หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

 

ภาคผนวก

  1.สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
  2.คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ
  3.ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
  4.รายการปรับปรุง

 

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พุทธศักราช 2549

…………….

1. ชื่อหลักสูตร

    1.1

ภาษาไทย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Business Administration Program in Human Resource Management

    1.2

ภาษาไทย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Business Administration Program in Marketing

    1.3

ภาษาไทย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Business Administration Program in Business Computer

2. ชื่อปริญญา

    2.1

ชื่อเต็ม :

บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบริหารทรัพยากรมนุษย์)

  Bachelor of Business Administration (Human Resource Management)
ชื่อย่อ : บธ.บ. (การบริหารทรัพยากรมนุษย์)
  B.B.A. (Human Resource Management)

    2.2

ชื่อเต็ม : บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด)
  Bachelor of Business Administration (Marketing)
ชื่อย่อ :

บธ.บ. (การตลาด)

  B.B.A. (Marketing)

    2.3

ชื่อเต็ม : บริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  Bachelor of Business Administration (Business Computer)
ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  B.B.A. (Business Computer)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ยึดหลักมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพระดับอุดมศึกษา มุ่งพัฒนาบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดท้องถิ่นและตลาดแรงงาน เน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านความรู้และทักษะการใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ มีจริยธรรมและสามารถปรับตามสภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและความก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                1. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ และมีทักษะเพียงพอที่จะนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดี
                2. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจ ที่มีความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ เช่น ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้านการตลาด ด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
                    ของสภาพเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และความก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ
                3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพบริหารธุรกิจ มีจริยธรรมในการประกอบธุรกิจและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
                4. เพื่อให้บัณฑิต สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางการศึกษาในระดับสูงต่อไป

5. กำหนดการเปิดสอน

        ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาใน
การศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

                1. สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

ที่

ชื่อ - สกุล

วุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1

ผศ.ดุสิต ภู่ตระกูล

    -  วท.ม. (การสอนเคมี)
    -  กศ.บ. (เคมี-คณิตศาสตร์)
    -  น.บ. (เกียรตินิยม อันดับ 2)

    -  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วิทยาลัยวิชาการศึกษาพระนคร
    -  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    -  เอกสาร 3 เรื่อง
    -  งานวิจัย 1 เรื่อง

2

ผศ.จำลอง ลือชา

    -  พบ.ม. รัฐประศาสนศาสตร์(การบริหารทรัพยากรมนุษย์)
    -  กศ.บ. (ภูมิศาสตร์)
    -  น.บ.

    -  สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    -  วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม
    -  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    -  เอกสาร 1 เล่ม
    -  ตำรา 1 เล่ม
    -  บทความ 8 เรื่อง
    -  งานวิจัย 1 เรื่อง

3

ผศ.สาลินี อินทพิบูลย์

    -  พบ.ม. รัฐประศาสนศาสตร์(การบริหารทรัพยากรมนุษย์)
    -  บธ.บ. (การบริหารทั่วไป)

    -  สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    -  เกียรตินิยมดี
    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

    -  เอกสาร 1 เล่ม
    -  ตำรา 1 เล่ม

4

น.ส.กานต์พิสชา สุขสัน

    -  บธ.ม.
    -  บธ.บ. (การจัดการ)

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

 

5

นายยืนยง ทิพศรี

    -  บธ.ม.
    -  ร.บ.
    -  พธ.บ.(เศรษฐศาสตร์)

    -  มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 

                2. สาขาวิชาการตลาด

ที่

ชื่อ - สกุล

วุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1

นางแวววัน ชมพูนุท ณ อยุธยา

    -  M.B.A.
    -  บธ.บ. (การตลาด)

    -  UNIVERSITY OF CENTRALTEXAS, USA.
    -  มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

    -  เอกสาร 1 เรื่อง
    -  งานวิจัย 2 เรื่อง

2

นายธนศักดิ์ พัฒนานุชาติ

    -  ศศ.ม. (การบริหารการศึกษา)
    -  คบ. (ภาษาไทย)

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

    -  เอกสาร 2 เรื่อง

3

น.ส.นันทภัค สาดบุญมี

    -  บธ.ม. (บริหารธุรกิจทั่วไป)
    -  กศ.บ. (ธุรกิจศึกษา-การตลาด)

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางเขน

 

4

น.ส.ลักษมี งามมีศรี

    -  บธ.ม. (การเงินการธนาคาร) บธ.บ. (การตลาด)

    -  มหาวิทยาลัยศรีปทุม
    -  มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

    -  ตำรา 1 เรื่อง

5

น.ส.ธิติยา ทองเกิน

    -  บธ.ม. (การจัดการทั่วไป)ศศ.บ. (การตลาด)

    -  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    -  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

    -  งานวิจัย 2 เรื่อง

                3. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ที่

ชื่อ - สกุล

วุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1

นางลัคนา ปานสำลี

    -  วท.ม. (การสอนคณิตศาสตร์)
    -  วท.บ. (คณิตศาสตร์)
    -  น.บ.
    -  บธ.บ. (การจัดการทั่วไป)

    -  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสุโขทัย
       ธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    -  ตำรา 4 เรื่อง
    -  งานวิจัย 1 เรื่อง

2

น.ส.นวพร ฉายเรืองโชติ

    -  บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)
    -  คบ. (เกียรตินิยม)
    -  คม. (วิจัยการศึกษา)

    -  มหาวิทยาลัยรามคำแหงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    -  เอกสาร 6 เรื่อง

3

นายธีรศักดิ์ สร้อยคีรี

    -  ค.อ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา)
    -  วท.บ.(เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม)

    -  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
    -  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

 

4

นายเฉลิมชัย เจริญทรัพย์

    -  วท.ม.(เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและพาณิชย์
       อิเล็กทรอนิกส์)
    -  บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)

    -  มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
    -  มหาวิทยาลัยภาคกลาง

 

5

น.ส.ปรียานันท์ โพธิ์ศิรวัฒน์

    -  M.A. (การจัดการ)
    -  ศ.บ.(เศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ)

    -  U. of Northumbria at Newcastel
    -  มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

 

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ-สกุล

ความรับผิดชอบวิชาที่สอน

ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย (สาขา) ประสบการณ์

1

ผศ.สาลินี อินทพิบูลย์

    -  พบ.ม. รัฐประศาสนศาสตร์(การบริหารทรัพยากรมนุษย์) เกียรตินิยมดี
    -  บธ.บ. (การบริหารทั่วไป)

 

วิชาที่สอน

    1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
    2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
    3. การสรรหาและบรรจุพนักงาน
    4. การบริหารค่าจ้างและเงินเดือน
    5. การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม
    6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
    7. การสัมมนาทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์

    1. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
    2. การสรรหา และบรรจุพนักงาน

2

ผศ.ดุสิต ภู่ตระกูล

    -  วท.ม. (การสอนเคมี)
    -  กศ.บ. (เคมี-คณิตศาสตร์)
    -  น.บ. (เกียรตินิยม อันดับ 2)

 

วิชาที่สอน

    1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
    2. องค์การและการจัดการ
    3. การจัดการเชิงกลยุทธ์
    4. แรงงานสัมพันธ์
    5. จริยธรรมทางธุรกิจ
    6. การประกันภัย
    7. การวางแผนและนโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์

    1. ธุรกิจเบื้องต้น
    2. แรงงานสัมพันธ์
    3. การประกันภัย

ผลงานวิจัย

    1. การศึกษาความเข้าใจในบทบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสภาประจำ
        สถาบัน ราชภัฏทั่วประเทศ

ประสบการณ์

    1. ผ่านการอบรม Mini-MBA จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    2. ผ่านการอบรมบริหารธุรกิจ อื่น ๆ อีกหลายสถาบัน

3

อาจารย์นวพร ฉายเรืองโชติ

    -  คม. (วิจัยการศึกษา)
    -  บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)
    -  คบ. (เกียรตินิยม)

 

วิชาที่สอน

    1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ
    2. มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
    3. องค์การและการจัดการ
    4. การบริหารทรัพยากรมุนษย์
    5. วิจัยธุรกิจ
    6. พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ

    1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ
    2. มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
    3. องค์การและการจัดการ
    4. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
    5. วิจัยธุรกิจ
    6. พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ

4

ผศ.จำลอง ลือชา

    -  พบ.ม. รัฐประศาสนศาสตร์ (การบริหารทรัพยากรมนุษย์)
    -  กศ.บ. ภูมิศาสตร์
    -  น.บ.

วิชาที่สอน

    1. องค์การและการจัดการ
    2. การสร้างทีมงาน
    3. มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
    4. พฤติกรรมองค์การ
    5. จริยธรรมทางธุรกิจ
    6. พัฒนาบุคคลและฝึกอบรม

    1. จิตวิทยาการศึกษา
    2. วัยรุ่นกับการศึกษาเป็นรายกรณี
    3. งานวิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบจริยธรรมของแม่ค้าตลาดเทศบาล
        ตลาดบ่อนไก่ และตลาดสะพานดำ ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์

5

นางลัคนา ปานสำลี

    -  วท.ม. (การสอนคณิตศาสตร์)
    -  วท.บ. (คณิตศาสตร์)
    -  น.บ.
    -  บธ.บ. (การจัดการทั่วไป)

ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน

    - หัวหน้าภาควิชาบริหารธุรกิจ

วิชาที่สอน

    1. องค์การและการจัดการ
    2. การบริหารการผลิต
    3. การวิจัยธุรกิจ
    4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

ผลงานวิจัย

    1. การศึกษา การประกอบธุรกิจขนาดย่อมในจังหวัดนครสวรรค์

6

นางแวววัน ชมพูนุท ณ อยุธยา

    -  M.B.A. UNIVERSITY OF CENTRAL TEXAS, USA.
    -  บธ.บ. (การตลาด) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าภาควิชาการตลาด

วิชาที่สอน

    1. บริหารการตลาด
    2. พฤติกรรมผู้บริโภค
    3. กลยุทธการตลาด
    4. การตลาดระหว่างประเทศ
    5. ปัญหาพิเศษทางการตลาด
    6. การโฆษณาและส่งเสริมการขาย
    7. การวิจัยตลาด
    8. การสัมมนาตลาด
    9. ช่องทางการจัดจำหน่าย

ผลงานวิชาการ

    1. สื่อการสอนรายวิชาปัญหาพิเศษทางการตลาด

ผลงานวิจัย

    1. “How has the internet change market Structure”, Killeen Texas.
    2. ความพึงพอใจในการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย
        รามคำแหง ศูนย์สุโขทัย

ประสบการณ์ทำงาน

    - หัวหน้าฝ่ายพัฒนานักศึกษา
    - หัวหน้าฝ่ายพัสดุ สำนักกิจการนักศึกษา
    - กรรมการพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจ
    - รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ
    - วิทยากรทั้งภาครัฐ และเอกชน

อบรม/สัมมนาวิชาการ

    - กฎการค้าภายใต้ WTO (กรมส่งเสริมการส่งออก)
    - ระบบงานศุลกากรสำหรับการค้าระหว่างประเทศ (กรมส่งเสริมการส่งออก)
    - การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันระดับประเทศ (กรมส่งเสริมการส่งออก)
    - การพัฒนางานวิจัยสำหรับดุษฎีบัณฑิต
    - คอมพิวเตอร์ เพื่อการประเมินผลวิจัย SPSS
    -  เพื่อการค้นคว้าเอกสารวิจัย
    - การผลิตสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์

7

นางสาวธิติยา ทองเกิน

    -  บธ.ม. บริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    -  ศศ.บ. บริหารธุรกิจ (การตลาด) เกียรตินิยมอันดับ 1
       มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์

    -  อาจารย์ผู้สอนประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ (การตลาด)

ผลงานทางวิชาการ

    -  A MARKETING STUDY OF SOUR TAMARIND (Tamarindus Indica
       Linn.) AIMING TO DEVELOP BUSINESS STRATEGY FOR INSTANT
       PRODOCTS. AFC 9th at Jarketar Indonesia.

ประสบการณ์และฝึกอบรม

    - ศึกษาดูงาน และฝึกอบรมด้านบริหารและการจัดการ ณ นครซิดนีย์และเมลเบิร์น
      ประเทศออสเตรเลีย
    - นำเสนอผลงาน (Presenter) ณ กรุงจาร์กาตาร์ ประเทศอินโดนีเซีย
    - บรรยายพิเศษ ไปรษณีย์นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์

8

นางสาวลักษมี งามมีศรี

    -  บธ.ม. (การเงินการธนาคาร) มหาวิทยาลัยศรีปทุม
    -  บธ.บ. (การตลาด) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

วิชาที่สอน

    1. การบริหารการตลาด
    2. การเงินธุรกิจ
    3. การภาษีอากรธุรกิจ
    4. หลักการตลาด
    5. การวางแผนและควบคุมกำไร
    6. สถาบันการเงินและตลาดเงิน
    7. ศิลปะการขาย

ผลงานทางวิชาการ

    1. การเงินธุรกิจ

ประสบการณ์ทำงาน

    - หัวหน้าฝ่ายตลาดและเงินทุนสำนักทรัพย์สินและรายได้
    - ประธานโปรแกรมการตลาด
    - วิทยากรทั้งภาครัฐและเอกชน

9

นางสาวนันทภัค สาดบุญมี

    -  บธ.ม. (บริหารธุรกิจทั่วไป) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  กศ.บ. (ธุรกิจศึกษา-การตลาด) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
       วิทยาเขตบางเขน

ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน

    - รองคณบดีฝ่ายวิชาการคณะวิทยาการจัดการ

วิชาที่สอน

    1. วิจัยการตลาด
    2. กลยุทธ์การตลาด
    3. สัมมนาการตลาด
    4. ตลาดบริการ
    5. ศิลปะการขาย
    6. การสื่อสารการตลาด
    7. นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา
    8. บริหารการตลาด
    9. หลักการตลาด

ประสบการณ์ทำงาน

    - หัวหน้าฝ่ายหลักสูตรและแผนการเรียน
    - เลขานุการสำนักส่งเสริมวิชาการ
    - รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการ
    - เลขานุการสำนักศิลปวัฒนธรรม
    - หัวหน้าภาคการตลาด
    - รองคณบดีคณะวิทยาการจัดการ
    - ผู้อำนวยการศูนย์ให้การศึกษาจังหวัดอุทัยธานี

10.

นายธนศักดิ์ พัฒนานุชาติ

    -  ศศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    -  คบ. (ภาษาไทย) สถาบันราชภัฏนครสวรรค์

วิชาที่สอน

    1. หลักการตลาด
    2. การบริหารการขาย
    3. การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย
    4. การบริหารช่องทางการจัดจำหน่าย
    5. การบริหารการตลาด
    6. พฤติกรรมผู้บริโภค

ผลงานวิชาการ

    1. เอกสารวิชาหลักการตลาด
    2. เอกสารวิชาการบริหารการขาย

ประสบการณ์ทำงาน

    - รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ
    - หัวหน้าภาควิชาการตลาด
    - รองผู้อำนวยการสำนักวางแผนและพัฒนา

11

นางสาวกานต์พิสชา สุขสัน

    -  บธ.ม.
    -  บธ.บ. (การจัดการ)

วิชาที่สอน

    1. แรงงานสัมพันธ์
    2. การบริหารสำนักงาน
    3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ ประกอบธุรกิจ
    4. การบริหารการผลิต

 

12

นางจารุวรรณ ชอบประดิต

    -  บธ.ม.
    -  ศศ.บ. ( )

วิชาที่สอน

    1. องค์การและการจัดการ

 

13

นายเฉลิมชัย เจริญทรัพย์

    -  วท.ม.
    -  บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)

วิชาที่สอน

    1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์
    2. เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

 

14

นายธีรศักดิ์ สร้อยคีรี

    -  วท.บ. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม)
    -  ค.อ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา)

วิชาที่สอน

    1. เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

 

15

นางสาวปรียานันท์  โพธิ์ศิรวัฒน์

    -  M.A.
    -  ศ.บ.

วิชาที่สอน

    1. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
    2. องค์การและการจัดการ

 

16

นางสาวภัทราพร รินทร์ศรี

    -  บธ.ม.
    -  นศ.บ.

วิชาที่สอน

    1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
    2. การบริหารสำนักงาน
    3. การวิจัยทางธุรกิจ

 

18

นายยืนยง ทิพศรี

    -  บธ.ม.
    -  ร.บ. (รัฐศาสตร์)
    -  พธ.บ.

วิชาที่สอน

    1.ธุรกิจระหว่างประเทศ
    2.การพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
    3.จริยธรรมทางธุรกิจ
    4.การวางแผนและนโยบายทรัพยากรมนุษย์
    5.การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน
    6.การพัฒนาองค์การ

19

นางสาววิไลลักษณ์ สกุลเขมฤทัย

    -  ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์)
    -  วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์)

วิชาที่สอน

    1. เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

20

นางสาวพิชา วิสิทธิ์พานิช

วิชาที่สอน

   1.องค์การและการจัดการ

13. จำนวนนักศึกษา

        13.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

รวม

40

80

120

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

40

40

        13.2 สาขาวิชาการตลาด

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

รวม

40

80

120

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

40

40

        13.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

รวม

40

80

120

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

40

40

14. สถานที่ และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

                1. อาคาร 1 และอาคาร 10
                2. ห้องพักอาจารย์ 4 ห้อง
                3. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 2 ห้อง
                4. ห้องปฏิบัติการพิมพ์ดีด 2 ห้อง
                5. ห้องปฏิบัติการธุรกิจจำลอง 1 ห้อง
                6. ห้องค้นคว้าวิจัย 1 ห้อง
                7. ห้องเรียน 10 ห้อง

        14.2 อุปกรณ์การสอน

                1. เครื่องโอเวอร์เฮด 16 เครื่อง
                2. เครื่องขยายเสียง 7 เครื่อง
                3. จอภาพ 6 จอ

15. ห้องสมุด

ที่

ชื่อหนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

1

ชุดวิชาการจัดการและการวางแผนธุรกิจ

200

200

2

ชุดวิชาการจัดการธุรกิจชุมชน

200

200

3

ชุดวิชาการประเมินเพื่อพัฒนา

20

20

4

ชุดวิชาสารนิพนธ์ Community Substantive Report

3

3

5

การวางแผนและการวิเคราะห์โครงการ

10

60

6

การบริหารและพฤติกรรมองค์การ

5

60

7

การวางแผนพัฒนาและประเมินโครงการ

5

60

8

พฤติกรรมองค์การ (ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ)

5

60

9

พฤติกรรมองค์การ (สมใจ ลักษณะ)

3

60

10

ทฤษฎีองค์การ : วิเคราะห์แนวความคิด ทฤษฎี และการประยุกต์

3

60

11

การวางแผนเชิงกลยุทธ์

5

60

12

คู่มือการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการจัดทำ BSC : สู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจ

5

60

13

หลักการวางแผน ,สุภาพร พิศาลบุตร

5

60

14

กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์การ

3

60

15

TQM กลยุทธ์การสร้างองค์การคุณภาพ

3

60

16

องค์การในอนาคต

3

60

17

การบริหารการดำเนินงานและการผลิต

5

60

18

การบริหารโครงการ

5

60

19

คู่มือ ISO 9000 FOR SMEs สำหรับธุรกิจบริการขนาดกลางและขนาดย่อม

3

60

20

ธุรกิจเบื้องต้น

10

60

21

จดหมายธุรกิจและบันทึกสั้น

5

60

22

การเขียนหนังสือติดต่อราชการและธุรกิจ : บทเรียนด้วยตนเอง

5

60

23

จริยธรรมทางธุรกิจ (สุภาพร พิศาลบุตร)

4

60

24

จริยธรรมทางธุรกิจ (จินตนา บุญบงการ)

4

60

25

ธุรกิจทั่วไป : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ(ศิริวรรณ์ เสรีรัตน์ และคณะ)

10

60

26

การเขียนเอกสารสำนักงาน

5

60

27

อาหารชีวจิต : ตำรับอาหารบ้านคุณชูเกียรติ

3

60

28

ตำรับอาหารเพื่อสุขภาพ เล่ม 1

3

60

29

การค้นคว้าและเขียนรายงาน

3

60

30

ธุรกิจทั่วไป : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

5

60

31

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ

5

60

32

ธุรกิจเบื้องต้น (สหวิทยาลัยพุทธชินราช)

5

60

33

ตัวอย่างสัญญาสำคัญทางธุรกิจ

5

60

34

การบริหารธุรกิจขนาดย่อม

8

60

35

ก้าวสู่ความเป็นหนึ่งกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

5

60

36

คู่มือศุลกากร ฉบับพิเศษ

5

60

37

งบประมาณแผ่นดิน

5

60

38

ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2545

3

60

39

การพยากรณ์เพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ

3

60

40

ประมวลตอบข้อหารือกรมสรรพกร ภาษีมูลค่าเพิ่ม พ.ศ. 2539 – ปัจจุบัน

3

60

41

การบริหารสินเชื่อ

5

60

42

การลงทุน

5

60

43

การจัดการการเงิน

5

60

44

มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 HURDLESกับการจัดทำงบประมาณระบบใหม่

3

60

45

การเงินธุรกิจ

5

60

46

การจัดการการเงิน

5

60

47

การเงินธุรกิจ(ฉบับสมบูรณ์)

5

60

48

เครื่องมือทางการเงินรุ่นใหม่และผลกระทบต่อนโยบายเศรษฐกิจ

5

60

49

รวมศัพท์เศรษฐกิจการค้า–การเงินระหว่างประเทศ

5

60

50

คู่มือการเงิน : สรุปสูตร ตาราง คำศัพท์

3

60

51

มาเล่นหุ้นให้รวยกันเถอะ

3

60

52

AHP กระบวนการตัดสินใจที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก

3

60

53

HOTEL OPERATIONS ปฏิบัติการงานโรงแรม

3

60

54

คู่มือการบริหารทรัพยากรบุคคล

5

60

55

การจัดการทรัพยากรบุคคลภารกิจที่ท้าทาย

5

60

56

ดักลาส แม็คเกรเกอร์ MANAGING THE HUMAN SIDE OF THE ENTERPRISE

3

60

57

เกมและกิจกรรมผสมผสาน เพื่อการพัฒนาบุคลากร

3

60

58

ปฏิวัติคน ปฏิวัติองค์กร

3

60

59

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ฉบับมาตรฐาน

5

60

60

ประสบการณ์ในการบริหารบุคลากร

5

60

61

การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรม

5

60

62

พฤติกรรมบุคคลในองค์การ

5

60

63

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบัติ

5

60

64

ผู้จัดการฝึกอบรมมืออาชีพ

5

60

65

การบริหารทรัพยากรบุคคล เรื่อง การวางแผนอาชีพ และแผนสืบทอดตำแหน่ง

5

60

66

พัฒนาบุคลิกภาพ หลักการและเทคนิค

5

60

67

คู่มือสมัครงาน และวิธีหางานทำให้ได้ พร้อมด้วยเทคนิคเตรียมสอบสัมภาษณ์

5

60

68

เทคนิคการฝึกอบรม และ การประชุม

5

60

69

การประเมินบุคคล

5

60

70

การสร้างทีมงาน

5

60

71

ระเบียบข้อบังคับการบริหารทรัพยากรบุคคล ภาคพิสดาร: เชิงปฏิบัติการ

3

60

72

การฝึกอบรมเชิงพัฒนา

5

60

73

เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม

5

60

75

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล

5

60

76

การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

5

60

77

คู่มือสัมภาษณ์งานแบบมีโครงสร้าง : จากแนวคิดสู่แนวปฏิบัติ

2

60

78

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

5

60

79

การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน

5

60

80

การพัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ์ในสถานประกอบการ

3

60

81

รายงานผลการสำรวจค่าจ้าง เงินเดือน และสวัสดิการ ปี 2541 และแนวโน้ม ปี 2542

3

60

82

การจัดทำโครงสร้างค่าตอบแทน

3

60

83

โลกทัศน์แรงงาน : ขบวนการแรงงาน

3

60

84

แรงงานไทย : 35 ปี บนเส้นทางการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ

3

60

85

แบบฟอร์มเอกสารในการบริหารงานบุคคลและธุรการ

3

60

86

การจัดสัมมนา

3

60

87

สูตรสำเร็จ…การเป็นวิทยากร

3

60

88

การสมัครงานและสอบสัมภาษณ์

5

60

89

การจัดทำแผน HRD สู่สหัสวรรษหน้า สำหรับนักฝึกอบรมมืออาชีพ

5

60

90

เทคนิค…การสัมภาษณ์สำหรับผู้บริหาร

5

60

91

การสมัครงานและการสัมภาษณ์งาน

5

60

92

ประชากรศาสตร์ : สาระเพื่อการตัดสินใจเชิงธุรกิจ

2

60

93

จดหมายสมัครงานฉบับสมบูรณ์

2

60

94

เทคนิคการสมัครงาน

5

60

95

การประเมินผลงานฝึกอบรม

3

60

96

จะสร้างแบบวัดความสามารถธุรกิจ & คนได้อย่างไร

3

60

97

กลุ่มสัมพันธ์สำหรับการฝึกอบรม

2

60

98

การจัดการทรัพยากรบุคคล

5

60

99

มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ

2

60

100

แรงงานสัมพันธ์

2

60

101

การบริหารงานบุคคล

5

60

102

รีเอ็นจิเนียริ่ง

5

60

103

การบริหารค่าจ้างและเงินเดือน

5

60

104

แรงงานสัมพันธ์

5

60

105

การบริหารงานบุคคล

5

60

106

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

5

60

107

ระเบียบข้อบังคับการบริหารทรัพยากรบุคคล

5

60

108

การสรรหาและบรรจุพนักงาน

3

60

109

การวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์

5

60

110

พฤติกรรมบุคคลในองค์การ

8

60

111

การประเมินผลโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

5

60

112

การพัฒนาองค์การเพื่อการเปลี่ยนแปลง

5

60

113

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

2

60

114

คู่มือนักฝึกอบรมมืออาชีพ : การจัดดำเนินการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิผล

2

60

115

การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน : แนวคิดเชิงทฤษฎี

3

60

116

เทคนิคการฝึกอบรม

5

60

117

เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม

5

60

118

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

5

60

119

ฝึกอบรม (คู่มือฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล)

3

60

120

การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม

3

60

121

การประเมินประสิทธิผลขององค์การ

3

60

122

การบริหารงานบุคคล

5

60

123

ภาวะผู้นำและการจูงใจ

5

60

124

การวางแผนและนโยบายทางด้านทรัพยากรมนุษย์

5

60

125

หลักการ กฎหมาย และการบริหารแรงงานสัมพันธ์

5

60

126

การพัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ์ในสถานประกอบการ

3

60

127

หลักการฝึกอบรมแผนใหม่

5

60

128

การพัฒนาบุคคล

3

60

129

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

3

60

130

หลักการบริหารงานบุคคล

3

60

131

หลักการฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล

3

60

132

การบริหารทรัพยากรบุคคลในทศวรรษหน้า

3

60

133

การฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล

3

60

134

สัมภาษณ์อย่างไรให้ได้งาน

2

60

135

รู้จักการมอบหมายภาระหน้าที่ให้ทำการแทน

1

60

136

เทคนิคการจัดฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพฉบับปรับปรุงใหม่

2

60

137

วิทยาการสำหรับวิทยากร

2

60

138

การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ

3

60

139

คู่มือการฝึกอบรมด้วยเทคนิค OJT

3

60

140

กลุ่มสัมพันธ์สำหรับการฝึกอบรม

2

60

141

เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม

1

60

142

คู่มือ นักฝึกอบรมมืออาชีพ : การจัดดำเนินการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิผล

2

60

143

การสร้างทีมงาน

5

60

144

กลยุทธ์ในการฝึกอบรม

2

60

145

แบบฝึกปฏิบัติวิชา การสรรหาและบรรจุพนักงาน

2

60

146

แบบฝึกปฏิบัติการวางแผนและนโยบายทางด้านทรัพยากรมนุษย์

2

60

147

“ เพื่อการพูด การฟัง และการประชุมที่ดี ”

3

60

148

แบบฝึกปฏิบัติวิชา การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม

2

60

149

แบบฝึกปฏิบัติวิชา การพัฒนาองค์การ

2

60

150

เทคนิคการเป็นวิทยากรและนักฝึกอบรม

2

60

151

การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน

2

60

152

ค่าจ้างและสวัสดิการยืดหยุ่น 1

3

60

153

ค่าจ้างและสวัสดิการยืดหยุ่น 2

2

60

154

พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518

3

60

155

ขบวนการสหภาพแรงงานไทยจากรสช.ถึงยุคIMF

2

60

156

การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน

2

60

157

กลุ่มสัมพันธ์สำหรับการฝึกอบรม

2

60

158

การประเมินผลโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

3

60

159

ปัญหาแรงงานในประเทศไทย

2

60

160

แรงงานไทย – กับสหภาพแรงงาน

3

60

161

การวางแผนกลยุทธ์ ธุรกิจชุมชน

5

60

162

รีเอ็นจิเนียริ่ง ภาคปฏิบัติ

3

60

163

108 วิธีคิด 1009 วิธีการ ของผู้ประกอบ

2

60

164

ผู้จัดการฝ่ายบุคคลมืออาชีพ

2

60

165

รายงานประจำปี 2538 การพัฒนาทรัพยากรแรงงานการขาดแคลน

3

60

166

แรงงานสัมพันธ์กุญแจแห่งความร่วมมือระหว่างนายจ้าง ลูกจ้าง

2

60

167

เทคนิคการประชุม

2

60

168

วาทวิทยา

3

60

169

พูดได้ พูดเป็น

2

60

170

มนุษย์สัมพันธ์

2

60

171

เทคนิคการจัดทำ Job Descriptien บนพื้นฐานของ Competency และ kpt

3

60

172

การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน

3

60

173

การจัดทำโซ่อุปทาน ตำราการจัดการยุคใหม่

5

60

174

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

 

60

175

ภาวะผู้นำ : พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ

3

60

176

การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล แนวทางการสร้างความพึงพอใจแก่พนักงาน

3

60

177

มนุษยสัมพันธ์

5

60

178

มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร

5

60

179

คัมภีร์ การพัฒนาภาวะผู้นำ จากปรมาจารย์ระดับโลก

3

60

180

คู่มือเกมและกิจกรรมสร้างสรรค์และพัฒนาทีมงาน

3

60

181

ความสามารถปัจจัยชนะธุรกิจและคน

3

60

182

Walk Rally สายสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีมงาน

5

60

183

มนุษย์สัมพันธ์ : กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อความสำเร็จของธุรกิจ

5

60

184

การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล

5

60

185

การสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ

3

60

186

เกมและกิจกรรมผสมผสานเพื่อการพัฒนาบุคลากร

3

60

187

เทคนิคการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิผล

3

60

188

การพัฒนาคน

5

60

189

เทคนิคการจูงใจพนักงาน

3

60

190

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

5

60

191

ภาษาและหลักการเขียนเพื่อการสื่อสาร

2

60

192

ระเบียบวิธีวิจัย

2

60

193

ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร

2

60

194

การพิมพ์เบื้องต้น

3

60

195

การวิเคราะห์ผู้รับสาร

2

60

196

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์

2

60

197

การบรรณาธิกร หนังสือพิมพ์และนิตยสาร

3

60

198

การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ RITICAL THEORY แนวคิดและตัวอย่างงานวิจัย

5

60

199

1 ศตวรรษหนังสือพิมพ์ไทย

3

60

200

การจัดการธุรกิจหนังสือพิมพ์

3

60

201

หนังสือและการพิมพ์

3

60

202

งานหนังสือพิมพ์

2

60

203

งานหนังสือพิมพ์เบื้องต้น

3

60

204

กวีนิพนธ์ไทย 1

2

60

205

หลักการทำหนังสือพิมพ์เบื้องต้น

2

60

206

รายงานการวิจัย เรื่อง ทิศทางและบทบาทการบริหารทรัพยากรบุคคลในทศวรรษหน้า (ปี พ.ศ. 2550)

2

60

207

สังคมศาสตร์วิจัย

3

60

208

วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

2

60

209

ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์

3

60

210

การวิจัยเบื้องต้น

3

60

211

เทคนิคการพยากรณ์การวิเคราะห์อนุกรมเวลา

3

60

212

การวิจัยธุรกิจ

2

60

213

วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย

2

60

214

สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์

2

60

215

วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย

2

60

216

การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย

2

60

217

หลักการวิจัยเบื้องต้น

10

60

218

การวิจัยการตลาด

5

60

219

แบบสอบถาม : การสร้างและการใช้

3

60

220

คู่มือการวิจัยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS FOR DOS&WINDOWS

5

60

221

นานานวตกรรมวิธีวิทยาการวิจัย

3

60

222

การทำวิจัยเชิงสำรวจ

3

60

223

การเขียนโครงการวิจัย

5

60

224

เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง

5

60

225

ทฤษฎีและเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง

3

60

226

การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล

3

60

227

การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS/PC + สำหรับงานวิจัย:การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย

3

60

228

การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย

5

60

229

การวิจัยดำเนินงาน

5

60

230

ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ

10

60

231

การวิจัยการดำเนินงาน

3

60

232

ระเบียบวิธีการวิจัยตลาดเบื้องต้น

3

60

233

วารสารการวิจัยเพื่อการพัฒนา เล่มที่ 24

2

60

234

ระเบียบวิธีวิจัย

5

60

235

วิธีวิจัยทางสหกรณ์

3

60

236

การวิจัยเชิงคุณภาพ

2

60

237

การวิจัยธุรกิจ

2

60

238

การสื่อสารการตลาด

3

60

239

หลักการตลาด

5

60

240

การบริหารการตลาด

5

60

241

หลักการตลาด : ยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21

5

60

242

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ

3

60

243

กลยุทธ์การตลาด : การวางแผนการตลาด

5

60

244

กลยุทธ์สื่อสารการตลาด : IMC & MARKETING COMMUNICATION

5

60

245

การตลาดเพื่อสังคม

5

60

246

การตลาดเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้ชนะ ในสหัสวรรษใหม่

3

60

247

กลยุทธ์การตลาดปากต่อปาก

2

60

248

นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา

2

60

249

พฤติกรรมผู้บริโภค

5

60

250

การจัดการ การส่งเสริม การตลาด

3

60

251

กลยุทธ์การตลาด

3

60

252

แนวทางการจัดทำแผนการตลาด

5

60

253

ตลาดบริการ

5

60

254

การตลาดระหว่างประเทศ (ฉบับมาตรฐาน)

3

60

255

การตลาดสำหรับนักบริหาร

3

60

256

การบริหารการตลาด : การวิเคราะห์ กลยุทธ์ และการตัดสินใจ

5

60

257

การวางแผนการตลาด

5

60

258

การวางแผนการตลาด (MARKETING PLANNING)

5

60

259

คัมภีร์ธุรกิจ MLM เคล็ดลับเส้นทางมหาเศรษฐี

5

60

260

การวิจัยการตลาด

5

60

261

การวิจัยตลาด

10

60

262

กลยุทธ์การตลาด การบริหารการตลาด และกรณีศึกษา

5

60

263

การโฆษณา

5

60

264

การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

5

60

265

วิธีจัดทำแผนธุรกิจ

10

60

266

คู่มือวิธีจัดทำแผนธุรกิจ

3

60

267

กลยุทธ์สื่อสารการตลาดแบบครบวงจร : STRATEGIC IMC

3

60

268

กลยุทธ์การแข่งขัน

5

60

269

หลักการตลาด (ปรับปรุงใหม่)

10

60

270

เลตเตอร์ออฟเครดิตการค้า

3

60

271

22 กฏเหล็กการสร้างแบรนด์

3

60

272

การสัมมนา เพื่อการปฏิบัติการทางการตลาด

5

60

273

เทคนิคการขายอย่างมีประสิทธิภาพ

5

60

274

ธุรกิจระหว่างประเทศ

5

60

275

การตลาดสินค้าเกษตร

3

60

276

การวิจัยการตลาด ฉบับสมบูรณ์

5

60

277

แผนการตลาด Marketing Plan

5

60

278

108 บทเรียน การบริหาร – การตลาด

3

60

278

การพยากรณ์การขาย

3

60

280

คู่มือและแบบฝึกหัด การบริหารการตลาด

2

60

281

การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยในเศรษฐกิจโลก

1

60

282

นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา

3

60

283

การควบคุมทางการตลาด

2

60

284

การจัดการระหว่างประเทศ

3

60

285

เอกสารวิชาการส่งออก

2

60

286

คู่มือและแบบฝึกปฏิบัติรายวิชาหลักการตลาด

2

60

287

ทฤษฏีและนโยบายการค้าระหว่างประเทศ

2

60

288

การศึกษาความเป็นไปได้ โครงการด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม

2

60

289

ครบเครื่องเรื่องการสื่อสารการตลาด

3

60

290

การปรับปรุงการเพิ่มผลผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมอาหารไทย

2

60

291

กลยุทธ์การขายตรงด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ ฉบับ SME

2

60

292

การบริหารงานขาย

5

60

293

การวิจัยการตลาด

5

60

294

การสื่อสารการตลาด

2

60

295

การส่งเสริมการขาย

5

60

296

ศิลปะการขาย

5

60

297

นวัตกรรม การบริการลูกค้า

5

60

298

การตลาดต้นทุนต่ำ เพิ่มกำไรโดยใช้งบประมาณน้อย

3

60

299

การตลาดสำหรับนักบริหาร

5

60

300

108 วิธีคิด 1009 วิธีการ

1

60

301

การบริหารการตลาด

5

60

302

กลยุทธ์การตลาด และการบริหารการตลาด

5

60

303

การค้าส่งและการค้าปลีก

5

60

304

THE HOTEL

3

60

305

HOTEL ENGLISH  ในงานโรงแรม

5

60

306

THE BEVERAGE SERVICE WORLD , WALLACE RANDE VALENTINO LUCIANI

2

60

307

PRINCIPLES OF HOTEL FRONT OFFICE OPERATIONS, SUE BAKERJEREMY HUYTON PAM BRADLEY

2

60

307

Strategic Human Resource Management – Jeffrey A. Mello

2

60

309

Human Resource Management , Lawrence S. Kleiman

2

60

310

The art of Leadership – George Manning , Kun Curtis

2

60

311

HUMAN RESOURCE MANAGEMENT :AN ESPERIENTIA LAPPROACH (IE)

2

60

312

HUMAN RESOURCE MANAGEMENT AN EXPERIENTIAL APPROACH

2

60

313

STRATEGIC HUMAN RESOURCE MANAGEMENT

2

60

314

MANAGING HUMAN RESOURCES

2

60

315

STRATEGIC HUMAN RESOURCE MANAGEMENT : ANTHONYPERREWE / KACMAR

2

60

316

MANAGING HUMAN RESOURCES

2

60

317

HUMAN RESOURCE MANAGEMENT THE STRATEGIC PERSPECTIVE

2

60

16. งบประมาณ

        16.1 สาขาวิชา การบริหารทรัพยากรมนุษย์

หมวดเงิน

2549

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ            
    - ค่าตอบแทน 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
    - ค่าใช้สอย            
    - ค่าวัสดุ            
    - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ            
รวมงบดำเนินการ 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
งบลงทุน            
    - ค่าครุภัณฑ์

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

    - ค่าที่ดิน

 

 

 

 

 

 

รวมงบลงทุน

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

รวมทั้งหมด

270,000

352,000

497,000

626,000

654,000

683,000

        * หมายเหตุ: ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร 1,000 บาท/ปี 9; บวกเพิ่มตามอัตราเงินเฟ้อ 5% ต่อปี

        16.2 สาขาวิชาการตลาด

หมวดเงิน

2549

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ

           
    - ค่าตอบแทน 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
    - ค่าใช้สอย            
    - ค่าวัสดุ            
    - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ            
รวมงบดำเนินการ 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
งบลงทุน            
    - ค่าครุภัณฑ์

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

    - ค่าที่ดิน

 

 

 

 

 

 

รวมงบลงทุน

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

รวมทั้งหมด

270,000

352,000

497,000

626,000

654,000

683,000

        * หมายเหตุ: ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร 1,000 บาท/ปี 9; บวกเพิ่มตามอัตราเงินเฟ้อ 5% ต่อปี

        16.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

หมวดเงิน

2549

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ            
    - ค่าตอบแทน 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
    - ค่าใช้สอย            
    - ค่าวัสดุ            
    - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ            
รวมงบดำเนินการ 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
งบลงทุน            
    - ค่าครุภัณฑ์

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

    - ค่าที่ดิน

 

 

 

 

 

 

รวมงบลงทุน

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

รวมทั้งหมด

270,000

352,000

497,000

626,000

654,000

683,000

        * หมายเหตุ : ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร 1,000 บาท/ปี 9; บวกเพิ่มตามอัตราเงินเฟ้อ 5% ต่อปีอปีอปี

17. หลักสูตร

        หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

95

 

1. วิชาพื้นฐานวิชาชีพ

42

 

2. วิชาชีพ(บังคับ)

33

 

3. วิชาชีพ(เลือก)

15

 

4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

5

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

132

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2, 3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6, 7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาเกษตรศาสตร์)

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หมวดวิชาอุตสาหกรรม)

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ – ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ x 2

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 95 หน่วยกิต

            1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ จำนวน 42 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312706

 ธุรกิจ 1

3 (3-0-6)

 

Business English 1

 

2313706

 ธุรกิจ 2

3 (3-0-6)

 

Business English 2

 

3001101

สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3 (3-0-6)

 

Statistics and Quantitative Analysis

 

3001102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีอากรและกฎหมายธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Taxation and Business Law

 

3203105

จริยธรรมธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Ethies

 

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Organization and Management

 

3212120

จิตวิทยาธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Psychology

 

3212626

หลักการจัดการเชิงปฏิบัติการ

3 (3-0-6)

 

Principles of Operations Management

 

3214648

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3 (3-0-6)

 

Strategic Management

 

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

Principles of Marketing

 

3251101

การเงินธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Finance

 

3301103

หลักการบัญชี

3 (2-2-5)

 

Principles of Accounting

 

3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Economics

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

Computer and Information Technology

 

            2) วิชาชีพ (บังคับ) จำนวน 33 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

                    2.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3212125

พฤติกรรมองค์การ

3 (3-0-6)

 

Organization Behavior

 

3212627

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 

Human Resource Management

 

3213133

แรงงานสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

Labour Relations

 

3213135

การวางแผนและนโยบายทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 

Personnel Planning and Policy

 

3213136

การสรรหา และบรรจุพนักงาน

3 (3-0-6)

 

Recruitment and Placement of Personnel

 

3213137

การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม

3 (3-0-6)

 

Personnel Development and Training

 

3213140

การประเมินผล การปฏิบัติงานของพนักงาน

3 (3-0-6)

 

Personal Assesment

 

3213212

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 

Human Resources Management Information Systems

 

3213645

การจัดการค่าจ้างและเงินเดือน

3 (3-0-6)

 

Wage and Salary Management

 

3214901

สัมมนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (2-2-5)

 

Seminar in Personnel Management

 

3214907

การวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (2-2-5)

 

Research in Human Resource Management

 

                    2.2 สาขาวิชาการตลาด

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3221102

พฤติกรรมผู้บริโภค

3 (3-0-6)

 

Consumer Behavior

 

3222109

นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา

3 (3-0-6)

 

Product and Pricing Policies

 

3222602

การจัดการการจัดจำหน่าย

3 (3-0-6)

 

Marketing Channel and Distribution Management

 

3222603

การส่งเสริมการตลาด

3 (3-0-6)

 

Promotions

 

3223122

การตลาดระหว่างประเทศ

3 (3-0-6)

 

International Marketing

 

3223606

การจัดการการตลาด

3 (3-0-6)

 

Marketing Management

 

3224201

การตลาดอิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

E-Marketing

 

3224901

สัมมนาการตลาด

3 (2-2-5)

 

Seminar in Marketing

 

3224902

การวิจัยตลาด

3 (2-2-5)

 

Marketing Research

 

3304201

การบัญชีเพื่อการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Managerial Accounting

 

4312203

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3 (2-2-5)

 

Management Information System

 

                    2.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3203901

การวิจัยธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Principles of Business Research

 

3242202

การออกแบบและพัฒนาเว็บ

3 (2-2-5)

 

Web Design and Development

 

3243201

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Business Data Communication and Computer Network

 

3243204

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

Electronic-commerce

 

3244901

โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Business Computer Project

 

4311202

ระบบสารสนเทศสำนักงานอัตโนมัติ

3 (2-2-5)

 

Office Automation Information Systems

 

4311301

หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Principles of Programming

 

4311303

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

3 (2-2-5)

 

Object Oriented Programming

 

4312201

ระบบฐานข้อมูล

3 (2-2-5)

 

Database System

 

4312408

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3 (2-2-5)

 

Systems Analysis and Design

 

4312203

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3 (2-2-5)

 

Management Information System

 

            3) วิชาชีพ (เลือก) จำนวน 15 หน่วยกิต มีรายวิชาให้เลือกดังต่อไปนี้

                    3.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3201601

การจัดการงานสำนักงาน

3 (3-0-6)

 

Office Management

 

3211601

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Quality Management

 

3212121

ทฤษฎีองค์การ

3 (3-0-6)

 

Organization Theory

 

3212122

การพัฒนาองค์การ

3 (3-0-6)

 

Organization Development

 

3212123

มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ

3 (3-0-6)

 

Human Relations in Organization

 

3212126

การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน

3 (3-0-6)

 

Effciency Development

 

3212207

เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม

3 (3-0-6)

 

Techniques in Training and Conference

 

3212621

การจัดการประชุมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ

3 (3-0-6)

 

Conference and Convention Management

 

3212624

การจัดการธุรกิจบริการเพื่อสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Environmental Management for Service Business

 

3213138

การวิเคราะห์งาน

3 (3-0-6)

 

Job Analysis

 

3213210

การพัฒนาบุคลิกภาพ

3 (3-0-6)

 

Personality Development

 

3213213

ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม

3 (3-0-6)

 

Leadership and Quality Management of Teamwork

 

3242203

การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Software Packages in Business

 

                    3.2 สาขาวิชาการตลาด

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3213128

การประกอบการธุรกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Business Operation

 

3213639

การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

3 (3-0-6)

 

Small and Medium Management

 

3221105

การตลาดเกษตรและสหกรณ์

3 (3-0-6)

 

Agricultural Marketing and Cooperative Marketing

 

3221601

การจัดการการค้าปลีกและค้าส่ง

3 (3-0-6)

 

Retailing and Wholesaling Management

 

3222110

ศิลปะการขาย

3 (3-0-6)

 

Salesmanship

 

3222115

การสื่อสารทางการตลาด

3 (3-0-6)

 

Marketing Communication and Public Relations

 

3222116

การตลาดทางตรง

3 (3-0-6)

 

Direct Marketing

 

3222604

การจัดการการจัดส่งสินค้า

3 (3-0-6)

 

Transportation Management

 

3222605

การจัดการการขาย

3 (3-0-6)

 

Sales Management

 

3223301

การตลาดบริการ

3 (3-0-6)

 

Service Marketing

 

3223302

การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Social Marketing and Environment

 

3223501

การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

3 (2-2-5)

 

Logistics Management

 

3223607

การจัดซื้อ

3 (3-0-6)

 

Purchasing

 

3224303

การพยากรณ์ทางการตลาด

3 (3-0-6)

 

Marketing Forecasting

 

3224903

ประเด็นปัญหาปัจจุบันทางการตลาด

3 (2-2-5)

 

Current Issues Problem in Marketing

 

                    3.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3202206

การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

E-Business Management

 

3202207

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

E-Commerce Law

 

3202208

ระบบสารสนเทศทางการเงิน

3 (2-2-5)

 

Financial Information System

 

3203203

การประมวลผลวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Application in Business Research Processing

 

3203205

การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Application in Accounting System Design

 

3212625

การวางแผนและการบริหารโครงการ

3 (3-0-6)

 

Planning and Project Management

 

3213652

การจัดการคุณภาพ

3 (3-0-6)

 

Quality Management

 

3243205

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินและการบัญชี

3 (2-2-5)

 

Computer Application in Finance and Accounting

 

3243206

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านการผลิต

3 (2-2-5)

 

Computer Applications in Production

 

3243207

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านงานบุคคล

3 (2-2-5)

 

Computer Applications in Personnel

 

3243208

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านการตลาด

3 (2-2-5)

 

Computer Applications in Marketing

 

3243209

เทคโนโลยีระบบมัลติมิเดียสำหรับงานธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Multimedia Technology for Business Application

 

3243210

การเงินและการธนาคารสำหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

Finance and Banking for E-Commerce

 

3244902

สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Seminar in Business Computer

 

4312301

การเขียนโปรแกรมสำหรับเว็บ

3 (2-2-5)

 

Web Programming

 

4312302

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Computer Programming in Business

 

4312703

เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

3 (2-2-5)

 

Internet Technology

 

4313401

โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่ม

3 (2-2-5)

 

Data Structure and Algorithm

 

4313501

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

3 (2-2-5)

 

Decision Support Systems

 

            4) วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 5 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3204826

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ

5 (450)

 

Field Experience in Business Administration

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

                เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียน โดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชานี้

        17.4 แผนการศึกษา

                17.4.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

 

2310101

 พื้นฐาน

3(3-0-6)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

 

3211101

องค์การและการจัดการ

3(3-0-6)

 

3221101

หลักการตลาด

3(3-0-6)

 

รวม

22

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310102

 เพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

 

2500106

ชีวิตกับศิลปะ

2(2-0-4)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

 

3301103

หลักการบัญชี

3(3-0-6)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3(2-2-5)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312706

 ธุรกิจ 1

3 (3-0-6)

 

3251101

การเงินธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3212120

จิตวิทยาธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3212125

พฤติกรรมองค์การ

3 (3-0-6)

 

3201101

สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3 (3-0-6)

 

3212627

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 
 

เลือกเสรี

3

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

2313706

 ธุรกิจ 2

3 (3-0-6)

 

3001102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีอากรและกฎหมายธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3213133

แรงงานสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

3213135

การวางแผนและนโยบายทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 
 

วิชาเอกเลือก

3

 
 

เลือกเสรี

3

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3203105

จริยธรรมธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3212626

หลักการจัดการเชิงปฏิบัติการ

3 (3-0-6)

 

3213136

การสรรหาและบรรจุพนักงาน

3 (3-0-6)

 

3213645

การจัดการค่าจ้างเงินเดือน

3 (3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก

3

 

วิชาเอกเลือก

3

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3214648

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3 (3-0-6)

 

3213137

การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม

3 (3-0-6)

 

3214907

การวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (2-2-5)

 

วิชาเอกเลือก

3

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3213140

การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน

3 (3-0-6)

 

3214901

สัมมนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (2-2-5)

 

3213212

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 

วิชาเอกเลือก

3 (3-0-6)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3204826

การฝึกประสบการณ์วิชาการบริหารธุรกิจ

5 (450)

 

รวม

5

 

                17.4.2 สาขาวิชาการตลาด

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

 

2310101

 พื้นฐาน

3(3-0-6)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

 

3211101

องค์การและการจัดการ

3(3-0-6)

 

3221101

หลักการตลาด

3(3-0-6)

 

รวม

22

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310102

 เพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

 

2500106

ชีวิตกับศิลปะ

2(2-0-4)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

 

3301103

หลักการบัญชี

3(3-0-6)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3(2-2-5)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312706

 ธุรกิจ 1

3 (3-0-6)

 

3251101

การเงินธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3001101

สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3 (3-0-6)

 

3212120

จิตวิทยาธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3221102

พฤติกรรมผู้บริโภค

3 (3-0-6)

 

3222602

การจัดการการจัดจำหน่าย

3 (3-0-6)

 
 

วิชาเลือกเสรี

3

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2313706

 ธุรกิจ 2

3 (3-0-6)

 

3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3001102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีอากรและกฎหมายธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3222603

การส่งเสริมการตลาด

3 (3-0-6)

 

3222109

นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา

3 (3-0-6)

 

3222605

การจัดการการขาย

3 (3-0-6)

 
 

วิชาเลือกเสรี

3

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3203105

จริยธรรมธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3212626

หลักการจัดการเชิงปฏิบัติการ

3 (3-0-6)

 

3223606

การจัดการการตลาด

3 (3-0-6)

 

4312203

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3 (2-2-5)

 

3221601

การจัดการการค้าปลีกและค้าส่ง

3 (3-0-6)

 

3223302

การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3214648

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3 (3-0-6)

 

3224201

การตลาดอิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

3223122

การตลาดระหว่างประเทศ

3 (3-0-6)

 

3304201

การบัญชีเพื่อการจัดการ

3 (3-0-6)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3224901

สัมมนาการตลาด

3 (2-2-5)

 

3224902

การวิจัยตลาด

3 (2-2-5)

 

3223501

การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

3 (3-0-6)

 

3224903

ประเด็นปัญหาปัจจุบันทางการตลาด

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3204826

การฝึกประสบการณ์วิชาการบริหารธุรกิจ

5 (450)

 

รวม

5

 

                17.4.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

 

2310101

 พื้นฐาน

3(3-0-6)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2(2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2(2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2(2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2(2-0-4)

 

3211101

องค์การและการจัดการ

3(3-0-6)

 

3221101

หลักการตลาด

3(3-0-6)

 

รวม

22

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310102

 เพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2(2-0-4)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2(2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2(2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

 

2500106

ชีวิตกับศิลปะ

2(2-0-4)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2(2-0-4)

 

3301103

หลักการบัญชี

3(3-0-6)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3(2-2-5)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312706

 ธุรกิจ 1

3 (3-0-6)

 

3251101

การเงินธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3212120

จิตวิทยาธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3242202

การออกแบบและพัฒนาเว็บ

3 (2-2-5)

 

3001101

สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3 (3-0-6)

 

4311301

หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

เลือกเสรี

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

2313706

 ธุรกิจ 2

3 (3-0-6)

 

3001102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีอากรและกฎหมายธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4312201

ระบบฐานข้อมูล

3 (2-2-5)

 

4311303

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

3 (2-2-5)

 
 

วิชาเอกเลือก

3 (2-2-5)

 
 

เลือกเสรี

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3203105

จริยธรรมธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3212626

หลักการจัดการเชิงปฏิบัติการ

3 (3-0-6)

 

4311202

ระบบสารสนเทศสำนักงานอัตโนมัติ

3 (2-2-5)

 

4312408

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3 (2-2-5)

 
 

วิชาเอกเลือก

3 (2-2-5)

 
 

วิชาเอกเลือก

3 (2-2-5)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3214648

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3 (3-0-6)

 

3243201

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

3203901

การวิจัยธุรกิจ

3 (2-2-5)

 
 

วิชาเอกเลือก

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3244901

โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

3243204

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

4312203

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3 (2-2-5)

 
 

วิชาเอกเลือก

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3204826

การฝึกประสบการณ์วิชาการบริหารธุรกิจ

5 (450)

 

รวม

5

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 95 หน่วยกิต

                    1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ จำนวน 42 หน่วยกิต

รายวิชา 2312706

 ธุรกิจ 1

3 (3-0-6)

 

Business English 1

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ เพื่อการติดต่อธุรกิจประจำวัน การบันทึกข้อความทางโทรศัพท์ การส่งข่าวสารระหว่างสำนักงานและภายในสำนักงาน หนังสือแจ้งราคาและรายการสินค้า การส่งสินค้าและตอบรับ วาระการประชุม บันทึกและรายงานการประชุม และประกาศต่าง ๆ ที่เป็นทางการ และอื่น ๆ

รายวิชา 2313706

 ธุรกิจ 2

3 (3-0-6)

 

Business English 2

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ เพื่อการโต้ตอบเกี่ยวกับการร้องเรียน หนังสือรับรอง (ยอมรับและปฏิเสธ) หนังสือธุรการธนาคาร หนังสือธุรกิจโรงแรม รายงานบริษัท ภาษาในแผ่นพับเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และอื่น ๆ

รายวิชา 3001101

สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3 (3-0-6)

 

Statistics and Quantitative Analysis

 

        ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติ และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ได้แก่ การเก็บรวบรวม และการนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ตัวแปรสุ่ม และการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง การประมาณค่า การทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และอนุกรมเวลา เลขดัชนี การพยากรณ์ และการตัดสินใจทางธุรกิจโดยใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ ได้แก่ ตัวแบบการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ตัวแบบสินค้าคงคลัง (Inventory Model) ตัวแบบโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) เทคนิคการวางแผนและควบคุมโครงการ (PERT/CPM) ตัวแบบของมาร์กอฟ (Markov Model) ทฤษฎีเกม (Game Theory) ทฤษฎีแถวรอคอย(Queuing Theory)

รายวิชา 3001102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีอากรและกฎหมายธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Taxation and Business Law

 

        ศึกษากฎหมายเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดตั้ง และการเลิกประกอบธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ และการปฏิบัติที่เกี่ยวกับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจโดยทั่วไป

รายวิชา 3203105

จริยธรรมธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Ethies

 

        ศึกษาแนวคิดที่มาของจริยธรรม และเหตุผลที่ธุรกิจต้องมีจริยธรรมรวมทั้งการสร้างจริยธรรมในองค์การธุรกิจ เน้นจริยธรรมของผู้บริหาร จริยธรรมของพนักงาน และหลักธรรมาภิบาล (Good Governance)

รายวิชา 3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Organization and Management

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป หลักเกณฑ์และแนวความคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ลักษณะและประเภทของการประกอบธุรกิจ จริยธรรมของผู้ประกอบธุรกิจ หลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้าน ในแง่ของการวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดองค์กร การจัดคนเข้าทำงาน การนำการควบคุมปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายที่ตั้งไว้ และเทคนิคการจัดการสมัยใหม่

รายวิชา 3212120

จิตวิทยาธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Psychology

 

        ศึกษาถึงความสามารถในการใช้จิตวิทยาในการบริหารธุรกิจ ความสามารถในการบริหาร บุคลิกภาพเชิงธุรกิจ กลวิธีในการเข้าใจผู้อื่น การให้คำปรึกษาและชี้แนะการจูงใจผู้ร่วมงาน จิตวิทยาในการบริหารงานในการแข่งขันในเชิงธุรกิจการปรับตัวทางสังคม และการตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น จิตวิทยาของกระบวนการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน และจิตวิทยาของความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน

รายวิชา 3212626

หลักการจัดการเชิงปฏิบัติการ

3 (3-0-6)

 

Principles of Operations Management

 

        ศึกษาลักษณะและความสำคัญของการผลิต และการบริการระบบการผลิต การจัดองค์การเพื่อการผลิต การวางแผนผลิตภัณฑ์ และบริการ การตัดสินใจด้านการผลิต การวางแผนกำลังการผลิต การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ การวางผังกระบวนการผลิต การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การพยากรณ์ และการวางแผนการผลิต ระบบการจัดซื้อและการจัดการสินค้าคงคลัง ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบการบำรุงรักษา การควบคุมคุณภาพ มาตรฐานการผลิตและการบริการ

รายวิชา 3214648

การจัดการเชิงกลยุทธ์

3 (3-0-6)

 

Strategic Management

 

        ศึกษาความหมายและแนวคิดการวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ ความแตกต่างของการวางแผนและการบริหารทั่วไป กับการจัดการเชิงกลยุทธ์ องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ กระบวนการของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์โครงสร้างอุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ เทคนิคต่าง ๆ ในการกำหนดกลยุทธ์รวมของธุรกิจ การประเมินผลและการติดตาม

รายวิชา 3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

Principle of Marketing

 

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของแนวคิดทางการตลาด สภาพแวดล้อมทางการตลาด การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค การแบ่งส่วนตลาด กำหนดตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ ส่วนประสมการตลาด และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอิทธิพลทางการตลาด

รายวิชา 3251101

การเงินธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Finance

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3301103 หลักการบัญชี

        ศึกษาบทบาท หน้าที่และวัตถุประสงค์ของการบริหารทางการเงินของธุรกิจ การวางแผนและการควบคุมควบคุมทางการเงิน การจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนในระยะต่าง ๆ การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน การวิเคราะห์ทางการเงิน งบลงทุน การจัดโครงสร้างเงินทุน ค่าของทุน และนโยบายเงินปันผล

รายวิชา 3301103

หลักการบัญชี

3 (2-2-5)

 

Principles of Accounting

 

        ศึกษาข้อสมมุติฐานทางการบัญชี ความแตกต่างในหน้าที่ระหว่างพนักงานบัญชี และผู้ทำบัญชี หลักบัญชีคู่ เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี การบันทึกรายการในสมุดรายการขั้นต้น ประกอบด้วยสมุดรายวันทั่วไป สมุดรายวันเฉพาะ การบันทึกในสมุดแยกประเภท งบทดลอง รายการปรับปรุง การจัดทำงบการเงินสำหรับกิจการบริการ และกิจการซื้อขายสินค้า

รายวิชา 3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Business Economics

 

        ศึกษาวิธีการประยุกต์ หลักและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้ในด้านธุรกิจ ได้แก่ การพยากรณ์ทางเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ เช่น อุปสงค์และอุปทานสำหรับตลาดต่าง ๆ การสำรวจตลาด การวางแผนการผลิต การวิเคราะห์ต้นทุน การกำหนดราคา การวิเคราะห์นโยบายการให้สินเชื่อและการตัดสินใจในการลงทุน การศึกษากรณีต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ

รายวิชา 4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

Computer and Information Technology

 

        ศึกษาพื้นฐานเบื้องต้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ศึกษาโปรแกรมประยุกต์ การนำเสนอสารสนเทศ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสังคมปัจจุบันและเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ในอนาคต รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่อง

            2) วิชาชีพ (บังคับ) จำนวน 33 หน่วยกิต

            2.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 33 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รายวิชา 3212125

พฤติกรรมองค์การ

3(3-0-6)

 

Organization Behavior

 

        ศึกษาถึงพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การในรูปของปัจเจกชนและกลุ่มซึ่งมีผลกระทบต่อการบริหาร ตลอดจนอิทธิพลต่าง ๆ อันเกิดจากสภาพแวดล้อม ศึกษาถึงการใช้พลังของกลุ่มให้เป็นประโยชน์ต่อองค์การ การสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคคลในองค์การรวมถึงการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ

รายวิชา 3212627

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Resource Management

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมา ทฤษฎีและหลักการในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขอบข่ายหน้าที่ความรับผิดชอบ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขั้นตอนในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การวางแผนกำลังคน การสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม การจ่ายค่าตอบแทน และข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์

รายวิชา 3213133

แรงงานสัมพันธ์

3(3-0-6)

 

Labour Relations

 

        ศึกษาความหมาย แนวคิด และระบบของการแรงงานสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ประวัติและวิวัฒนาการของสหภาพแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัญหาแรงงานสัมพันธ์ ระบบแรงงานสัมพันธ์ที่นำมาใช้ในประเทศไทย องค์การต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบแรงงานสัมพันธ์ในประเทศไทย สภาพข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างสภาพการจ้างและข้อตกลงที่เกี่ยวกับสภาพการจ้าง กระบวนการยื่นข้อเรียกร้องและการเจรจาต่อรอง การปิดงานและการนัดหยุดงาน การะงับข้อพิพาทแรงงาน และกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้อง

รายวิชา 3213135

การวางแผนและนโยบายทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Personnel Planning and Policy

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3212627 การจัดการทรัพยากรมุนษย์

        ศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและนโยบายขององค์การ รวมทั้งการพยากรณ์กำลังคนในระยะสั้น และระยะยาว การสำรวจและวิเคราะห์กำลังคนที่มีอยู่และความสามารถของบุคคล การดำเนินงานติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนและนโยบาย

รายวิชา 3213136

การสรรหาและบรรจุพนักงาน

3(3-0-6)

 

Recruitment and Placement of Personnel

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3212627 การจัดการทรัพยากรมนุษย์

        ศึกษานโยบายและการกำหนดนโยบายในการสรรหาและการบรรจุบุคคล การพยากรณ์ความต้องการกำลังคน การวางแผนกำลังคน การสรรหาและการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานตามความสามารถของบุคคล กลยุทธ์ในการทดสอบและการสัมภาษณ์บุคคลเข้าทำงาน หลักพฤติกรรมศาสตร์ที่ใช้ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน การปฐมนิเทศ การบรรจุพนักงาน การสอนแนะงาน และกฎหมายที่เกี่ยวกับการสรรหาและการบรรจุพนักงาน

รายวิชา 3213137

การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม

3(3-0-6)

 

Personnel Development and Training

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3212627 การจัดการทรัพยากรมุนษย์

        ศึกษาบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่บริหารงานทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะด้านการพัฒนาและการฝึกอบรม ความจำเป็นในการพัฒนาและฝึกอบรม การวางแผนพัฒนาและฝึกอบรม บรรทัดฐานของกลุ่มที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานและการเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐาน การตั้งวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม การจัดโครงการฝึกอบรมเทคนิคการฝึกอบรมแบบต่าง ๆ การประเมินผลการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาและการฝึกอบรม

รายวิชา 3213140

การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน

3(3-0-6)

 

Personal Assesment

 

        ศึกษาปรัชญาความสำคัญและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน การจัดทำเครื่องมือเพื่อใช้สำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานในประเด็นต่างๆ เพื่อนำผลไปเป็นข้อมูลในการวางแผนการจ่ายค่าจ้าง การฝึกอบรมและการเลื่อนชั้น เลื่อนตำแหน่งให้กับพนักงานและการพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

รายวิชา 3213212

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Resources Management Information Systems

 

        ศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดเก็บข้อมูลที่จำเป็นในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิธีการจัดเก็บเพื่อประโยชน์ในการค้นหาและเรียกใช้ข้อมูล การนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือ ต่าง ๆ มาช่วยในการจัดเก็บข้อมูลลักษณะข้อสนเทศเกี่ยวกับงานบุคคลที่ใช้ในการวางแผน และตัดสินใจของผู้บริหาร

รายวิชา 3213645

การจัดการค่าจ้างและเงินเดือน

3(3-0-6)

 

Wage and Salary Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3212627 การจัดการทรัพยากรมนุษย์

        ศึกษาการกำหนดนโยบาย และวัตถุประสงค์ของการจ่ายค่าตอบแทน หลักการจ่ายค่าตอบแทนในทัศนะของนักบริหาร การประเมินค่างาน การสำรวจค่าตอบแทน เพื่อกำหนดโครงสร้างค่าตอบแทน วิธีการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับพนักงานระดับต่าง ๆ ค่าจ้างจูงใจสำหรับพนักงานบางประเภท รูปแบบการจัดประโยชน์และสวัสดิการให้กับพนักงาน

รายวิชา 3214901

สัมมนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3(2-2-5)

 

Seminar in Personnel Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: เคยเรียนวิชาเอกของสาขาแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

        วิเคราะห์ อภิปรายปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรธุรกิจ ศึกษาพฤติกรรมเกี่ยวกับบุคคลเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีสำหรับกลุ่มคนงานที่อยู่ในระดับต่าง ๆ โดยใช้พื้นความรู้ทางทฤษฎี เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาบุคคลที่เกิดขึ้นภายในองค์การ

รายวิชา 3214907

การวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์

3(2-2-5)

 

Research in Human Resource Management

 

        ศึกษาผลงานวิจัยและปฏิบัติการวิจัยด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการวิจัย การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เทคนิคและเครื่องมือในการวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์และการประยุกต์ใช้ผลการวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์

            2.2 สาขาวิชาการตลาด 33 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รายวิชา 3221102

พฤติกรรมผู้บริโภค

3(3-0-6)

 

Consumer Behavior

 

        ศึกษาลักษณะทั่วไป และการแบ่งกลุ่มผู้บริโภค ปัจจัยปัจเจกชนและปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจ รวมทั้งอิทธิพลของส่วนผสมทางการตลาด ต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค

รายวิชา 3222109

นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา

3(3-0-6)

 

Product and Pricing Policies

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3221101 หลักการตลาด

        ศึกษาถึงบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้จัดการผลิตภัณฑ์แนวคิดการจัดส่วนผสมผลิตภัณฑ์ การออกแบบและบรรจุภัณฑ์ นโยบายตราสินค้า การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ วัฏจักรผลิตภัณฑ์ สาเหตุของผลิตภัณฑ์ล้มเหลว และวิธีการหลีกเลี่ยงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเรื่องราว วัตถุประสงค์การกำหนดราคา การใช้ราคาเป็นเครื่องมือสำหรับกลยุทธ์ทางการตลาด การเปลี่ยนแปลงราคาและการกำหนดราคา

รายวิชา 3222602

การจัดการการจัดจำหน่าย

3(3-0-6)

 

Marketing Channel and Distribution Management

 

        ศึกษาถึงรูปแบบ ความสำคัญ และความหมายของการจัดจำหน่าย กุลยุทธ์และการตัดสินใจด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า เพื่อให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพตรงกับเป้าหมายทางการตลาดขององค์กรธุรกิจ คนกลางทางการตลาด การจูงใจและกลยุทธ์การตลาดที่มีต่อคนกลางในการจัดจำหน่าย การควบคุมการจัดจำหน่าย การบริหารการขนส่ง การคลังสินค้า การจัดเก็บและเคลื่อนย้าย การใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดระบบ ข้อมูลในช่องทางการตลาดและการกระจายสินค้าให้เกิดประสิทธิภาพ

รายวิชา 3222603

การส่งเสริมการตลาด

3(3-0-6)

 

Promotions

 

        ศึกษา ความรู้เบื้องต้นด้านการส่งเสริมการตลาด รวมทั้งการสื่อสารการตลาด เข้าใจถึงกลยุทธ์ การวางแผน ในการส่งเสริมการตลาด รวมถึงการใช้เครื่องมือของการส่งเสริมการตลาดในทุก ๆ ด้าน ตลอดจนความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และการตลาดแบบบูรณาการ

รายวิชา 3223122

การตลาดระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Marketing

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3221101 หลักการตลาด

        ศึกษาหลักการ แนวความคิด และวิธีดำเนินการเกี่ยวกับการสั่งซื้อเข้ามา การส่งออก และการลงทุนในต่างประเทศ รวมทั้งการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินการทางการตลาดระหว่างประเทศ

รายวิชา 3223606

การจัดการการตลาด

3(3-0-6)

 

Marketing Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3221101 หลักการตลาด

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และแนวความคิดของการจัดการด้านการตลาด นโยบายและกลยุทธ์การจัดการด้านส่วนประสมการตลาด การแบ่งส่วนการตลาด ตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการวางแผนการตลาดและการควบคุมทางการตลาด

รายวิชา 3224201

การตลาดอิเล็กทรอนิกส์

3(2-2-5)

 

E-Marketing

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3221101 หลักการตลาด และ 4312203 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของการตลาดโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งวิธีการนำเสนอสินค้าผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการด้านราคาและการชำระเงินผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการขาย การบริการหลังการขาย วิธีการในการจัดส่งสินค้า การรับประกันคุณภาพสินค้า การเก็บรวบรวมข้อมูลทางการค้า โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงกลยุทธ์ทางการตลาด สำหรับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย

รายวิชา 3224901

สัมมนาการตลาด

3(2-2-5)

 

Seminar in Marketing

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3221101 หลักการตลาด

        วิเคราะห์ ศึกษาปัญหาทางการตลาดในธุรกิจประเภทต่าง ๆ โดยศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้ประสบความสำเร็จ และความล้มเหลวในการดำเนินงานด้านการตลาดเน้นกิจการในประเทศไทย และกิจการของต่างประเทศที่เข้ามาดำเนินธุรกิจในประเทศไทย เพื่อฝึกให้นักศึกษานำความรู้ทางด้านการตลาดมาแก้ปัญหา หรือศึกษาวิเคราะห์เรื่องการดำเนินกิจกรรมทางด้านการตลาดที่นักศึกษาสนใจ

รายวิชา 3224902

การวิจัยตลาด

3(2-2-5)

 

Marketing Research

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3223606 การจัดการการตลาด และ 3001101 สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

        ศึกษา พฤติกรรมผู้บริโภค บทบาทและความสำคัญของการวิจัยตลาดที่มีต่อธุรกิจเทคนิคและเครื่องมือในการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดเฉพาะกรณี และการนำประโยชน์ไปใช้ในวงการธุรกิจ

รายวิชา 3304201

การบัญชีเพื่อการจัดการ

3(3-0-6)

 

Managerial Accounting

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3301103 หลักการบัญชี

        ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาและวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชี เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจ โดยศึกษาเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุนรวม และการบัญชีต้นทุนผันแปร การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต้นทุน ปริมาณกำไร การวิเคราะห์ต้นทุนภาษี และข้อจำกัดของข้อมูลต่าง ๆ การจัดทำงบประมาณ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงทางการเงินและงบกระแสเงินสด

รายวิชา 4312203

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3(2-2-5)

 

Management Information System

 

        ศึกษาความสำคัญของระบบสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศในองค์กร โครงสร้างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และเทคโนโลยีในการสื่อสารระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูลสำนักงานอัตโนมัติ ระบบสารสนเทศในองค์การธุรกิจ ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการในด้านการวางแผน การควบคุม การตัดสินใจ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการ

            2.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 33 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รายวิชา 3203901

การวิจัยธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Principles of Business Research

 

        ศึกษาความหมาย บทบาท ความสำคัญและประโยชน์ของการวิจัยทางธุรกิจจรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทของการวิจัยทางธุรกิจ ขั้นตอนการวิจัย การเลือกปัญหาการวิจัย การกำหนดจุดมุ่งหมาย การตั้งคำถามในการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างตัวแปร และเทคนิคการตั้งสมมติฐาน การเลือกรูปแบบการวิจัย เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่สอดคล้องกับการวิจัยแบบต่าง ๆ การวิเคราะห์ข้อมูลการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการประมวลผลข้อมูล การเขียนเค้าโครงการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย การประเมินผลการวิจัย

รายวิชา 3242202

การออกแบบและพัฒนาเว็บ

3 (2-2-5)

 

Web Design and Development

 

        ศึกษาพื้นฐานและองค์ประกอบของเว็บไซด์ การเลือกใช้ภาษาและเครื่องมือในการพัฒนาเว็บแนวความคิด หลักการและกลยุทธ์การออกแบบเว็ปไซด์ กระบวนการพัฒนาเว็ปไซด์ การบริหารและ จัดการเว็ปไซด์ การทำการตลาดให้กับเว็ปไซด์ เว็ปโฮลติ้ง และจรรยาบรรณของการพัฒนาเว็ปไซด์

รายวิชา 3243201

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Business Data Communication and Computer Network

 

        ศึกษาระบบการสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์ในการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลด้วย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งแบบใช้สายสัญญาณ และไม่ใช้สายสัญญาณ มาตรฐานสากลและโปรโตคอลต่าง ๆ ในการสื่อสารข้อมูลด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบความปลอดภัยในเครือข่าย การออกแบบติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับงานธุรกิจ

รายวิชา 3243204

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3 (2-2-5)

 

Electronic-commerce

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โมเดลธุรกิจ การวิเคราะห์ห่วงโซ่ มูลค่าสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีสำหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบรักษาความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือและการควบคุมความผิดพลาด การกู้คืน การวางแผนโซลูชั่น การพัฒนาและติดตั้งใช้งาน การออกแบบไซด์มาตรฐานและการทำงานบนระบบอินเทอร์เน็ต การออกแบบโซลูชั่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ระบบชำระเงิน การขนส่ง

รายวิชา 3244901

โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Business Computer Project

 

        ให้จัดทำโครงการการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในงานธุรกิจ และนำเสนอโครงการโดยอยู่ในความควบคุมของอาจารย์ผู้สอน

รายวิชา 4311202

ระบบสารสนเทศสำนักงานอัตโนมัติ

3 (2-2-5)

 

Office Automation Information Systems

 

        ศึกษาองค์ประกอบของระบบสำนักงานอัตโนมัติ วิวัฒนาการของระบบสำนักงานอัตโนมัติ การออกแบบพัฒนาโปรแกรมประยุกต์และฐานข้อมูลในองค์กร เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล การประมวลข้อมูลหลัก และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในองค์กรเป็นไปอย่างอัตโนมัติ การประยุกต์ใช้ระบบสำนักงานอัตโนมัติเพื่อสนับสนุนงานด้านต่าง ๆ ในองค์กร ระบบเครือข่ายภายในสำนักงานอัตโนมัติ นักศึกษาต้องทำโครงงานประกอบการเรียนด้วย

รายวิชา 4311301

หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Principles of Programming

 

        ศึกษาเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยใช้ภาษาโปรแกรมที่เหมาะสมในการเขียนโปรแกรม รวมถึงการกำหนดตัวแปร ชนิดของตัวแปร ค่าที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม การรับข้อมูลเข้า การแสดงผลข้อมูล โครงสร้างควบคุมการเลือกทำ และการทำซ้ำ การสร้างฟังก์ชัน การสร้างตัวแปรแบบผู้ใช้กำหนดเอง ตัวแปรแบบอาร์เรย์ พอยน์เตอร์ และการดำเนินการกับไฟล์

รายวิชา 4311303

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

3 (2-2-5)

 

Object Oriented Programming

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ โครงสร้างโปรแกรมในภาษาเชิงวัตถุ ความหมายของวัตถุและกลุ่มของวัตถุ คุณลักษณะและพฤติกรรมของวัตถุ กลุ่มวัตถุพื้นฐาน การสืบทอด แถวลำดับ การนำเอาส่วนประกอบของซอฟต์แวร์กลับมาใช้อีก กราฟฟิก การสร้างและการจัดโครงสร้างข้อมูลพลวัต

รายวิชา 4312201

ระบบฐานข้อมูล

3 (2-2-5)

 

Database System

 

        ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล เป้าหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล ความไม่พึ่งพิงของข้อมูล บูรณภาพและความเชื่อถือได้ การจัดองค์การเชิงตรรกะและเชิงกายภาพ เค้าร่างและเค้าร่างย่อย ตัวแบบข้อมูลเชิงลำดับชั้น เชิงข่ายงาน และเชิงสัมพันธ์ บรรทัดฐานข้อมูล ภาษานิยามข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล การสืบค้นข้อมูลการจัดแฟ้มข้อมูล ความปลอดภัยของแฟ้มข้อมูล ระบบการสำรอง ข้อมูลและการเรียกคืน การวิเคราะห์ออกแบบข้อมูล การบริหารฐานข้อมูล

รายวิชา 4312408

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3 (2-2-5)

 

Systems Analysis and Design

 

        ศึกษาหลักการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ และการวางแผนแก้ปัญหา ขอบข่ายของการวิเคราะห์ การตรวจสอบระบบ ศึกษาความเป็นไปได้ การวิเคราะห์รายละเอียด ระบบที่ใช้ใหม่กับระบบเดิม การออกแบบการนำข้อมูลเข้าและข้อมูลออก การออกแบบแฟ้มข้อมูล เอกสารระบบงาน การทดสอบระบบ และการนำไปใช้รวมถึงการแก้ไขและบำรุงรักษา การทำผังระบบการสื่อสาร

รายวิชา 4312203

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

3 (2-2-5)

 

Management Information System

 

        ศึกษาโครงสร้างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ แนวความคิดและการออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เทคนิคการประมวลผลข้อมูลตามความต้องการขององค์กรโดยอาศัยทรัพยากรเท่าที่องค์กรสามารถจัดหาได้ การจัดหาเทคโนโลยีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การจัดจ้างและพัฒนาบุคลากรทางด้านสารสนเทศ การนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคมมาประยุกต์ใช้ในระบบข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง และเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพในการแข่งขัน แนวโน้มของระบบสารสนเทศทางธุรกิจในอนาคต กรณีศึกษา

        3) วิชาชีพ (เลือก) จำนวน 15 หน่วยกิต

            3.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 15 หน่วยกิต

รายวิชา 3201601

การจัดการงานสำนักงาน

3 (3-0-6)

 

Office Management

 

        ศึกษาความรู้ความเข้าใจ ในการดำเนินงานของสำนักงาน บทบาทของการจัดสำนักงาน งานสารบรรณ งานพัสดุ การวางแผนผัง และระเบียบวิธีปฏิบัติงานของสำนักงาน การจัดสถานที่ทำงาน การอำนวยการพนักงาน การควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพ

รายวิชา 3211601

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Quality Management

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ประวัติและพัฒนาการของการจัดการคุณภาพในอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ ทั้งในรูปแบบของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control-Q.C. หรือ Total Quality Control –TQC.) การประกันคุณภาพ (Quality Assuarance-Q.A.) การจัดการคุณภาพ (Quality System Mangement) และการจัดการคุณภาพทั้งองค์การ (Total Quality Management -T.Q.M) โดยอาศัยแนวความคิดและหลักการทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติของต่างประเทศ และประเทศไทยมาเป็นแนวทางในการศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เข้าใจในการจัดการคุณภาพ โดยภาพรวม สามารถอธิบาย และวิเคราะห์ผลกระทบ และความจำเป็นในการนำระบบการจัดการคุณภาพมาใช้ในการจัดการได้

รายวิชา 3212121

ทฤษฎีองค์การ

3 (3-0-6)

 

Organization Theory

 

        ศึกษาวิวัฒนาการของทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การ การวิเคราะห์โครงสร้างองค์การ รูปแบบต่าง ๆ ทั้งองค์การรูปนัยและอรูปนัย การออกแบบองค์การ องค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบองค์การ จุดมุ่งหมายขององค์การ หน้าที่ อำนาจและอิทธิพล การติดต่อสื่อสาร กระบวนการวินิจฉัยสั่งการ สายการบังคับบัญชา การควบคุมการขัดแย้งและศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงองค์การ เช่น การReengineering การลดขนาดองค์การ

รายวิชา 3212122

การพัฒนาองค์การ

3 (3-0-6)

 

Organization Development

 

        ศึกษาถึงแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการบริหารงานเชิงพฤติกรรมศาสตร์การผสมผสานความเจริญเติบโตส่วนบุคคลของสมาชิกภายในองค์การเข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การโดยเน้นหนักเรื่องการสร้างทีมงาน เพื่อนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นระบบเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององค์การ

รายวิชา 3212123

มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ

3 (3-0-6)

 

Human Relations in Organization

 

        ศึกษาลักษณะ แนวความคิด ขอบเขตและปัจจัยอันเป็นพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คณะและองค์การ การศึกษาสังคมมิติ เกมในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ การติดต่อสื่อสารระหว่างการประสานงาน หลักศาสนาที่ช่วยส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์กับการบริหาร

รายวิชา 3212126

การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน

3 (3-0-6)

 

Effciency Development

 

        ศึกษาความหมาย ขอบเขต ปรัชญา และอุดมการณ์ในการพัฒนาตนเอง บุคลิกภาพและการสำรวจบุคลิกภาพ การปรับแต่งบุคลิกภาพของตนเองและผู้อื่น ความต้องการของมนุษย์ ค่านิยม การสำรวจ และแลกเปลี่ยนค่านิยม ค่านิยมที่สัมพันธ์กับการทำงาน วัฒนธรรมในการทำงาน การตั้งเป้าประสงค์ของชีวิตและการทำงาน การสำรวจความรู้สึก ปัญหา อุปสรรคและวิธีการพิชิตอุปสรรคในการทำงาน การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน

รายวิชา 3212207

เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม

3 (3-0-6)

 

Techniques in Training and Conference

 

        ศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจความต้องการและขั้นตอนในการฝึกอบรม ประเภทของการฝึกอบรม เทคนิควิธีการในการฝึกอบรมและการประชุม เครื่องมือ เครื่องใช้ที่จำเป็นในการฝึกอบรม การเป็นผู้ประสานงานในการฝึกอบรม วิธีการจัดโปรแกรมการคำนวณค่าใช้จ่ายการประเมินผลโครงการฝึกอบรม

รายวิชา 3212621

การจัดการประชุมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ

3 (3-0-6)

 

Conference and Convention Management

 

        ศึกษาถึงความหมายและคำจำกัดความของการประชุมสัมมนาและการจัดนิทรรศการประเภทของการจัดประชุม และการจัดนิทรรศการ ความเกี่ยวข้องกับธุรกิจอื่น ๆ สิ่งจำเป็นพื้นฐานและปัจจัยเกื้อหนุนในการดำเนินธุรกิจ ประชุม สัมมนา และการจัดนิทรรศการ การเตรียมการและการจัดการการประชุม สัมมนานิทรรศการ และงานแสดงสินค้า การบริหารราคา การสร้างความพอใจให้ผู้ใช้บริการ และกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการต่อการพัฒนาธุรกิจแบบใหม่ การตลาดในธุรกิจการจัดประชุมสัมมนาและการจัดนิทรรศการ

รายวิชา 3212624

การจัดการธุรกิจบริการเพื่อสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Environmental Management for Service Business

 

        ศึกษาอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อบริการ การจัดการธุรกิจบริการเพื่อการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม การจัดการระบบนิเวศวิทยาที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนปัญหาและผลกระทบของธุรกิจบริการที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 3213138

การวิเคราะห์งาน

3 (3-0-6)

 

Job Analysis

 

        ศึกษาโครงสร้างของงาน การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับงาน วิธีการทำงานวิเคราะห์งานการแบ่งแยกประเภทของงาน ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งงานต่าง ๆ ในองค์การ ตลอดจนถึงการปรับปรุงให้เหมาะสมกับบรรยากาศ และทรัพยากรบุคคลในแต่ละองค์การ

รายวิชา 3213210

การพัฒนาบุคลิกภาพ

3 (3-0-6)

 

Personality Development

 

        ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ โดยเน้นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อภาวการณ์เป็นผู้นำทางธุรกิจทุกระดับ เน้นการพูดติดต่องานธุรกิจ การเข้าร่วมประชุมและการเสนอความคิดเห็นต่อที่ประชุม การตัดสินใจทางธุรกิจ การจูงใจ การเกลี้ยกล่อม การเจรจาต่อรองการเข้าสังคม การพัฒนาบุคลิกภาพของนักธุรกิจทางด้านร่างกายอารมณ์และจิตใจ โดยเน้นการใช้หลักธรรมในทางศาสนาและจิตให้มีการฝึกปฏิบัติและรู้จักทำการวิเคราะห์ และทำการประเมินตนเอง การวางแผนพัฒนาตนเอง ให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำงานอย่างมีความสุข

รายวิชา 3213213

ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม

3 (3-0-6)

 

Leadership and Quality Management of Teamwork

 

        ศึกษาเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้นำและภาวะผู้นำ คุณลักษณะและบทบาทหน้าที่ของผู้นำที่จะมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างคุณภาพงาน บทบาทของผู้นำในการทำงานเป็นทีม การสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพจิตวิทยาและเทคนิควิธีในการเป็นผู้นำและการทำงานเป็นทีม การสร้างความภูมิใจให้ทีมงาน การจัดการความขัดแย้งในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจในการทำงานเป็นทีม

รายวิชา 3242203

การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Software Packages in Business

 

        ศึกษาถึงความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดยนำมาประยุกต์กับการใช้งานทางธุรกิจในด้านต่าง ๆ เช่นการใช้ Word Processor Spreadsheet รวมทั้งการศึกษาโปรแกรมสำเร็จรูป กับระบบงานต่าง ๆ ในธุรกิจ และการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการวิจัยทางธุรกิจ

        3.2 สาขาวิชาการตลาด จำนวน 15 หน่วยกิต

รายวิชา 3213128

การประกอบการธุรกิจชุมชน

3 (3-0-6)

 

Community Business Operation

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ รูปแบบ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบการธุรกิจชุมชน ได้แก่ การจัดการ การบริหารทรัพยากรบุคคล การตลาดการเงิน การบัญชี และปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนศึกษาลักษณะของชุมชน ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่เหมาะสมต่อการประกอบธุรกิจ และปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินการของผู้ประกอบการธุรกิจ ตลอดจนศึกษาถึงจรรยาบรรณของผู้ประกอบการธุรกิจที่มีต่อชุมชนและต่อสังคมโดยรวม ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในบทบาทของธุรกิจชุมชน

รายวิชา 3213639

การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

3 (3-0-6)

 

Small and Medium Management

 

        ศึกษาลักษณะและคุณสมบัติของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก การบริหารงานและปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจขนาดกลาง และขนาดเล็ก การเริ่มต้นประกอบธุรกิจ การลงทุน การจัดหาเงินทุน การจัดองค์การ การปฏิบัติงาน โครงสร้างของตลาดและการดำเนินกลยุทธ์ทางการตลาด ข้อได้เปรียบ-เสียเปรียบของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กในระบบเศรษฐกิจ ศึกษาความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เช่น การตลาดการเงิน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การผลิต กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การประเมินผลการดำเนินงาน แนวโน้มและบทบาทของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ในประเทศไทย

รายวิชา 3221105

การตลาดเกษตรและสหกรณ์

3 (3-0-6)

 

Agricultural Marketing and Cooperative Marketing

 

        ศึกษาระบบและหน้าที่การตลาดเกษตร บทบาทและนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการตลาด การรวมกลุ่มตลาด ผลิตผลเกษตรในต่างประเทศ การตั้งราคาตลาดต้นทุนและส่วนเหลื่อมของการตลาด (มีการศึกษานอกสถานที่) วิธีดำเนินการตลาด วิธีการรวบรวมและการซื้อผลิตภัณฑ์จากสมาชิก การจัดมาตรฐาน การคัดชนิด การตรวจคุณภาพ การเก็บรักษา การแปรรูป การวางแผนต้นทุนการผลิต วิธีการคุมค่าใช้จ่าย การกำหนดราคา และการชำระราคาแก่สมาชิก การจัดหาเงินทุน ข้อตกลงเกี่ยวกับสมาชิกและการทำสัญญาเกี่ยวกับสมาชิก ข้อจำกัดและปัญหาการตลาด (มีการศึกษานอกสถานที่)

รายวิชา 3221601

การจัดการการค้าปลีกและค้าส่ง

3 (3-0-6)

 

Retailing and Wholesaling Management

 

        ศึกษา ลักษณะความหมายและวัตถุประสงค์ทางการค้าปลีกและค้าส่ง ระบบการจัดการด้านการค้าปลีกและค้าส่งที่เกี่ยวกับการซื้อขาย กลยุทธ์การตลาดที่เกี่ยวข้อง การกำหนดราคา รูปแบบประเภทของกิจการธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก ลักษณะการค้าแบบให้สิทธิทางการค้า (Franchising) การใช้ระบบการตลาดแบบบูรณาการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับการค้าปลีก รวมถึงการใช้ระบบการจัดเก็บข้อมูลด้านต่างๆทางการค้าปลีกและค้าส่ง

รายวิชา 3222110

ศิลปะการขาย

3 (3-0-6)

 

Salesmanship

 

        ศึกษาถึงกระบวนการขาย ศิลปะการขายและการใช้ศิลปะการขาย พฤติกรรมของลูกค้า และเทคนิค ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับลูกค้า การใช้จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการประกอบอาชีพขาย การปรับปรุงตนเองให้มีคุณสมบัติของนักขายที่ดีตลอดจนเรียนรู้ถึงจรรยาบรรณและเจตคติที่ดีของนักขาย

รายวิชา 3222115

การสื่อสารทางการตลาด

3 (3-0-6)

 

Marketing Communication and Public Relations

 

        ศึกษาลักษณะทั่วไป และความสำคัญของการสื่อสาร กระบวนการสื่อสารทางการตลาด รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ทางการตลาด กระบวนการประชาสัมพันธ์ทางการตลาดทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เทคนิคและเครื่องมือในการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ทางการตลาด การสื่อสารกับการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3222116

การตลาดทางตรง

3 (3-0-6)

 

Direct Marketing

 

        ศึกษาหลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับตลาดทางตรง กระบวนการ ผลกระทบการจัดการ กลยุทธ์และยุทธวิธีในการดำเนินการ ตลอดจนปัญหาและแนวทาง แก้ไขสำหรับตลาดทางตรง

รายวิชา 3222604

การจัดการการจัดส่งสินค้า

3 (3-0-6)

 

Transportation Management

 

        ศึกษาประเภทและรูปแบบการดำเนินงานด้านการขนส่ง ความสำคัญของการจัดส่งที่มีต่อธุรกิจ วิธีการจัดส่งสินค้าแบบต่าง ๆ ข้อปฏิบัติด้านอัตราค่าระวางขนส่งในรูปแบบต่าง ๆ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนการดำเนินงานและการแข่งขัน วิธีการจัดตั้งหน่วยขนส่ง การจัดการการจัดส่งอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ระบบสารสนเทศในกระบวนการการจัดส่งสินค้า

รายวิชา 3222605

การจัดการการขาย

3 (3-0-6)

 

Sales Management

 

        ศึกษาบทบาท ความรับผิดชอบ ขอบเขตงานของหน่วยงานขายและผู้บริหาร การจัดรูปแบบ ความสำคัญขององค์กรฝ่ายขาย การจัดองค์การ การกำหนดนโยบาย การวางแผน และวิเคราะห์การขาย การประเมินผลและควบคุม การพยากรณ์การขาย การกำหนดโคว์ต้า และงบประมาณการขาย รวมทั้งกลยุทธ์ในการขาย

รายวิชา 3223301

การตลาดบริการ

3 (3-0-6)

 

Service Marketing

 

        ศึกษาความหมาย และความสำคัญของตลาดบริการ ประเภทของตลาดบริการ วิธีวิเคราะห์สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมของตลาดบริการประเภทต่าง ๆ การวางแผนและ กำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับตลาดบริการ ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาทางการตลาดของธุรกิจบริการ เพื่อกำหนดแนวทางแก้ไข

รายวิชา 3223302

การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Social Marketing and Environment

 

        ศึกษาความหมาย และความสำคัญของสังคมและสิ่งแวดล้อมทางการตลาด วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ ปรัชญาทางการตลาดที่มุ่งเน้นสังคมและสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้กระบวนการจัดการทางการตลาดเพื่อสภาพปัญหาของสังคม การปรับกลยุทธ์การตลาดเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในสภาพการตลาดปัจจุบัน

รายวิชา 3223501

การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

3 (3-0-6)

 

Logistics Management

 

        ศึกษาหลักการ ความสำคัญ การจัดการห่วงโซ่อุปทานที่มีต่อองค์กรและเศรษฐกิจ การใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อการจัดส่งระหว่างประเทศ การวางแผนระบบการจัดส่งและโซ่อุปทาน การจัดการสินค้าคงคลัง การขนส่ง การบรรจุภัณฑ์และการจัดซื้อ การวางแผนกลยุทธ์ รวมทั้งการควบคุมการปฏิบัติงาน การจัดส่งระหว่างประเทศและโซ่อุปทานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดกับธุรกิจ

รายวิชา 3223607

การจัดซื้อ

3 (3-0-6)

 

Purchasing

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3221101 หลักการตลาด

        ศึกษาหลักการ และการบริหารเกี่ยวกับการจัดซื้อในเรื่องการจัดรูปองค์การ การกำหนด และตรวจสอบคุณสมบัติ การกำหนดจำนวนที่จะซื้อ การพิจารณาและการกำหนดจังหวะเวลาในการซื้อ การเลือกและหาแหล่งขาย วิธีจัดซื้อแบบต่าง ๆ นโยบายซื้อหลังผลิต การควบคุมและวิธีการจัดซื้อ

รายวิชา 3224303

การพยากรณ์ทางการตลาด

3 (3-0-6)

 

Marketing Forecasting

 

        ศึกษาหลักทฤษฏีและความสำคัญของการพยากรณ์การตลาด เทคนิคและวิธีการพยากรณ์ระยะสั้น และระยะยาว ประโยชน์ของการพยากรณ์ที่นำมาใช้ในการวางแผนและควบคุม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ ความถูกต้อง แม่นยำของการพยากรณ์ รวมทั้งการนำผลของการพยากรณ์ไปปรับปรุงและพัฒนาแผนการตลาด

รายวิชา 3224903

ประเด็นปัญหาปัจจุบันทางการตลาด

3 (2-2-5)

 

Current Issues Problem in Marketing

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน: 3223606 การจัดการการตลาด

        ศึกษาถึงประเด็นปัญหาทางการตลาด หัวข้อข่าวสารทางการตลาดที่น่าสนใจในปัจจุบัน เพื่อวิเคราะห์ อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางการตลาด แนวคิด เทคนิคและวิธีการทางการตลาดเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ โดยประยุกต์ความรู้ทางด้านการตลาดและการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

        3.3 รายวิชาเลือกหมู่วิชาการตลาด (สำหรับนักศึกษาต่างสาขา)

รายวิชา 3221103

การตลาดเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Marketing

 

        ศึกษาระบบและหน้าที่การตลาดเกษตร บทบาทและนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการตลาดการรวมกลุ่มตลาดผลิตผลเกษตรในต่างประเทศ การตั้งราคาตลาดต้นทุนและส่วนเหลื่อมของการตลาด (มีการศึกษานอกสถานที่)

รายวิชา 3221104

การตลาดสหกรณ์

3(3-0-6)

 

Cooperative Marketing

 

        ศึกษาลักษณะโครงสร้างทั่วไปของเศรษฐกิจเกษตร หลักการตลาดทั่วไป หลักสหกรณ์วิธีดำเนินการตลาด วิธีการรวบรวม และการรับผลิตภัณฑ์จากสมาชิก การจัดมาตรฐาน การคัดชนิด การแยกคุณภาพ การเก็บรักษา การแปรรูป การวางแผนต้นทุนการตลาด วิธีการคุมค่าใช้จ่าย การกำหนดราคา และการชำระราคาแก่สมาชิก การจัดหาเงินทุน ข้อตกลงเกี่ยวกับสมาชิก และการทำสัญญาเกี่ยวกับสมาชิก ข้อจำกัดและปัญหาทางการตลาด (มีการศึกษานอกสถานที่)

รายวิชา 3222106

สินค้าเกษตรกรรม

3(3-0-6)

 

Agricultural Goods

 

        ศึกษาการดำเนินการและการจัดการสินค้าเกษตรกรรม ปัญหาการตลาดเกี่ยวข้องกับการเกษตร หรือสถาบันเกษตรกรที่ดำเนินธุรกิจด้านการตลาดที่สำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ยาสูบ สัตว์น้ำ ปศุสัตว์ ผัก ผลไม้ ไม้ดอก ฯลฯ ปัญหาการแปรรูป การขนส่ง การจำหน่าย การโฆษณาและการกำหนดราคา ผลงานวิจัยและค้นคว้าเกี่ยวกับ การตลาดผลิตผลที่สำคัญ

รายวิชา 3222107

การตลาดผลิตผลการเกษตรเฉพาะอย่าง

3(3-0-6)

 

Marketing of Selected Agricultural Commodities

 

        ศึกษาลักษณะสำคัญของการตลาดผลิตภัณฑ์เฉพาะด้าน การตลาดพืชเศรษฐกิจ ปศุสัตว์ และเนื้อสัตว์ สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ผลไม้และพืชผักการตลาด ผลิตภัณฑ์นม ข้อจำกัดและปัญหา การควบคุมของรัฐ การส่งเสริมการตลาด (มีการศึกษานอกสถานที่)

รายวิชา 3222108

ราคาผลิตผลทางการเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Product Prices

 

        ศึกษาถึงลักษณะอุปสงค์และอุปทานของผลิตผลเกษตร การกำหนดราคา และความเคลื่อนไหวของราคาสินค้าเกษตร แนวโน้มราคา ความยืดหยุ่นและความเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานสินค้าเกษตร ราคา และรายได้ของผู้บริโภค การเปลี่ยนแปลงนโยบายและปัจจัยต่างๆของรัฐในด้านราคา และการรักษาเสถียรภาพราคา

รายวิชา 3222111

การส่งเสริมการขายทางด้านโรงแรม

3(3-0-6)

 

Hotel Sales Promotion

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะตลาดของโรงแรม การส่งเสริมการขาย การส่งเสริมการขายที่ผ่านคนกลาง การโฆษณา การส่งเสริมการขายผ่านไปรษณีย์ การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการขายห้องอาหาร สถานเริงรมย์ และห้องประชุมสัมมนา

รายวิชา 3222112

การตลาดเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

3(3-0-6)

 

Make ting for Tourism Industry

 

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของตลาดการท่องเที่ยวส่วนประกอบของตลาดเพื่อการท่องเที่ยว การจัดลำดับความสำคัญของตลาดเป้าหมาย การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน การวางแผน และกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว

รายวิชา 3222113

ศิลปะการขายในงานโรงแรม

3(3-0-6)

 

Selling Technique in Hotel

 

        ศึกษาถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการขาย ตลอดจนเทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขาย เช่น งานบริการส่วนหน้า งานบริการอาหาร และเครื่องดื่ม ฯลฯ และศึกษาพฤติกรรมของลูกค้าผู้มาใช้บริการ ปัญหาในการให้บริการและเทคนิคในการแก้ไขปัญหาการใช้จิตวิทยา และมนุษยสัมพันธ์ในการขาย การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้มาใช้บริการตลอดจนจรรยาบรรณของนักขาย และผู้ให้บริการ

รายวิชา 3222114

การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

3(3-0-6)

 

Advertising and Sales Promotion

 

        ศึกษาความสำคัญของการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย บทบาทขององค์การตลาด ศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อกำหนดแผนงานและกลยุทธ์การทำโฆษณาและการส่งเสริมการขาย การรณรงค์สร้างสรรค์และการวางแผนเกี่ยวกับการใช้สื่อกำหนดวัตถุประสงค์ งบประมาณและการประเมินผลการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย ศึกษาถึงผู้มีหน้าที่รับผิดชอบงานโฆษณา และส่งเสริมการขายต่อสังคมตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

รายวิชา 3223117

การมาตรฐานผลิตภัณฑ์

3(3-0-6)

 

Production Standards

 

        ศึกษาความหมาย วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ และชนิดของมาตรฐานการผลิตภัณฑ์มาตรฐานและกฎหมายพาณิชย์ ผลประโยชน์ การศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานบางชนิดการมาตรฐานผสมผสาน การได้เปรียบเสียเปรียบเชิงพาณิชย์ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ คลังสินค้า ยุ้งฉางผลิตภัณฑ์ ปัญหาที่เกิดขึ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบ

รายวิชา 3223118

การค้าข้าวและโรงสี

3(3-0-6)

 

Rice Marketing and Rice mill

 

        ศึกษาชนิดของข้าวและศูนย์กลางการค้าข้าวของประเทศไทย การค้าข้าวภายในประเทศ และกับต่างประเทศ ภาษีเกี่ยวกับการค้าข้าว การพยุงและการประกันราคา ปัญหาและอุปสรรคในการค้าข้าว คุณภาพ และมาตรฐานข้าวโซโล บทบาทของโรงสีและพ่อค้าข้าว

รายวิชา 3223119

การขายและการโฆษณาสินค้าเกษตร

3(3-0-6)

 

Sale and Agricultural Goods Advertising

 

        ศึกษาความสำคัญของการขาย นโยบายการขาย การจัดการขาย การขายส่ง การขายปลีก การเป็นพนักงานขายในธุรกิจการเกษตร การใช้พนักงานขาย พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคการโฆษณา ลักษณะ และขอบเขตขบวนการกิจกรรมส่งเสริมการขายและโฆษณา ลักษณะทางสังคมและจิตวิทยา จรรยาบรรณ ความจริงใจในการโฆษณา การส่งเสริมการโฆษณา งบประมาณ

รายวิชา 3223120

พฤติกรรมผู้บริโภคกับการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Consumer Behavior and industrial Design

 

        ศึกษาถึงอิทธิพลทางการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะและบทบาทของพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวมทั้งการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากพฤติกรรมผู้บริโภคมาปรับ และนำมาใช้ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

รายวิชา 3223121

ศิลปะการขายในร้านอาหารและภัตตาคาร

3(3-0-6)

 

Salesmanship in Food Shop and Restaurant

 

        ศึกษาถึงกระบวนการขาย ศิลปะการขาย และการใช้ศิลปะในการขายในร้านอาหาร แลภัตตาคาร พฤติกรรมของลูกค้า และเทคนิคในการแก้ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับลูกค้า การใช้จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ การปรับปรุงตนเองให้มีคุณสมบัติของนักขายที่ดี และเรียนรู้ถึงจรรยาบรรณและเจตคติที่ดีของนักขาย

รายวิชา 3223608

งานซื้อขายและบริการ

3(3-0-6)

 

Seling-Buying and services

 

        ศึกษาลักษณะอาชีพและการตลาด การจัดตั้งและการจัดการธุรกิจประเภทต่างๆการบันทึกและจัดทำรายงานทางการเงินของธุรกิจ การฝึกปฏิบัติการขายและบริการ

รายวิชา 3224304

ปัญหาการตลาดธุรกิจศิลปะ

3(3-0-6)

 

Marketing Problems and Business Arts

 

        ศึกษาหลักการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาทางการตลาด เทคนิคการโฆษณา ลักษณะการตลาดโฆษณา ตลาดผูกขาดกึ่งผูกขาด แนวทางปฏิบัติการแข่งขัน การออกแบบและโฆษณาสินค้า

รายวิชา 3224305

การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางการตลาด

3(3-0-6)

 

Quantitative Analysis for Marketing

 

        ศึกษาการตลาด การตลาดกับสภาพแวดล้อม ระบบข้อมูลข่าวสารทางการตลาด ความน่าจะเป็น ทฤษฎีการตัดสินใจ การจัดซื้อสินค้า การผลิตเมตริกซ์ การโปรแกรมเชิงเส้น เทคนิคการตั้งราคา การขนส่ง และช่องทางการจำหน่าย วิธีซิมเพล็กซ์ การมอบหมายงานและการพยากรณ์

 

            3.4 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 15 หน่วยกิต

รายวิชา 3202206

การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์

3(2-2-5)

 

E-Business Management

 

        ศึกษาการวางแผนโครงการทางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การสร้างทีมงานและกำหนด หน้าที่รับผิดชอบ การประมาณการงบประมาณและค่าใช้จ่ายทางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการโครงสร้างและการออกแบบระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการระบบ การจัดการระบบข้อมูลและความปลอดภัย การจัดการระบบสินค้าและการตลาด และการจัดการระบบการเงิน

รายวิชา 3202207

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3(2-2-5)

 

E-Commerce Law

 

        ศึกษากฎหมายโทรคมนาคม กฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลและคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัว กฎหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ต

รายวิชา 3202208

ระบบสารสนเทศทางการเงิน

3 (2-2-5)

 

Financial Information System

 

        ศึกษาภาพรวมของระบบสารสนเทศของสถาบันการเงินต่าง ๆ และการประยุกต์โปรแกรมสำหรับการนำมาใช้ในสถาบันการเงิน เช่น บัญชีสินทรัพย์ประจำ และบัญชีกระแสรายวัน การดำเนินกรรมวิธีการกู้เงิน และการแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ การรายงานทางด้านการเงิน

รายวิชา 3203203

การประมวลผลวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Application in Business Research Processing

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการวางแผนการดำเนินการวิจัยทางธุรกิจ การสุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ การทดสอบสมมุติฐาน และระดับนัยสำคัญทางสถิติ และการจัดทำรายงานการวิจัยทางธุรกิจ

รายวิชา 3203205

การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Application in Accounting System Design

 

        ศึกษา วิเคราะห์ และออกแบบประยุกต์การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล เป็นเครื่องมือในการจัดวางโครงสร้างของระบบบัญชี การบันทึกและแก้ไขการลงบัญชี การประมวลผล การผ่านบัญชี การรายงาน งบการเงินต่าง ๆ การจัดระบบความปลอดภัยของข้อมูล และการตรวจสอบควบคุมระบบบัญชี

รายวิชา 3212625

การวางแผนและบริหารโครงการ

3(3-0-6)

 

Planning and Project Management

 

        ศึกษาลักษณะและความหมายของการวางแผน กระบวนการในการวางแผน ประเภทของแผน ข้อดีและข้อจำกัดของการวางแผน บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ลักษณะของแผนที่ดี การวางแผนภายใต้สภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่องานการวางแผนปฏิบัติงาน การจัดทำโครงการ เทคนิคการวางแผนปฏิบัติงานและการเลือกใช้ การประเมินผลโครงการ

รายวิชา 3213652

การจัดการคุณภาพ

3 (3-0-6)

 

Quality Management

 

วิชาต้องเรียนมาก่อน : 3211101 องค์การและการจัดการ

        ศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาการของการบริหารการจัดการคุณภาพ ตลอดจนทั้งแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพทั่งทั้งองค์การ โดยคำนึงถึงต้นทุน คุณภาพ และบรรทัดฐานในการจัดการกลยุทธ์การแข่งขัน รวมทั้งการพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้เกิดการจัดการที่ดี (Good Governance)

รายวิชา 3243205

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินและการบัญชี

3 (2-2-5)

 

Computer Application in Finance and Accounting

 

        ศึกษาข้อมูลทางด้านการเงิน และการบัญชี เช่น บัญชีลูกหนี้ บัญชีเจ้าหนี้ บัญชีสินค้าคงคลัง บัญชีเงินเดือน บัญชีต้นทุนการผลิตบัญชีเพื่อวิเคราะห์ต้นทุน และงบการเงิน การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้กับงานดังกล่าว

รายวิชา 3243206

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านการผลิต

3 (2-2-5)

 

Computer Applications in Production

 

        ศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางด้านการผลิต การจัดระบบข้อมูล และการออกแบบรายงานด้านการผลิต การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้งานดังกล่าว

รายวิชา 3243207

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านงานบุคคล

3 (2-2-5)

 

Computer Applications in Personnel

 

        ศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางด้านทะเบียนบุคคล และการจ่ายเงินเดือนการจัดระบบข้อมูล และการออกแบบรายงานผลด้านบุคคล การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้กับงานดังกล่าว

รายวิชา 3243208

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ด้านการตลาด

3 (2-2-5)

 

Computer Applications in Marketing

 

        ศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางด้านการตลาด การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การจัดระบบข้อมูล และการออกแบบรายงานด้านการตลาด การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้กับงานดังกล่าว

รายวิชา 3243209

เทคโนโลยีระบบมัลติมีเดียสำหรับงานธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Multimedia Technology for Business Application

 

        ศึกษาชนิดข้อมูลของมัลติมีเดีย ทฤษฎีการแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปดิจิตอล หลักการลดขนาดข้อมูลที่จัดเก็บ การปรับแต่งข้อมูลของมัลติมีเดีย การใช้เครื่องมือฮารด์แวร์และซอฟต์แวร์ในการปรับแต่งข้อมูลของมัลติมีเดีย ไฮเปอร์ลิงค์ การออกแบบและพัฒนาระบบงานมัลติมีเดียในงานธุรกิจ

รายวิชา 3243210

การเงินและการธนาคารสำหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

3(2-2-5)

 

Finance and Banking for E-Commerce

 

        ศึกษาวิวัฒนาการของสื่อการชำระเงินสมัยใหม่ การให้บริการทางการเงินของธนาคารที่สนับสนุนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการสั่งซื้อและการจ่ายเงินสำหรับเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในบัตรสมาร์ดการ์ด การชำระเงินสมัยใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ ของระบบพณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

รายวิชา 3244902

สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Seminar in Business Computer

 

        ศึกษาการวิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาเกี่ยวกับงานธุรกิจ โดยนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เน้นให้นักศึกษาวิเคราะห์ ออกแบบระบบพร้อมทั้งนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในการบริหาร หรือนำความรู้และเทคนิคต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการศึกษากรณีศึกษาได้

รายวิชา 4312301

การเขียนโปรแกรมสำหรับเว็บ

3 (2-2-5)

 

Web Programming

 

        ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต เวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ การเขียนภาษาสคริปต์ การเขียนโปรแกรมด้านลูกข่าย การเขียนโปรแกรมด้านแม่ข่าย ระบบฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต การสร้างเว็บไซต์ในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ

รายวิชา 4312302

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ

3 (2-2-5)

 

Computer Programming in Business

 

        ศึกษาการประยุกต์คอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ รายการข้อมูลธุรกิจ การประยุกต์ทางการบัญชี และระบบข่าวสารทางบัญชี การจ่ายเงินเดือน บัญชีรายจ่าย บัญชีรายรับ การแจ้งหนี้สิน บัญชีแยกประเภท วัสดุและการควบคุมการปฏิบัติงาน การออกใบสั่งของ การควบคุมสินค้าคงคลังและการคาดคะเนการจัดซื้อ การวิเคราะห์ การขาย การประยุกต์กับงานธุรกิจและธนาคาร

รายวิชา 4312703

เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

3 (2-2-5)

 

Internet Technology

 

        ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต เทคนิคและเครื่องมือสำหรับอินเทอร์เน็ต เวิลด์ไวด์เว็บ การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ ธุรกิจและการพาณิชย์ในอินเทอร์เน็ต ความปลอดภัยในอินเทอร์เน็ต ระบบฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์บนอินเทอร์เน็ตและเวิลด์ไวด์เว็บ

รายวิชา 4313401

โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม

3 (2-2-5)

 

Data Structure and Algorithm

 

        ศึกษาโครงสร้างการเก็บข้อมูลแบบแสตก คิว ลิงค์ลิส ทรี กราฟ ตารางแฮช เทคนิคการจัดเรียง และการค้นหาข้อมูล การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม หลักพื้นฐานการจัดการหน่วยความจำ

รายวิชา 4313501

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

3 (2-2-5)

 

Decision Support Systems

 

        ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและแนวคิดของการดำเนินการตัดสินใจ ทฤษฎีการตัดสินใจ กระบวนการตัดสินใจ ชนิดของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การสำรวจ การออกแบบ การแปลงปัญหาและการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการตัดสินใจ ตัวอย่างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

        4) วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 5 หน่วยกิต

รายวิชา 3204826

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ

5 (450)

 

Field Experience in Business Administration

 

        จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการบริหารธุรกิจในหน่วยงานรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ หรือธุรกิจเอกชน ภายใต้การควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา โดยนำความรู้ทั้งทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในสถานการณ์จริงจัดให้มีการปฐมนิเทศเกี่ยวกับรายละเอียดของการฝึกประสบการณ์ และจัดให้มีการปัจฉิมนิเทศเพื่ออภิปรายปัญหาการฝึกประสบการณ์ที่เกิดขึ้น และเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยอาจจัดให้ฝึกประสบการณ์ทั้งหมด หรือฝึกประสบการณ์และทำโครงการพิเศษ หรือฝึกประสบการณ์และทำภาคนิพนธ์

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี               

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวการณ์มีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร   

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

***************

ภาคผนวก

 

1. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พุทธศักราช 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรใหม่

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

    1.1 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         โปรแกรมวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
    1.2 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         โปรแกรมวิชาการตลาด
    1.3 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

    1.1 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
    1.2 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         สาขาวิชาการตลาด
    1.3 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

2

ชื่อปริญญา

    1.1 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         โปรแกรมวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
    1.2 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         โปรแกรมวิชาการตลาด
    1.3 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

    1.1 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
    1.2 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         สาขาวิชาการตลาด
    1.3 บริหารธุรกิจบัณฑิต
         สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5 ข้อ

4 ข้อ

วัตถุประสงค์หลักสูตรเดิมนั้นเป็นลักษณะของการเน้น
ความรู้ความสามารถด้านอาชีพแต่วัตถุประสงค์หลัก
สูตรใหม่ยังเพิ่มในเรื่องของความก้าวล้ำทางวิชาชีพ
และจรรยาบรรณในวิชาชีพ

5

หลักสูตร

 

เรียนคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 5 นก. เรียน 
อย่างน้อย 12 นก.

 จัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
และหมวดวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 149 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

     

2.1 วิชาพื้นฐานวิชาชีพ

-

42 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาชีพ(บังคับ)

48หน่วยกิต

33 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาชีพ(เลือก)

36 หน่วยกิต

15 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

 

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15หน่วยกิต

-

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี

10 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ยึดระบบ ISCED แต่ปรับเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

 5.4.1 เดิมมี  56  รายวิชา
5.4.2 เดิมมี  56  รายวิชา
5.4.3 เดิมมี  56  รายวิชา

5.4.1 ปรับปรุงใหม่...16.รายวิชา
5.4.2 คำอธิบายใหม่ 39 รายวิชา
ปรับปรุง 11 รายวิชา

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

1.1 ไม่มี
1.2 ไม่มี
1.3 ไม่มี

1.1 มี 5 คน
1.2 มี 5 คน
1.3 มี 5 คน

หลักสูตรเดิมเป็นความรับผิดชอบในภาพรวมของ
โปรแกรมวิชาจึงไม่ได้แยกเป็นหลักสูตร

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

1. อาจารย์ลัคนา ปานสำลี วท.ม. (การสอนคณิตศาสตร์)

2. ผศ.ดุสิต ภู่ตระกูล วท.ม. (การสอนเคมี)

3. ผศ.จำลอง ลือชา พบ.ม. (การบริหารทรัพยากรมนุษย์)

4. ผศ.สาลินี อินทพิบูลย์ พบ.ม. (การบริหารทรัพยากรมนุษย์)

5. อาจารย์นวพร ฉายเรืองโชติ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)

6. อาจารย์แวววัน ชมพูนุท ณ อยธุยา M.B.A. UNIVERSITY OF CENTRAL TEXAS, USA.

7. อาจารย์ธนศักดิ์ พัฒนานุชาติ ศศ.ม. (การบริหารการศึกษา)

8. อาจารย์นันทภัค สาดบุญมี บธ.ม. (บริหารธุรกิจทั่วไป)

9. นางสาวลักษมี งามมีศรี บธ.ม. (การเงินการธนาคาร)

10. อาจารย์ธิติยา ทองเกิน บธ.ม. บริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป)

11. รศ.สุจินดา เจียมศรีพงษ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

12. รศ.ยุทธนา ธรรมเจริญ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

13. อาจารย์ดาริน อาภัทสระวิโรจน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

14. อาจารย์ภาวินี ชังเภา มหาวิทยาลัยนเรศวร

3. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

3.1 มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร. ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอก ศิริ ทิวะพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

3.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์แกรนด์รีสอร์ท จ.พิษณุโลก วันที่ 28-30 ตุลาคม 2545 ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตร วิชาแกน วิชาบังคับและวิชาเลือกบางส่วน

3.3 สำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2546

3.4 ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฯ ณ ภาควิชาฯ เมื่อวันที่ 27-30 มิถุนายน 2548

3.5 ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป ( ตามประกาศมหาวิทยาลัย ) และกลุ่มวิทยาการจัดการ

3.6 วิพากษ์หลักสูตร โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ณ ห้องประชุม 812 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548

3.7 ปรับปรุงแก้ไข นำเสนอต่อมหาวิทยาลัย ฯ

4. รายการปรับปรุง

ข้อเสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิ

การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป

    1.1 ปรัชญาของหลักสูตร ควรบอกว่าเป็นหลักสูตรสาขาบริหารธุรกิจด้วย เพื่อความชัดเจน
    1.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ควรมีองค์ประกอบ 3 ข้อ คือ ด้านความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะความสามารถและความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
   1.3 หลักสูตรระดับปริญญาตรี ควรวางหลักสูตร เพื่อให้เนื้อหาต่อเนื่องกับในระดับการเรียนที่สูงขึ้น เช่น ปริญญาโท และปริญญาเอก

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป

    ภาควิชาฯ ได้ปรับตามผู้ที่ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

    1. ได้ปรับปรัชญาหลักสูตรใหม่
    2. มีการเพิ่มวิชาจริยธรรมทางธุรกิจเข้าไปไว้ในวิชาแกน

2. วิชาที่เป็นวิชาแกน

    2.1 วิชาการบริหารการผลิต ควรปรับชื่อเป็น หลักการจัดการเชิงปฏิบัติการ
    2.2 ตัดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจออก เพราะมีแทรกอยู่แล้วในรายวิชาต่าง ๆ โดยวิชานี้ให้เป็นวิชาเลือกของคณะอื่น
    2.3 วิชาเศรษฐศาสตร์ทั่วไป ควรปรับเป็นวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
    2.4 วิชาสถิติธุรกิจ และวิชาวิเคราะห์เชิงปริมาณ ควรนำมารวมเป็นวิชาเดียวกัน ใช้ชื่อว่า สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
    2.5 ควรเพิ่มวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ
    2.6 ควรเพิ่มวิชาจิตวิทยาทางธุรกิจ
    2.7 วิชากฎหมายธุรกิจและวิชาการภาษีอากรธุรกิจ ควรนำมารวมกันเป็นวิชาเดียวกันใช้ชื่อว่า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีอากรและกฎหมายธุรกิจ

2. วิชาที่เป็นวิชาแกน

    ภาควิชาฯ ได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอตั้งแต่ข้อ 2.1-2.7

3. รายวิชาที่เป็นวิชาบังคับเอกและวิชาเลือกแขนง

    ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนำว่า ควรใช้คำว่า การจัดการ แทนคำว่า การบริหารในชื่อวิชาต่าง ๆ เช่น การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ควรใช้ชื่อว่า การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น

3. รายวิชาที่เป็นวิชาบังคับเอก และวิชาเลือกแขนง

    ภาควิชาฯ ได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอแนะ

        4.1 สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

วิชา องค์การและการจัดการ  /   Organization and Management

รหัสวิชาใหม่ 3211101  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3561101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป หลักเกณฑ์และแนวคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ลักษณะประเภทของการประกอบธุรกิจ จริยธรรมของผู้ประกอบธุรกิจ หลักการบริหาร และหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้านในแง่การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การนำการควบคุมการปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายที่ตั้งไว้ และเทคนิคการจัดการสมัยใหม่

    ลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป การวางแผน การจัดสายงานหลักเกณฑ์แลแนวความคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ลักษณะประเภทของการประกอบธุรกิจ หลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหารทุก ๆ ด้าน ในแง่การวางแผนการจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจคนทำงาน การควบคุมปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมาย และนโยบายที่ตั้งไว้

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ  /   Introduction to Business

รหัสวิชาใหม่ 3211107 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3561204  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาถึงลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจริยธรรมและจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

    ศึกษาถึงลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคลการบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภท ต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ /   Human Resource Management

รหัสวิชาใหม่ 3212627  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา 3562402  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมา ทฤษฎีและหลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ขอบข่ายหน้าที่ความรับผิดชอบ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ขั้นตอนในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การวางแผนกำลังคน การสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม การจ่ายค่าตอบแทน และข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์

    ศึกษาถึงลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคลการบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภท ต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การบริหารค่าจ้างและเงินเดือน /   Wage and Salary Management  / วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3212627 การบริหารทรัพยากรมนุษย์

รหัสวิชาใหม่ 3213645  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3563402  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาการกำหนดนโยบาย และวัตถุประสงค์ของการจ่ายค่าตอบแทน หลักการจ่ายค่าตอบแทนในทัศนะของนักบริหาร การประเมินค่างาน การสำรวจค่าตอบแทน เพื่อกำหนดโครงสร้างค่าตอบแทน วิธีการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับพนักงานระดับต่าง ๆ ค่าจ้างจูงใจสำหรับพนักงานบางประเภท รูปแบบการจัดประโยชน์และสวัสดิการให้กับพนักงาน

    ศึกษาถึงวิธีจ่ายค่าตอบแทน การกำหนดนโยบาย โครงสร้างและวิธีการจ่ายค่าตอบแทน หลักการจ่ายค่าตอบแทนในทัศนะของนักบริหารโครงสร้างและรายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนในองค์การ และพนักงานประเภทต่าง ๆ การวิเคราะห์ค่าตอบแทน ค่าจ้างเงินเดือนในองค์การธุรกิจให้เกิดความเป็นธรรมและความพึงพอใจ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การสรรหาและบรรจุพนักงาน  /   Recruitment and Placement of Personnel / วิชาที่ต้องเรียนมากก่อน : 3212627

รหัสวิชาใหม่ 3213136  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3213136  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษานโยบายและการกำหนดนโยบายในการสรรหาและการบรรจุบุคคล การพยากรณ์ความต้องการกำลังคน การวางแผนกำลังคน การสรรหาและการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานตามความสามารถของบุคคล กลยุทธ์ในการทดสอบและการสัมภาษณ์บุคคลเข้าทำงาน หลักพฤติกรรมศาสตร์ที่ใช้ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน การปฐมนิเทศ การบรรจุพนักงาน การสอนแนะงาน และกฎหมายที่เกี่ยวกับการสรรหาและการบรรจุพนักงาน

    ศึกษานโยบายและการกำหนดนโยบายในการสรรหาและการบรรจุบุคคลการพยากรณ์ความต้องการกำลังคน การวางแผนกำลังคน การสรรหาและการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานตามความสามารถของบุคคล กลยุทธ์ในการทดสอบและการสัมภาษณ์บุคคลเข้าทำงาน หลักพฤติกรรมศาสตร์ที่ใช้ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน การบรรจุพนักงาน การปฐมนิเทศ การสอนแนะงาน และกฎหมายที่เกี่ยวกับการสรรหาและการบรรจุพนักงาน

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม  /   Personnel Development and Training / วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3212627

รหัสวิชาใหม่ 3213137  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3563404  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่บริหารงานทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาและการฝึกอบรม ความจำเป็นในการพัฒนาและฝึกอบรม การวางแผนพัฒนาและฝึกอบรม บรรทัดฐานของกลุ่มที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานและการเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐาน การตั้งวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม การจัดโครงการฝึกอบรม เทคนิคการฝึกอบรมแบบต่าง ๆ การประเมินผลการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาและการฝึกอบรม

    ศึกษาบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคลโดยเฉพาะด้านการพัฒนาและการฝึกอบรม ความจำเป็นในการพัฒนาและฝึกอบรมการวางแผนพัฒนาและฝึกอบรม บรรทัดฐานของกลุ่มที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานและการเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐาน การตั้งวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม การจัดโปรแกรมฝึกอบรม เทคนิคการฝึกอบรมแบบต่าง ๆ การประเมินผลการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรมปัญหาในการพัฒนาและการฝึกอบรม

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา สัมมนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ /   Seminal in Personal Administration / วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : เคยเรียนวิชาเอกของสาขามาแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

รหัสวิชาใหม่ 3214901  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3564901  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    วิเคราะห์ อภิปรายปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรธุรกิจ ศึกษาพฤติกรรมเกี่ยวกับบุคคลเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีสำหรับกลุ่มคนงานที่อยู่ในระดับต่าง ๆ โดยใช้พื้นความรู้ทางทฤษฎี เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาบุคคลที่เกิดขึ้นภายในองค์การ

    วิเคราะห์ ศึกษาปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรธุรกิจ ศึกษานโยบายพฤติกรรมเกี่ยวกับบุคคลเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีสำหรับกลุ่มคนงานที่อยู่ในระดับต่าง ๆ วิเคราะห์อภิปรายปัญหาต่าง ๆ ทางด้านการบริหาร การพัฒนา การฝึกอบรมบุคคลในองค์กรธุรกิจ โดยใช้พื้นความรู้ทางทฤษฎีเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาบุคคลที่เกิดขึ้นภายในองค์การ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การจัดการเชิงกลยุทธ์ /   Strategic Management

รหัสวิชาใหม่ 3214648  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3564201  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมายและแนวคิดการวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ ความแตกต่างของการวางแผนและการบริหารทั่วไป กับการจัดการเชิงกลยุทธ์ องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ กระบวนการของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์โครงสร้างอุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ เทคนิคต่าง ๆ ในการกำหนดกลยุทธ์รวมของธุรกิจ การประเมินผลและการติดตาม

    ศึกษาแนวคิดการวางแผนและการบริหารเชิงกลยุทธ์ ความแตกต่างของการวางแผนและการบริหารทั่วไป องค์ประกอบของการวางแผนเชิงกลยุทธ์การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ กระบวนการและเทคนิคการวางแผน การวางนโยบายธุรกิจ โครงสร้างสภาพแวดล้อมแห่งการแข่งขัน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก กลยุทธ์รวมของธุรกิจ การประเมินผลและการติดตาม

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา แรงงานสัมพันธ์ /   Labour Relations

รหัสวิชาใหม่ 3213133  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3563301  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมาย แนวคิด และระบบของการแรงงานสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับนายจ้าง ประวัติและวิวัฒนาการของสหภาพแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัญหาแรงงานสัมพันธ์ ระบบแรงงานสัมพันธ์ที่นำมาใช้ในประเทศไทย องค์การต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบแรงงานสัมพันธ์ในประเทศไทย สภาพข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง สภาพการจ้างและข้อตกลงที่เกี่ยวกับสภาพการจ้าง กระบวนการยื่นข้อเรียกร้องและการเจรจาต่อรอง การปิดงานและการนัดหยุดงาน การระงับข้อพิพาทแรงงาน และกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้อง

    ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับฝ่ายบริหาร ประวัติและวิวัฒนาการของสหภาพแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัญหาแรงงานสัมพันธ์ สภาพข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง กระบวนการเจรจาต่อรอง การนัดหยุดงาน นโยบายแรงงาน และภาวการณ์ทำงาน กฎหมายการทำงานที่เกี่ยวข้อง

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา จริยธรรมทางธุรกิจ /   Business Ethics

รหัสวิชาใหม่ 3203105  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3504101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาแนวความคิด ที่มา ของจริยธรรม หลักการทางจริยธรรมทางธุรกิจและเหตุผลที่ธุรกิจต้องมีจริยธรรม รวมทั้งการสร้างจริยธรรมในองค์การธุรกิจ เน้นจริยธรรมของผู้บริหาร (Management Ethics) และจริยธรรมของพนักงาน (Employees Ethic) แนวทางการควบคุมและส่งเสริมให้นักธุรกิจมีจริยธรรม การนำองค์การธุรกิจไปสู่ความสำเร็จด้วยจริยธรรม โดยใช้กรณีตัวอย่างประกอบ

    ศึกษาแนวคิดที่มาของจริยธรรมและเหตุผลที่ธุรกิจต้องมีจริยธรรม รวมทั้ง การสร้างจริยธรรมในองค์การธุรกิจ เน้นจริยธรรมของผู้บริหาร (Management Ethics) และจริยธรรมของพนักงาน (Employees Ethics) โดยใช้กรณีตัวอย่างประกอบ

ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การพัฒนาองค์การ /   Organization Development

รหัสวิชาใหม่ 3212122  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3562302  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาถึงแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการบริหารงานเชิงพฤติกรรมศาสตร์ การผสมผสานความเจริญเติบโตส่วนบุคคลของสมาชิกภายในองค์การเข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การ โดยเน้นหนักเรื่องการสร้างทีมงาน เพื่อนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นระบบเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพในองค์การ

    ศึกษาถึงแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการบริหารงานเชิงพฤติกรรมศาสตร์การผสมผสานความเจริญเติบโตส่วนบุคคลของสมาชิกภายในองค์การเข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การโดยเน้นหนักเรื่องการสร้างทีมงาน เพื่อนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นระบบเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององค์การ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ /   Human Relations in Organization

รหัสวิชาใหม่ 3212123  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3562303  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาลักษณะ แนวความคิด ขอบเขตและปัจจัยอันเป็นพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คณะและองค์การ การศึกษาสังคมมิติ เกมในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ การติดต่อสื่อสารระหว่างการประสานงาน หลักศาสนาที่ช่วยส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์กับการบริหาร

    การศึกษาลักษณะ แนวความคิด ขอบเขตและปัจจัยอันเป็นพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คณะและองค์การ หน้าที่และความรับผิดชอบต่อสังคมการดต่อสื่อสารระหว่างการประสานงาน หลักศาสนาที่ช่วยส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา พฤติกรรมองค์การ /   Organization Behavior

รหัสวิชาใหม่ 3212125  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3562306  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาถึงพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การในรูปของปัจเจกชนและกลุ่มซึ่งมีผลกระทบต่อการบริหาร ตลอดจนอิทธิพลต่าง ๆ อันเกิดจากสภาพแวดล้อม ศึกษาถึงการใช้พลังงานของกลุ่มให้เป็นประโยชน์ต่อองค์การ การสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคคลในองค์การถึงการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ

    ศึกษาถึงพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การในรูปของปัจเจกชนและกลุ่มซึ่งมีผลกระทบต่อการบริหาร ตลอดจนอิทธิพลต่าง ๆ อันเกิดจากสภาพแวดล้อม ศึกษาถึงการใช้พลังงานของกลุ่มให้เป็นประโยชน์ต่อองค์การ การสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคคลในองค์การถึงการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การสร้างทีมงาน  /   Teamwork Developing Techniques

รหัสวิชาใหม่ 3212208  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3562403  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมายและความสำคัญของการสร้างทีมงาน แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาองค์การ แนวความคิดเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม วิธีการพัฒนาการทำงานเป็นทีม การวางแผนและการออกแบบทางเลือกในการพัฒนาทีมงาน การสร้างทีมใหม่ ทีงานที่มีประสิทธิภาพ การสร้างความภาคภูมิใจในทีมงาน การฟื้นฟู ทีมงาน การบริหารความขัดแย้ง ปัญหาในการสร้างทีมงานและแนวทางแก้ไข

    ความหมายและความสำคัญของการสร้างทีมงาน แนวคิดพื้นฐานในกาพัฒนาองค์การ แนวคิดเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม วิธีการพัฒนาการทำงานเป็นทีมการวางแผนและการออกแบบทางเลือกในการพัฒนาทีมงาน การสร้างทีมใหม่การกำจัดความไม่เป็นระเบียบและความขัดแย้งในทีมข้อตกลงและการเอาชนะข้อตกลงที่ไม่เป็นระเบียบและความขัดแย้งในทีมข้อตกลงและการเอาชนะข้อตกลงไม่สมบูรณ์ การสร้างความภาคภูมิใจในทีมงาน การฟื้นฟู ทีมงาน การลดความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ปัญหาในการสร้างทีมงานและแนวทางแก้ไข

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน  /   Efficiency Development

รหัสวิชาใหม่ 3212126  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3562404  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมาย ขอบเขต ปรัชญา และอุดมการณ์ในการพัฒนาตนเอง บุคลิกภาพและการสำรวจบุคลิกภาพ การปรับแต่งบุคลิกภาพของตนเองและผู้อื่น ความต้องการของมนุษย์ ค่านิยม การสำรวจ และแลกเปลี่ยนค่านิยม ค่านิยมที่สัมพันธ์กับการทำงาน วัฒนธรรมในการทำงาน การตั้งเป้าประสงค์ของชีวิตและการทำงาน การสำรวจความรู้สึก ปัญหา อุปสรรคและวิธีการพิชิตอุปสรรคในการทำงาน การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน

    ความหมาย ขอบเขต ปรัชญา และอุดมการณ์ในการพัฒนาตนเอง บุคลิกภาพและการสำรวจบุคลิกภาพ การปรับแต่งบุคลิกภาพของตนเองและผู้อื่น ความต้องการของมนุษย์ ค่านิยม การสำรวจ และแลกเปลี่ยนค่านิยม ค่านิยมที่สัมพันธ์กับการทำงานวัฒนธรรมในการทำงาน การตั้งเป้าประสงค์ของชีวิตและการทำงานการสำรวจความรู้สึก ปัญหา อุปสรรคและวิธีการพิชิตอุปสรรคในการทำงาน การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

วิชา การวางแผนและนโยบายทางด้านทรัพยากรมนุษย์  /   Human Resource Planning and Policy

รหัสวิชาใหม่ 3213135  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3563405  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและนโยบายขององค์การ รวมทั้งการพยากรณ์กำลังคนในระยะสั้นและระยะยาว การสำรวจและวิเคราะห์กำลังคนที่มีอยู่และความสามารถของบุคคล การดำเนินงานติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนและนโยบาย

    ศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและนโยบายขององค์การ รวมทั้งการพยากรณ์กำลังคนในระยะสั้นและระยะยาว การสำรวจและวิเคราะห์กำลังคนที่มีอยู่และความสามารถของบุคคล การดำเนินงานติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนและนโยบาย

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

        4.2 สาขาวิชาการตลาด

วิชา การส่งเสริมการตลาด  /   Promotions  / พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาด

รหัสวิชาใหม่ 3222603 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชา

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความรู้เบื้องต้นด้านการส่งเสริมการตลาด รวมทั้งการสื่อสารการตลาด เข้าใจพึงกลยุทธ์ การวางแผน ในการส่งเสริมการตลาด รวมถึงการใช้เครื่องมือของการส่งเสริมการตลาดในทุก ๆ ด้าน ตลอดจนความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และการตลาดแบบบูรณาการ

 

ไม่มี

    เป็นรายวิชาใหม่ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักสูตร

วิชา การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ /   E-Marketing  / พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาดและ 3563204 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

รหัสวิชาใหม่ 3224201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชา

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมายและความสำคัญของการตลาดโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งวิธีการนำเสนอสินค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการขาย การบริการหลังการขาย วิธีการในการจัดส่งสินค้า การรับประกันคุณภาพสินค้า การเก็บรวบรวมข้อมูลทางการค้า โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงกลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย

ไม่มี

    เป็นรายวิชาใหม่ซึ่งสอดคล้องกับการทำธุรกิจในปัจจุบัน

วิชา การจัดการห่วงโซ่อุปทาน /   Logistics Management

รหัสวิชาใหม่ 3223501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชา

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาหลักการ ความสำคัญ การจัดการห่วงโซ่อุปทานที่มีต่อองค์กรและเศรษฐกิจ การใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อการจัดส่งระหว่างประเทศ การวางแผนระบบการจัดส่งและโซ่อุปทาน การจัดการสินค้าคงคลัง การขนส่ง การบรรจุภัณฑ์และการจัดซื้อ การวางแผนกลยุทธ์ รวมทั้งการควบคุมการปฏิบัติงาน การจัดส่งระหว่างประเทศและโซ่อุปทานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดกับธุรกิจ

ไม่มี

เป็นรายวิชาใหม่ซึ่งสอดคล้องกับการทำธุรกิจในปัจจุบัน

วิชา ประเด็นปัญหาปัจจุบันทางการตลาด เดิม ปัญหาพิเศษทางการตลาด /  Current Issues Problem in Marketing  / พื้นความรู้ : สอบได้3223606 การจัดการการตลาด /เดิม Special Problem in Marketing

รหัสวิชาใหม่ 3224903 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3544903  / คำอธิบายรายวิชา

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาถึงประเด็นปัญหาทางการตลาด หัวข้อข่าวสารทางการตลาดที่น่าสนใจในปัจจุบัน เพื่อวิเคราะห์ อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางการตลาด แนวคิด เทคนิคและวิธีการทางการตลาดเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ โดยประยุกต์ความรู้ทางด้านการตลาดและการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

    ศึกษากรณีตัวอย่างทางการตลาดของธุรกิจประเภทต่าง ๆ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ส่วนผสมทางการตลาด โอกาสทางการตลาด และปัญหาเพื่อกำหนดแนวทางแก้ไข

 

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เดิม การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม, การตลาดเพื่อสังคม/Social Marketing and Environment/พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาด/เดิม Marketing for Environment, Social Marketing

รหัสวิชาใหม่ 3223302  / คำอธิบายรายวิชาใหม่

รหัสวิชาเดิม 3543105, 3543106 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมาย และความสำคัญของสังคมและสิ่งแวดล้อมทางการตลาด วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ ปรัชญาทางการตลาดที่มุ่งเน้นสังคมและสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้กระบวนารจัดการทางการตลาดเพื่อสภาพปัญหาของสังคม การปรับกลยุทธ์การตลาดเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในสภาพการตลาดปัจจุบัน

    ศึกษาความหมายและความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและการตลาด วัตถุประสงค์และองค์ประกอบของการจัดการตลาด โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมและความพึงพอใจระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค วิเคราะห์การปรับกลยุทธ์ของการตลาดเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยคำนึงถึงวงการผลิตภัณฑ์ ศึกษาความหมายและความสำคัญของตลาด ตลอดจนแนวคิดหรือปรัชญาทางการตลาด โดยเฉพาะปรัชญาทางการตลาดที่มุ่งเน้นเพื่อสังคม ใช้กระบวนการจัดการทางการตลาดเพื่อเข้าใจสภาพและปัญหาของสังคม โน้มน้าวสังคมทำให้เกิดการเปลี่ยน-แปลงทางสังคมโดยรวม มากกว่าประโยชน์ขององค์กรธุรกิจ

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

  วิชา การพยากรณ์ทางการตลาด เดิม การพยากรณ์ยอดขาย / Marketing Forecasting / พื้นความรู้ : สอบได้ 3223606 การจัดการการตลาด เดิม Sales Forecasting

รหัสวิชาใหม่ 3224303 / คำอธิบายรายวิชาใหม่

รหัสวิชาเดิม 3544301 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาหลักทฤษฎีและความสำคัญของการพยากรณ์การตลาด เทคนิคและวิธีการพยากรณ์ระยะสั้นและระยะยาว ประโยชน์ของการพยากรณ์ที่นำมาใช้ในการวางแผนและควบคุม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ ความถูกต้อง แม่นยำของการพยากรณ์ รวมทั้งการนำผลของการพยากรณ์ไปรับปรุงและพัฒนาแผนการตลาด

    ศึกษาถึงกระบวนการพยากรณ์ อุปสงค์การตลาดและการขาย รวมทั้งการวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อธุรกิจ รวมทั้งศึกษาถึงเทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการพยากรณ์ระยะสั้นและระยะยาว และให้เข้าใจถึงแนวโน้มทางธุรกิจในสภาวะของการเปลี่ยนแปลง

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

  วิชา การจัดการการจัดส่งสินค้า เดิม การบริหารการจัดส่งสินค้า / Transportation Management เดิม Transportation

รหัสวิชาใหม่ 3222604 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3542303 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาประเภทและรูปแบบการดำเนินงานด้านการขนส่ง ความสำคัญของการจัดส่งที่มีต่อธุรกิจ วิธีการจัดส่งสินค้าแบบต่าง ๆ ข้อปฏิบัติด้านอัตราค่าระวางขนส่งในรูปแบบต่าง ๆ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนการดำเนินงานและการแข่งขัน วิธีการจัดตั้งหน่วยขนส่ง การจัดการการจัดส่งอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ระบบสารสนเทศในกระบวนการการจัดส่งสินค้า

    ศึกษาลักษณะ ระบบ ประเภทของการขนส่ง กำหนดและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับอัตราค่าระวางขนส่งในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในด้านต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนดำเนินงานและการแข่งขัน หลักการเลือกใช้บริการขนส่ง ผลกระทบของการขนส่งที่ดีต่อวงการอุตสาหกรรมและการตลาด บทบาทการขนส่งในการพัฒนาประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง บทบาทของรัฐที่ให้การสนับสนุนการขนส่งประเภทต่าง ๆ

   ปรับรหัสและคำอธิบายราย
วิชาเพื่อให้มีความทันสมัยต่อธุรกิจปัจจุบัน

  วิชา การจัดการการขาย เดิม การบริหารการขาย / Sales Management  / พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาด เดิม Sales Management

รหัสวิชาใหม่ 3222605 / คำอธิบายรายวิชาใหม่

รหัสวิชาเดิม 3542305  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาบทบาท ความรับผิดชอบ ขอบเขตงานของหน่วยงานขายและผู้บริหาร การจัดรูปแบบความสำคัญขององค์กรฝ่ายขาย การจัดองค์การ การกำหนดนโยบาย การวางแผนและวิเคราะห์การขาย การประเมินผลและควบคุม การพยากรณ์การขาย การกำหนดโควตาและงบประมาณการขาย รวมทั้งกลยุทธ์ในการขาย

    ศึกษาบทบาทความรับผิดชอบ และขอบเขตงานของผู้บริหารหน่วยงานขาย การจัดรูปแบบและความสำคัญขององค์การฝ่ายขาย การบริหารบุคคลในส่วนที่เกี่ยวกับการขายการควบคุมและการจูงใจพนักงานขาย การวางแผนเกี่ยวกับการขาย การพยากรณ์การขายการกำหนดโควตาและงบประมาณการขาย อาณาเขตการขาย การประเมินผลงานพนักงานขายรวมทั้งศึกษากลยุทธ์การขาย

ปรับรหัสและคำอธิบายรายวิชาเพื่อให้มีความทันสมัยต่อธุรกิจปัจจุบัน

  วิชา หลักการตลาด / Principles of Marketing

รหัสวิชาใหม่ 3221101 / คำอธิบายรายวิชาใหม

รหัสวิชาเดิม 3541101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาความหมายและความสำคัญของแนวความคิดทางการตลาด สภาพแวดล้อมทางการตลาด การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค การแบ่งส่วนตลาด กำหนดตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ ส่วนประสมการตลาด และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอิทธิพลทางการตลาด

    ศึกษาถึงความหมาย และความสำคัญของการตลาด ในฐานะเป็นกิจกรรม หลักทางธุรกิจอย่างหนึ่งโดยกล่าวถึงแนวทางการศึกษา แนวความคิดหรือปรัชญาทางการตลาด ส่วนผสมทางการตลาด ระบบการตลาดและเป้าหมาย แรงจูงใจ พฤติกรรมผู้บริโภค ความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนผสมการตลาด และประเภทของตลาด

    ปรับรหัสและคำอธิบายรายวิชา เพื่อให้มีความทันสมัยต่อธุรกิจปัจจุบัน

  วิชา การจัดการการจัดจำหน่าย เดิม การบริหารช่องทางการจัดจำหน่าย / Marketing Channel and Distribution Management เดิม Marketing Channels Management / พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาด

รหัสวิชาใหม่ 3222602 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3542302 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาถึงรูปแบบ ความสำคัญ และความหมายของการจัดจำหน่าย กลยุทธ์และการตัดสินใจด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า เพื่อให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพตรงกับเป้าหมายทางการตลาดขององค์กรธุรกิจ คนกลางทางการตลาด การจูงใจและกลยุทธ์การตลาดที่มีต่อคนกลางในการจัดจำหน่าย การควบคุมการจัดจำหน่าย การบริหารการขนส่ง การคลังสินค้า การจัดเก็บและเคลื่อนย้าย การใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดระบบ ข้อมูลในช่องทางการตลาดและการกระจายสินค้าให้เกิดประสิทธิภาพ

    กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดจำหน่าย การเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์จากแหล่งผลิตไปสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย ลักษณะและวิธีการดำเนินงานของสถาบันธุรกิจประเภทต่าง ๆ ที่เข้ามาปฏิบัติกิจกรรมเหล่านี้ ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มคนกลางประเภทต่าง ๆ การกระตุ้นและส่งเสริมคนกลาง การควบคุม และการประเมินผลระบบการจัดจำหน่าย

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

  วิชา การจัดการการตลาด เดิม การบริหารการตลาด / Marketing Management เดิม Marketing Administration / พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาด

รหัสวิชาใหม่ 3223606 / คำอธิบายรายวิชาใหม่

รหัสวิชาเดิม 3543101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมาย ความสำคัญ และแนวความคิดของการจัดการด้านการตลาด นโยบายและกลยุทธ์การจัดการด้านส่วนประสมการตลาด การแบ่งส่วนการตลาด ตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการวางแผนการตลาดและการควบคุมทางการตลาด

    ความสำคัญของการบริหารการตลาด บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารการตลาด การจัดองค์การการตลาด การวิเคราะห์โอกาสของการตลาด โครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค การวัดและการพยากรณ์ตลาด การแบ่งส่วนตลาด การวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการขาย

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

  วิชา การจัดการการค้าปลีกและค้าส่ง เดิม การขายส่งและการขายปลีก / Retailing and Wholesaling Management เดิม Wholesaling and Retailing / พื้นความรู้ : สอบได้ 3541101 หลักการตลาด

รหัสวิชาใหม่ 3221601 / คำอธิบายรายวิชาใหม่

รหัสวิชาเดิม 3541301 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ลักษณะความหมายและวัตถุประสงค์ทางการค้าปลีกและค้าส่ง ระบบการจัดการด้านการค้าปลีกและค้าส่งที่เกี่ยวกับการซื้อขาย กลยุทธ์การตลาดที่เกี่ยวข้อง การกำหนดราคา รูปแบบประเภทของกิจการธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก ลักษณะการค้าแบบให้สิทธิทางการค้า (Franchising) การใช้ระบบการตลาดแบบบูรณาการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับการค้าปลีก รวมถึงการใช้ระบบการจัดเก็บข้อมูลด้านต่าง ๆ ทางการค้าปลีกและค้าส่ง

    ความหมาย วัตถุประสงค์ ความสำคัญของการขายปลีกและการขายส่ง ปัจจัยประเภทต่าง ๆ และหลักเกณฑ์ในการขายปลีกและการขายส่ง ทำเลการจัดรูปองค์กรการดำเนินงาน การส่งเสริมการขาย การโฆษณา การขายปลีกและการขายส่ง การกำหนดราคา และเทคนิคการขาย

    ปรับรหัสและคำอธิบายวิชาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร

 

 

 

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

สาขาวิชาการตลาด

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก