดทำร่างหลักสูตรการพัฒนาชุมชน/วิสาหกิจชุมชน/สวัสดิการชุมชน เมื่อจัดสัมมนาแนวทางการจัดทำหลักสูตรการพัฒนาชุมชนเพื่อสอดคล้องกับชุมชนท้องถิ่น เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2545 ณ โรงแรมต้นน้ำ มหาวิทยาลัย
            ราชภัฎนครสวรรค์

        4. ประเมินหลักสูตรโดยการจัดวิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ณ ห้องประชุม 812 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 16-18 ธันวาคม 2545

        5. สำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2548

        6. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฯ ณ ภาควิชาฯ เมื่อวันที่ 27-30 มิถุนายน 2548

        7. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป (ตามประกาศมหาวิทยาลัย) และกลุ่มวิทยาการจัดการ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2548

        8. ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ เมื่อวันที่ 25-26 ตุลาคม 2548

        9. นำเสนอหลักสูตรต่อคณะกรรมพัฒนาหลักสูตรประจำคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เพื่อพิจารณา เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2548

        10. นำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2548

        11. นำเสนอหลักสูตรต่อคณะอนุกรรมการวิชาการ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2548

        12. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของสภาวิชาการและอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ

        13. นำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2548 สภามหาวิทยาลัย โดยมีมติอนุมัติหลักสูตรนี้

 

4. การแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ตามข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิ

การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป

    1.1 ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่าควรเน้นให้ นศ. เรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติภาคสนามในชุมชน ท่ามกลางสถานการณ์จริง
    1.2 ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า ควรมีการเน้นวิชาที่มีส่วนเสริมกับท้องถิ่นเพื่อตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยท้องถิ่น

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ ดังนี้

    1.1 ภาควิชาฯ ได้ปรับเนื้อหาและกระบวนการเรียนของนักศึกษาให้ได้เรียนทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป
    1.2 ภาควิชาฯได้จัดวิชาที่มีส่วนเสริมกับท้องถิ่น เช่น การปกครองท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น
          เป็นต้น

2. วิชาที่เป็นวิชาแกน

    ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า ควรมีการปรับรายวิชาหลักที่ยังไม่มี เช่น แผนแม่บทชุมชน และวิชาที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการชุมชน
วิสาหกิจชุมชนให้มากขึ้นและมีเนื้อหาที่ให้นักศึกษาทำวิจัยในแต่ละหลักสูตร

2. วิชาที่เป็นวิชาแกน ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ ดังนี้

     -  ได้เพิ่มวิชาการจัดทำแผนแม่บทชุมชน และวิชาที่เกี่ยวกับการทำวิจัยในท้องถิ่นในแต่ละหลักสูตร

3. วิชาที่เป็นรายวิชาบังคับเอก

    3.1 แขนงวิชาพัฒนาชุมชน

        - ควรมีการปรับเพิ่มรายวิชาที่เน้นปฏิบัติมากขึ้นและเน้นการเรียนรู้ตามสถานการณ์จริงในปัจจุบันให้มากที่สุด

    3.2 แขนงวิสาหกิจชุมชน

        - ควรมีการปรับรายวิชาด้านเศรษฐกิจชุมชนให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน

    3.3 แขนงวิชาสวัสดิการชุมชน

        - ควรมีการปรับรายวิชาด้านเศรษฐกิจชุมชนให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน

3. วิชาที่เป็นรายวิชาบังคับเอก

    3.1 แขนงวิชาการพัฒนาชุมชนภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

        - เพิ่มวิชาการแผนแม่บทชุมชนกับการพัฒนา, สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน, การจัดการความรู้ในงานพัฒนา, ระเบียบ
          วิธีวิจัยเพื่องานพัฒนาชุมชน, ภาษาอังกฤษสำหรับนักพัฒนาชุมชน

    3.2 แขนงวิสาหกิจกชุมชน ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

        - เพิ่มรายวิชาทฤษฎีและกลยุทธ์วิสาหกิจชุมชน, ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน, การสร้างเครือข่ายเพื่อ
          พัฒนาวิสาหกิจชุมชน, กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจชุมชน, การวางแผนและการจัดการวิสาหกิจชุมชน, การบริหาร
          การเงินในองค์กรชุมชน, เศรษฐกิจชุมชนกับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน, ภาษาอังกฤษในงานพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

    3.2 แขนงสวัสดิการชุมชน ภาควิชาฯ ได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

        - เพิ่มรายวิชาทฤษฎีและหลักการจัดสวัสดิการสังคม, การจัดสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส, การวางแผนงาน
          สวัสดิการชุมชน, นโยบายสาธารณะกับการจัดสวัสดิการชุมชนและสังคม, เทคนิคและหลักการปฏิบัติงานสวัสดิการชุมชน,
          สวัสดิการผู้สูงอายุ, ระบบสารสนเทศกับการจัดสวัสดิการชุมชน, ภาษาอังกฤษสำหรับงานสวัสดิการชุมชน, ระเบียบวิธีวิจัย
          เพื่องานพัฒนาสวัสดิการชุมชน

 

5. การแก้ไขปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชน / ภาษาอังกฤษ Community Development Management and Planning

รหัสวิชาใหม่ 2422206 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 2533301  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมาย รูปแบบ หลักการ การจัดการและการวางแผนในการพัฒนาชุมชน
 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและการวางแผนพัฒนาชุมชนของภาครัฐ ภาคเอกชน
 และภาคประชาชน ปัญหาอุปสรรคของการวางแผนพัฒนาชุมชน

     ศึกษาหลักการวางแผนเบื้องต้น การวางแผนงานพัฒนาชุมชน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
กับการวางแผนพัฒนาชุมชนทั้งภาครัฐบาลและเอกชน ปัญหาและอุปสรรคของการวางแผนพัฒนา

    เนื้อหาวิชามีความซ้ำซ้อน ได้ปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อวิชาภาษาไทย กระบวนการทำงานพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Process of Development Work

รหัสวิชาใหม่ 2422204 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 2532302  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมาย ขั้นตอนของการพัฒนาวิเคราะห์กระบวนการพัฒนาในรูปแบบ
ต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาที่เหมาะสม และ
สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันการนำกระบวนการพัฒนาเข้าไปประยุกต์ในชุมชน
 ตลอดจนสามารถวิเคราะห์กระบวนการพัฒนาที่ดำเนินการในปัจจุบัน

    ศึกษาความหมาย ขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาชุมชน วิเคราะห์กระบวนการพัฒนา
ชุมชนแบบต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาชุมชนที่
เหมาะสมกับชุมชน

    เพื่อให้เนื้อหาทันสมัย สอดคล้องกับกระบวนการพัฒนาในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ทฤษฎีและยุทธศาสตร์การพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Theory and Strategy for Development

รหัสวิชาใหม่ 2421103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวกับการพัฒนา โครงสร้างและลักษณะชุมชน
 ความหมาย ปรัชญา แนวคิด หลักการและเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน กระบวน
การของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การนำ
ทฤษฎีสังคมศาสตร์ ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน โดยมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ทางด้าน
วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง

 

    เป็นวิชาใหม่ ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎีด้าน
การพัฒนาโดยภาพรวมทั้งหมด

ชื่อวิชาภาษาไทย สถิติเพื่อการวิจัย / ภาษาอังกฤษ Statistics for Research Methodology

รหัสวิชาใหม่ 2422107 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 2504902  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมายและความสำคัญของสถิติเพื่อการวิจัย ประเภทของสถิติ วิธีการ
แนวสถิติ สถิติพรรณนาสถิติวิเคราะห์เบื้องต้น กระบวนการและเทคนิคการใช้สถิติใน
งานวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

    ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด วิธีการ แนวสถิติ สถิติภาคพรรณา สถิติวิเคราะห์เบื้องต้น กระบวนการ และเทคนิคการใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์

    เนื้อหาวิชามีความซ้ำซ้อน ได้ปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่องานพัฒนา / ภาษาอังกฤษ English for Development Work

รหัสวิชาใหม่ 2423222 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาภาษาอังกฤษต่อเนื่องจากวิชาพื้นฐาน โดยเน้นศัพท์และความหมายของ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนา

    เป็นวิชาใหม่ ตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Economics for Development

รหัสวิชาใหม่ 2423221 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ลักษณะพื้นฐาน โครงสร้าง และปัญหา
ของประเทศกำลังพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
และปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา การพัฒนาเกษตรกรรมและการพัฒนาชนบท
 การพัฒนาอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ประชากร การศึกษา และ
สุขภาพอนามัย การออม การลงทุน การค้า และหนี้ต่างประเทศ ปัญหาและทางเลือก
ของการพัฒนาเศรษฐกิจ

 

    เป็นวิชาใหม่ ตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย คอมพิวเตอร์เพื่องานพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Computer for Development Work

รหัสวิชา 2422210 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาระบบพื้นฐานและการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเพื่อ
ประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งาน

 

    เป็นวิชาใหม่ พัฒนาทักษะและความพร้อมด้านคอมพิวเตอร์การประยุกต์ใช้งานสำหรับ
ท้องถิ่น ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการความรู้ในงานพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Knowledge Management in Development

รหัสวิชา 2423212 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาแนวคิด ความหมาย การจัดการความรู้ เป้าหมายของการจัดการความรู้ หลัก
การของการจัดการความรู้ แนวคิดวิธีการดำเนินการจัดการความรู้ การสร้างวิสัยทัศน์
เกี่ยวกับการจัดการความรู้ การสร้างทีมจัดการความรู้ขององค์กร การฝึกปฏิบัติการจัด
การความรู้ร่วมกับชุมชน

 

    เป็นวิชาใหม่ เพื่อเพิ่มศักยภาพในเรื่องการจัดการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

 

****************

 

 

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก