หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานิเทศศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูต

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

 ภาคผนวก

  ภาคผนวก ก
 

ภาคผนวก ข

 

ภาคผนวก ค

 

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรใหม่
พุทธศักราช 2549

.....................................

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Communication Arts

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : นิเทศศาสตรบัณฑิต
  Bachelor of Arts (Communication Arts)
ชื่อย่อ : นศ.บ.
  B.A. (Communication Arts)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ในวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบในวิชาชีพ และสามารถนำความรู้ คุณธรรม จริยธรรมไปใช้ให้เป็นประโยชน์แก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

            เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และประสบการณ์ สามารถประกอบอาชีพด้านนิเทศศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีคุณสมบัติดังนี้

                1) มีความรู้ในทฤษฎีและหลักการทางนิเทศศาสตร์และข่าวสารข้อมูลโดยรู้ลึก รู้กว้าง รู้จริง และรู้ทันสามารถวิเคราะห์ และเข้าใจวิธีการประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
                2) มีทักษะในการใช้กระบวนการทางวิชาชีพนิเทศศาสตร์ ทั้งกระบวนการสื่อสารระหว่างบุคคลและกระบวนการสื่อสารมวลชน โดยสามารถใช้สื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
                3) มีทัศนคติเชิงวิชาชีพนิเทศศาสตร์ สำนึกรักในวิชาชีพมีความรู้สึกนึกคิดที่จะใช้ข้อมูลข่าวสาร และกระบวนการทางวิชาชีพ สร้างสรรค์ผลงานโดยสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม
                4) มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ มีวินัย รับผิดชอบ อดทน สู้งาน มองโลกอย่างเป็นกลางโดยยึดมั่น จรรยาบรรณในวิชาชีพ
                5) มีบุคลิกภาพเหมาะสมกับวิชานิเทศศาสตร์ คล่องแคล่ว กระฉับกระเฉง มีลักษณะความเป็นผู้นำอยู่ในตัว

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นายพิทยา พัฒนธัญญา

    -  กศ.บ. เกียรตินิยม (ภาษาไทย) วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก
    -  นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    -  รองอธิการฝ่ายกิจการนักศึกษา
    -  หัวหน้าภาควิชาการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์
    -  ประธานโปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์
    -  กรรมการพัฒนาหลักสูตร นิเทศศาสตร์
    -  ศึกษาดูงานด้านการศึกษามาเลเซีย, สิงคโปร์, จีน, เกาหลี, เวียดนาม

งานวิจัย

    -  โครงการศึกษาความพร้อมชุมชนโครงการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
        และภัยแล้งใน เขตอำเภอชุมแสงจังหวัดนครสวรรค์
    -  โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งแก่ธุรกิจร้านค้าชุมชนจังหวัดนครสวรรค์
        อุทัยธานี ชัยนาท และกำแพงเพชร
    -  การพัฒนารูปแบบการนำเสนอ รายการของสถานีวิทยุชุมชนใน เขตอำเภอเมือง
       จังหวัด นครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  คณบดีคณะวิทยาการจัดการ

วิชาที่สอน

    -  ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์
    -  การเขียนบทโฆษณา
    -  การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุ โทรทัศน์
    -  การศึกษาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลงานด้านการโฆษณา
    -  สัมมนาการโฆษณา
    -  การเขียนบทโฆษณาชั้นสูง
    -  การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค
    -  การสื่อข่าวและการเขียนข่าวเบื้องต้น
    -  หลักนิเทศศาสตร์
    -  การสร้างสรรค์และการผลิตงานโฆษณา
    -  การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง และบทวิทยุโทรทัศน์
    -  การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์
    -  การเขียนบทความและบทวิจารณ์
    -  การเขียนสารคดี
    -  การวางแผนการประชาสัมพันธ์
    -  การสื่อข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์
    -  การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

2

ผศ.ประวิทย์ ณัฎฐาพิสุทธิ์

    -  กศ.บ. (เคมี-อังกฤษ) วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน
    -  ประกาศนียบัตรชั้นสูง วิชาเฉพาะโสตทัศนศึกษา
    -  ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  Diploma in AV-Ed. (Hiroshima University, Japan)

ประสบการณ์การทำงาน

    -  อาจารย์ประจำภาควิชา เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
    -  หัวหน้าแผนกโสตทัศนศึกษา
    -  ผู้อำนวยการสำนักกิจการนักศึกษา
    -  กรรมการพัฒนาหลักสูตรนิเทศศาสตร์
    -  ผู้อำนวยการศูนย์ให้การศึกษา กศ.บป. จังหวัดชัยนาท
    -  อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมถ่ายภาพนิเทศศาสตร์
    -  ที่ปรึกษากองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ “พิมานโพสต์”
    -  ศึกษาดูงานด้านการศึกษาญี่ปุ่น แคนาดา จีน มาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย

ผลงานทางวิชาการ

    -  เทคโนโลยีการถ่ายภาพ
    -  การผลิตสไลด์
    -  Photographic Tips
    -  การวิจัยเบื้องต้น

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับ 8 ภาควิชานิเทศศาสตร์

รายวิชาที่สอน

    -  การถ่ายภาพเบื้องต้น
    -  การผลิตสไลด์
    -  การถ่ายภาพวารสารศาสตร์
    -  วิจัยนิเทศศาสตร์
    -  การวิจัยวารสารศาสตร์
    -  การวิจัยการประชาสัมพันธ์
    -  การวิจัยโฆษณา
    -  การวิจัยการตลาด
    -  การสื่อข่าวเบื้องต้น
    -  การสื่อข่าวชั้นสูง
    -  การเขียนบทความและสารคดี
    -  การบรรณาธิกรหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร
    -  การสัมมนาประชาสัมพันธ์
    -  การสัมมนาวารสารศาสตร์

3

นายสาธิต สุขวโรทัย

    -  วท.บ. (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประสบการณ์ทำงาน

    -  ผ่านการอบรมหลักสูตรอาจารย์ ผู้สอนสาขาวารสารศาสตร์
       และการประชาสัมพันธ์ จากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  สอนหลักสูตรนิเทศศาสตร์ ระดับอุดมศึกษาเป็นเวลา 18 ปี
    -  รองหัวหน้าภาควิชาการสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์
    -  หัวหน้าฝ่ายเอกสารตำรา สำนักส่งเสริมวิชาการ
    -  หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานอธิการบดี
    -  ประธานโปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
    -  กรรมการจัดทำหลักสูตรนิเทศศาสตร์
    -  ศึกษาดูงานด้านการศึกษา มหาวิทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซีย
       มหาวิทยาลัยนานยาง ประเทศสิงคโปร์

อบรม/สัมมนาวิชาการ

    -  กระบวนการโฆษณา  (คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
    -  การประชาสัมพันธ์สำหรับอาจารย์นิเทศศาสตร์ รุ่นที่ 1 โรงเรียน
       การประชาสัมพันธ์
    -  หลักสูตรวารสารศาสตร์และการประชาสัมพันธ์
    -  การสอนการสื่อข่าวเชิงสืบสวน (มูลนิธิอาเซียและมูลนิธิเฮนรี่อาร์ลูซ และ
       มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
    -  การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อการสอน
    -  การใช้เครือข่าย internet, Homepage, Multimedia
    -  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ในยุค ค.ศ. 2000
    -  การพัฒนาเนื้อหาการเรียนการสอนและซอฟต์แวร์
    -  เทคโนโลยีการพิมพ์สมัยใหม่ และเทคนิคการผลิตหนังสือ
    -  การออกแบบสิ่งพิมพ์และการพิมพ์
    -  การใช้โปรแกรม SPSS
    -  การพัฒนาโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
    -  เทคนิคการสร้างแบบสอบถามในการวิจัย (สมาคมนักวิจัย)
       ฯลฯ

ผลงานวิชาการ

    -  เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดนิทรรศการ

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าภาควิชานิเทศศาสตร์

รายวิชาที่สอน

    -  การสื่อข่าวเบื้องต้น
    -  การจัดนิทรรศการ
    -  สื่อมวลชนกับสังคม
    -  กราฟิกสำหรับวารสารศาสตร์
    -  เทคโนโลยีทางการพิมพ์
    -  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
    -  การวิจัยวารสารศาสตร์
    -  การวิจัยการประชาสัมพันธ์
    -  การประชาสัมพันธ์หน่วยงาน
    -  สื่อมวลชนสัมพันธ์
    -  การจัดสัมมนา
    -  การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร
    -  การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
    -  เทคโนโลยีการสื่อสาร
    -  การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

4

ผศ.พงษ์ศรี บุญสุวรรณ

    -  ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  Cert in total quality Management University of Northum bria at Newcasle U K.

ประสบการณ์การทำงาน

    -  รองคณบดีฝ่ายวิชาการคณะวิทยาการจัดการ
    -  คณบดีคณะวิทยาการจัดการ
    -  ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
    -  ศึกษาดูงานด้านการศึกษา มาเลเซีย, สิงคโปร์, อังกฤษ, จีน
    -  คอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น
    -  กรรมการพัฒนาหลักสูตรนิเทศศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

    -  การพัฒนาบุคลิกภาพในการประชาสัมพันธ์
    -  การเขียนข่าวเบื้องต้น

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

วิชาที่สอน

    -  หลักสื่อสารมวลชน
    -  หลักนิเทศศาสตร์
    -  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
    -  การประชาสัมพันธ์หน่วยงาน
    -  การพัฒนาบุคลิกภาพในงานนิเทศศาสตร์
    -  ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์
    -  สัมมนาประชาสัมพันธ์

5

นายวรวิทย์ พัฒนาอิทธิกุล

    -  บธ.บ. (การจัดการโฆษณา) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
    -  บธ.บ. (การเงินการธนาคาร) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    -  นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    -  หัวหน้าฝ่ายเลขานุการ สำนักกิจการนักศึกษา
    -  หัวหน้าฝ่ายวิชาการฝึกอบรม สำนักคอมพิวเตอร์
    -  หัวหน้าฝ่ายนวัตกรรม และเทคโนโลยีฯ สำนักวิทยบริการฯ วิทยาการภาครัฐ
       และเอกชน
    -  ศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีและการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
       มาเลเซีย, สิงคโปร์, จีน

อบรม/สัมมนาวิชาการ

    -  การผลิตสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์
    -  เจ้าหน้าที่จัดรายการวิทยุฯ
    -  ด้านการสื่อสารการตลาด
    -  E-Commercc Train the trainers (NECTEC)
    -  ระบบ E-Learning ELS
    -  Usage, Application and Management of New Media
    -  ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (UNINET)
    -  การใช้โปรแกรม SPSS
       ฯลฯ

ผลงานวิชาการ

    -  บทความ “การสร้างตราสินค้า” (นิเทศทัศน์ 2545)
    -  E-Learning วิชาการโฆษณา และพฤติกรรมผู้บริโภค, เทคโนโลยีการสื่อสาร

การวิจัย

    -  แบบแผนบุคลิกการบริโภคของวัยรุ่นในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์ ปี 2548

ตำแหน่งหน้าที่

    -  เลขานุการภาควิชานิเทศศาสตร์

รายวิชาที่สอน

    -  หลักการโฆษณา
    -  การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค
    -  หลักการสื่อสารการตลาด
    -  การวางแผนสื่อโฆษณา
    -  การวางแผนรณรงค์เพื่อการโฆษณา
    -  การสัมมนาโฆษณา
    -  การบริหารงานโฆษณา
    -  นิเทศศิลป์เพื่อการโฆษณา
    -  การออกแบบโฆษณาด้วยคอมพิวเตอร์
    -  โฆษณากับสังคม
    -  การศึกษาเปรียบเทียบวิเคราะห์ผลงานโฆษณา
    -  การออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์
    -  การแปลข่าว และเขียนข่าวภาษาอังกฤษ
    -  หลักนิเทศศาสตร์
    -  การวิจัยนิเทศศาสตร์
    -  ธุรกิจงานโฆษณา
    -  เทคโนโลยีการสื่อสาร
    -  ระบบสารสนเทศเพื่องานวารสารศาสตร์

        12.2 อาจารย์ผู้สอน

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นางจุฑาภัทร์ รินทร์ศรี

    -  ศศ.บ. (การสื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    -  สอบผ่านผู้ประกาศข่าวจากกรมประชาสัมพันธ์
    -  ผ่านการอบรมหลักสูตรนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียง
    -  เป็นวิทยากรภาครัฐและเอกชน
    -  รองหัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ ของมหาวิทยาลัยฯ หน้าที่นักจัด รายการวิทยุ
       สวท. 93.25 MHz
    -  อาจารย์ภาควิชานิเทศศาสตร์ วิทยาลัยโยนกลำปาง 3 ปี

ผลงานทางวิชาการ

    -  บทเรียนออนไลน์ (E-Learning) วิชาหลักการประชาสัมพันธ์
    -  เอกสารประกอบการสอนวิชา หลักการประชาสัมพันธ์
    -  เกียรติบัตรอาจารย์ผู้สอนโดยกระบวนการ Active Learning
       ดีเด่น ปี 2546 – 2547

งานวิจัย

    -  “กระบวนการพัฒนาและสืบทอดภูมิปัญญา การผลิตน้ำตาลโตนด
       ตำบลห้วยกรด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท”

ตำแหน่งหน้าที่

    -  รองหัวหน้าภาควิชานิเทศศาสตร์

รายวิชาที่สอน

    -  หลักการประชาสัมพันธ์
    -  การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
    -  การวางแผนการประชาสัมพันธ์
    -  การโน้มน้าวใจเพื่อการประชาสัมพันธ์
    -  ประชามติ
    -  การผลิตและจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์
    -  การพูดและการแสดงทางวิทยุกระจายเสียง
    -  วิจัยนิเทศศาสตร์
    -  การวิจัยการประชาสัมพันธ์
    -  หลักนิเทศศาสตร์
    -  หลักการสื่อสารมวลชน
    -  การเขียนข่าวเบื้องต้น
    -  การจัดสัมมนา
    -  การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

2

นายพูนศักดิ์ ลิ้มมณี

    -  กศ.บ. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  ศษ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก

ประสบการณ์

    -  รองหัวหน้าคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (วิทยาลัยครูมหาสารคาม)
    -  รองหัวหน้าคณะครุศาสตร์
    -  รองหัวหน้าคณะวิทยาการจัดการ
    -  หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา
    -  ศึกษาดูงานถ่ายทำภาพยนตร์ บริษัท วอเนอร์บราเดอร์ สหรัฐอเมริกา
    -  ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยในประเทศมาเลเซีย และประเทศสิงคโปร์
    -  ช่างวิทยุ

ผลงานวิชาการ

    -  สนุกกับอุปกรณ์
    -  การถ่ายภาพเบื้องต้น
    -  การใช้เครื่องมือสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
    -  รางวัลที่ 2 ของประเทศในการประกวดผลิตสื่อการสอนจัดโดย
       กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับองค์กร UNESCO สหประชาชาติ พ.ศ. 2523
       (เครื่อง ARC ไฟฟ้าโดยทำ จากถ่ายไฟฉายที่หมดสภาพแล้ว)

รายวิชาที่สอน

    -  การถ่ายภาพเบื้องต้น
    -  การถ่ายภาพโฆษณา
    -  การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง
    -  การผลิตและการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง
    -  เทคโนโลยีการสื่อสาร
    -  การประชาสัมพันธ์หน่วยงาน
    -  การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
    -  การเขียนบทวิทยุและวิทยุโทรทัศน์
    -  กราฟิกสำหรับงานวารสารศาสตร์
    -  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
    -  กฎหมายและจริยธรรมของสื่อสารมวลชน

3

นางจรรยา อุปัญญ์

    -  ค.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 (การประถมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    -  นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    -  เลขานุการโปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์
    -  ผู้ช่วยเลขานุการคณะฯ
    -  หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมและประสานงานวิจัย
    -  วิทยากรทั้งภาครัฐและเอกชน
    -  ศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรม เมืองสิบสองปันนา ประเทศจีน

การอบรม/สัมมนาวิชาการ

    -  บทบาทของหนังสือพิมพ์ และสื่อมวลชนตามรัฐธรรมนูญ และมีส่วนร่วม
       ต่อประชาคม
    -  เจ้าหน้าที่รายการวิทยุกระจายเสียง
    -  Television with the Betacam SP System
    -  การสร้างสื่อการเรียนการสอน Multimedia, Microsoft Powerpoint 97,
       การสร้าง โฮมเพจด้วย Frontpage 2000
    -  โครงการสิทธิการรับรู้ และการใช้ข้อมูลข่าวสารตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสาร
       ของรายการ พ.ศ. 2540
    -  Communication in Democratic Sociey
    -  กรรมการคัดเลือกโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพดีเด่น ประจำปี 2543 ฯลฯ

ผลงานทางวิชาการ

    -  บทความปฏิรูปสื่อมวลชนเริ่มที่ใคร (นิเทศทัศน์, 2545)
    -  E-learning วิชากฎหมายสื่อสารมวลชน
    -  บทเรียนออนไลน์วิชาหลักนิเทศศาสตร์
    -  Active Learning วิชาการวางแผนรณรงค์เพื่อการโฆษณา

งานวิจัย

    -  กระบวนการพัฒนาและสืบทอดภูมิปัญญาการผลิตน้ำตาลโตนด
    -  โดยความร่วมมือกับชุมชนตำบลห้วยกรด อำเภอสรรค์บุรี จังหวัดชัยนาท
    -  การพัฒนารูปแบบการรณรงค์ โฆษณาผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
       ของอำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์

ตำแหน่งปัจจุบัน

    -  รองคณบดีคณะวิทยาการจัดการ
    -  รองหัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์

รายวิชาที่สอน

    -  หลักนิเทศศาสตร์
    -  หลักการสื่อสารมวลชน
    -  หลักการโฆษณา
    -  กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน
    -  การวิจัยนิเทศศาสตร์
    -  การวิจัยโฆษณา
    -  การวางแผนรณรงค์เพื่อการโฆษณา
    -  การวางแผนสื่อโฆษณา
    -  การบริหารงานโฆษณา
    -  การสัมมนาการโฆษณา
    -  โฆษณากับสังคม
    -  การศึกษาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ ผลงานโฆษณา
    -  ธุรกิจงานโฆษณา
    -  การสร้างสรรค์และผลิตสื่อโฆษณา
    -  การผลิตรายการโทรทัศน์
    -  การเขียนบทโฆษณา
    -  การเขียนบทโฆษณาชั้นสูง
    -  หลักการตลาด
    -  การวิจัยตลาด
    -  ประชามติ
    -  การจัดนิทรรศการ
    -  การสื่อข่าวและเขียนข่าวทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
    -  การเขียนบทความและสารคดี

4

นางสาวฤทัยวรรณ โชคทวีพาณิชย์

    -  ศศ.บ. (นิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  วส.ม. (การสื่อสารภาครัฐและเอกชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำงาน

    -  ผ่านการอบรมในโครงการพิราบน้อยของสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์
       แห่งประเทศไทย
    -  นักข่าวหนังสือพิมพ์แนวหน้า
    -  เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของ บริษัท ไทยนครพัฒนา จำกัด โดยดูแลด้าน
       งานข่าว การจัดทำวารสารและจัด EVENT MARKETING
    -  เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์กระทรวงสาธารณสุข

ตำแหน่งปัจจุบัน

    -  อาจารย์ (อัตราจ้าง) ประจำสาขาวิชาวารสารศาสตร์ ภาควิชานิเทศศาสตร์

รายวิชาที่สอน

    -  หลักวารสารศาสตร์
    -  การสื่อข่าวและการเขียนข่าวเบื้องต้น
    -  หลักนิเทศศาสตร์
    -  เทคโนโลยีการสื่อสาร
    -  การเขียนบทความและสารคดี
    -  การประชาสัมพันธ์หน่วยงาน
    -  การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
    -  กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน

13. จำนวนนักศึกษา

        แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

120

120

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 2

-

120

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 3

-

-

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

120

120

120

รวม

120

240

360

480

480

480

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

120

120

120

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ที่

รายการ

รายละเอียด (กว้าง X เมตร)

1

ห้องบรรยาย

7 x 9 เมตร 5 ห้อง

2

ห้องมืด ล้าง-อัด-ขยายภาพ ทำซิลสกรีน

4 x 8 เมตร 3 ห้อง

3

ห้องบันทึกเสียง

4 x 4 เมตร 2 ห้อง

4

ห้องปฏิบัติการส่งวิทยุกระจายเสียงจำลอง

8 x 8 เมตร 1 ห้อง

5

ห้องบันทึกภาพ/เสียงหรือห้องปฏิบัติการวิทยุ-โทรทัศน์

8 x 12 เมตร 1 ห้อง

6

ห้องปฏิบัติการวารสารศาสตร์

8 x 8 เมตร 1 ห้อง

7

ห้องปฏิบัติการโฆษณา

8 x 8 เมตร 1 ห้อง

8

ห้องปฏิบัติการภาพนิ่งภาพยนตร์

8 x 12 เมตร 1 ห้อง

9

ห้องปฏิบัติการประชาสัมพันธ์

8 x 8 เมตร 1 ห้อง

10

ห้องเอนกประสงค์นิเทศศาสตร์พร้อมอุปกรณ์แสง/เสียง/เวที/ฉาก โต๊ะ-เก้าอี้ ซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายได้

10 x 25 เมตร 1 ห้อง

11

ห้องสมุดภาควิชานิเทศศาสตร์

8 x 8 เมตร 1 ห้อง

12

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิก

8 x 8 เมตร 1 ห้อง

        14.2 อุปกรณ์

ที่

อุปกรณ์

จำนวนที่มี/หน่วย

1

เครื่องตัดกระดาษ (ขนาดใหญ่/กลาง)

2 เครื่อง

2

อุปกรณ์การพิมพ์ระบบซิลก์สกรีน

2 เครื่อง

3

กล้องถ่ายรูป

15 กล้อง

4

เครื่องทำแห้ง (ภาพถ่าย)

2 อัน

5

เครื่องอัดขยายภาพขาว-ดำ และอุปกรณ์สำหรับห้องมืดขนาดเล็ก

4 ชุด

6

ตู้ไฟสำหรับดูฟิล์ม

1 ตู้

7

ราววางหนังสือพิมพ์

2 อัน

8

ตู้แสดงผลงานการพิมพ์

1 ตู้

9

กระดานไวท์บอร์ดอิเลคทรอนิก

1 ชุด

10

เครื่องฉาย Slide

1 เครื่อง

11

O.H. Projector (พร้อมจำรับภาพ)

1 เครื่อง

12

V.D.O. + TV

1 ชุด

13

เครื่องเทปปฏิบัติการสนาม

15 เครื่อง

14

โทรทัศน์

6 เครื่อง

15

กล้องถ่ายภาพทางการพิมพ์

1 ชุด

16

เครื่องขยายเสียง

5 เครื่อง

17

เครื่องฉาย Slide

1 เครื่อง

18

อุปกรณ์ถ่ายทำ V.D.O.

1 ชุด

19

ไมโครโฟน

1 ตัว

20

เครื่องผสมสัญญาณเสียง

3 เครื่อง

21

เครื่องทำสัญญาฯก้องกังวาล

1 เครื่อง

22

เครื่องเล่นแผ่นเสียง

2 เครื่อง

23

โต๊ะ/เก้าอี้สำหรับผู้ประกาศ

1 ชุด

24

ไมโครโฟนไร้สาย

3 ตัว

25

ก้องถ่าย TV สี ระบบยูเมติก

3 กล้อง

26

เครื่องผสมสัญญาณภาพและเสียง

2 ชุด

27

กล้องและอุปกรณ์ Caption ภาพและตัวอักษร

1 ชุด

28

กล้องถ่าย TV สีระบบ VHF

10 กล้อง

29

TV สี Monitor

3 เครื่อง

30

TV สีขนาด 20 นิ้ว

1 เครื่อง

31

เครื่องเล่น V.D.O. ระบบ VHF

1 เครื่อง

32

ไมโครโฟนสำหรับงาน TV

5 อัน

33

โคมไฟถ่ายภาพ

1 ชุด

34

ไฟสำหรับห้องปฏิบัติการ TV

1 ชุด

35

ฉากและวัสดุประกอบฉาก

1 ชุด

36

เครื่องตัดโฟมไฟฟ้า

5 เครื่อง

37

กล้องถ่ายรูปสำหรับงานโฆษณา พร้อมอุปกรณ์ประกอบสตูดิโอ

2 ชุด

38

คอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟฟิค

25 ชุด

39

อุปกรณ์สำหรับผลิตสไลด์

2 ชุด

40

ตู้กระจกสำหรับทำ Display

3 ตู้

41

เทปกระเป๋าหิ้ว

2 เครื่อง

42

กล้องถ่ายภาพชนิด S.L.R. (135/125)

5 กล้อง

43

ชุดไฟถ่ายภาพอิเลคทรอนิคพร้อมอุปกรณ์ประกอบ

2 ชุด

44

เครื่องวัดแสง

2 เครื่อง

45

อุปกรณ์ปรับแต่งแสง

2 เครื่อง

46

กล้องถ่ายภาพการพิมพ์

1 กล้อง

47

ขาตั้งกล้อง

5 อัน

48

เครื่องอัดขยายภาพขาว-ดำ พร้อมอุปกรณ์

5 เครื่อง

49

เครื่องอัดขยายภาพสี พร้อมอุปกรณ์

5 เครื่อง

50

เครื่องล้าง Slide

1 เครื่อง

51

ตู้ตากฟิล์ม

1 ตู้

52

เครื่องสำรองไฟ

5 เครื่อง

53

เครื่องเล่นวิดีโอ

8 เครื่อง

54

โทรทัศน์สี 14 นิ้ว

2 เครื่อง

55

ฉาก (ChromaKey)

1 ผืน

56

ไฟ Zoom Ellipsoidal

1 ชุด

57

Flash Studio

1 ชุด

58

Len Telezoom

1 ตัว

59

Len Macro

1 ตัว

60

ฉากผ้าเพ้นท์สี

1 ผืน

61

กล้อง Diqital Video camear

1 เครื่อง

62

Computer Notebook

2 เครื่อง

63

Zip Drive

2 เครื่อง

64

CD writer

2 เครื่อง

65

เครื่องสำรองไฟ (UPS) 1,000 VA

5 เครื่อง

66

ระบบเครื่องเสียงห้องปฏิบัติการ

1 ระบบ

67

LED-Projector

1 ชุด

68

Visualizer Projector

1 ชุด

69

Microphone Boom

1 ชุด

70

เครื่องส่งวิทยุ FM พร้อมอุปกรณ์

1 ชุด

15. ห้องสมุด

                จำนวนหนังสือและตำราเรียน แหล่งทรัพยากรการค้นคว้าและสืบค้น ได้จัดไว้ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย หนังสือ ตำรา วารสาร นิตยสาร งานวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อันเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนด้านนิเทศศาสตร์ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จำนวนมากกว่า 500 เล่ม อาทิเช่น

ลำดับ

ชื่อหนังสือ

จำนวน (เล่ม)

1

เรดิโอ 2000 / วรพล พรหมิกบุตร

1

2

ความต้องการรับฟังวิทยุรายการเส้นทางสายใหม่ /กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ, กองวิจัย ทางการศึกษา

2

3

การศึกษาการยอมรับรายการโทรทัศน์เพื่อพัฒนาสุขภาพของสมาชิกรายการโทรทัศน์ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา /บุญทิวา นาคะตะ

3

4

การผลิตรายการโทรทัศน์ เรื่อง ของจริงและหุ่นจำลอง /วรพงษ์ ตติยวรนันท์.

1

5

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการเผยแพร่ข่าวเอกสารเกษตรทางวิทยุกระจายเสียง โดยรูปแบบการบรรยายถึงรูปแบบบทละครของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลางราชบุรี/พรทิพย์ โตสกุล

2

6

การวิเคราะห์องค์ประกอบที่มีผลต่อความสนใจรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร /เทวี แย้มสรวล

3

7

ศึกษาความต้องการรับบริการจากสถานีถ่ายทอดโทรทัศน์ช่อง 9 ของประชากรในจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียง /นงคราญ กาญจนประเสริฐ

2

8

พระราชบัญญัติควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์ พ.ศ. 2530 /ธีระพล อรุณกสิกร และคณะ

1

9

การสื่อสารข้อมูล /สุวิพล สิทธชีวภาค

2

10

ความรู้ทั่วไปทางการสื่อสาร /กิติมา สุรสนธิ

2

11

เทคโนโลยีโทรคมนาคม /โกศล เพ็ชร์สุวรรณ และ ซิกิ โชจิ

4

12

หลักและทฤษฏีการสื่อสาร /มณฑล ใบบัว

3

13

การสื่อสารเพื่อชีวิต /วาสนา จันทร์สว่าง และ ทัศนีย์ อินทรสุขศรี

3

14

การสื่อสารมวลชน บทบาทหน้าที่ต่อชีวิตความรับผิดชอบของสังคม /สมควร กวียะ

2

15

สื่อมวลชน วิทยุกระจายเสียง /อุฬาร เนื่องจำนงค์

7

16

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุโทรทัศน์ /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

4

17

แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน์ /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

3

18

การบริหารงานวิทยุโทรทัศน์ /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

10

19

เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน์ /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

12

20

การบริหารงานวิทยุกระจายเสียง /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

9

21

ทฤษฏีและปฏิบัติวีดีโอเทประบบ VHS/PAL /สมศักดิ์ เศรษฐ์ธนะ และ สุชาติ กังวารจิตต์

2

22

กำเนิดโทรทัศน์ไทย 2493-2500 /สินิทร์ สิทธิรักษ์

4

23

พระราชบัญญัติควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์ พ.ศ. 2530 /สมพร พรหมหิตาธร

1

24

ระบบการรักษาความปลอดภัยโดยโทรภาพ /มงคล เดชนครินทร์

2

25

โทรคมนาคมยุคดาวเทียม /สถาบันอิเล็กทรอนิกส์กรุงเทพรังสิต

3

26

เรียนรู้ FaxModem ด้วย WinFax Pro /วีรวรรณ นิลศิริสุข

2

27

สื่อสารโทรคมนาคมไทยในทศวรรษหน้า /คณะวาสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

3

28

กรมไปรษณีย์โทรเลขครบรอบ 90 ปี พ.ศ. 2426-2516 /กรมไปรษณีย์โทรเลข

2

29

รายงานการสำรวจวิทยุโทรทัศน์ /สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

1

30

ในโอกาสครบรอบ 25 ปี ของการสถาปนาองค์การโทรทัพท์แห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม 24 ก.พ. 22 /องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

3

31

20 ปี สำนักข่าวไทย /สำนักข่าวไทย อ.ส.ม.ท

4

32

การศึกษาการแปรรูปสู่ธุรกิจเอกชนของการบริการด้านโทรคมนาคม /ภูษณ ปรีย์มาโนช และวินัย เจียมวิเศษสุข

 

33

40 ปี สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก /สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

 

34

คู่มือผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง /บุญเกื้อ ควรหาเวช

3

35

สถานภาพของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทย/ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติฯ

3

36

21 ปี สำนักข่าวไทย /องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย

2

37

การสื่อสารมวลชน บทบาทหน้าที่ เสรีภาพ และความรับผิดชอบ /สมควร กวียะ

2

38

การสื่อสารผ่านดาวเทียม /ฟ้าฟื้น เบญจดล

5

39

รายงานการประชุมรับฟังความคิดเห็น เรื่อง การจัดสรรคลื่นความถี่เพื่อการศึกษา และวัฒนธรรม 20 พฤษภาคม 2542 /สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ

1

40

Handbook of radio and TV broadcasting /James E. Fletcher

2

41

ชมรมนักจัดรายการข่าววิทยุ /วุฒิ เวณุจันทร์

2

42

ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม =bBusiness Telecommunications /ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ

1

43

กำเนิดโทรทัศน์ไทย (พ.ศ.2493-2500) /สินิทธ์ สิทธิรักษ์

19

44

การสื่อสารมวลชนโลก =bGlobal Communication /ดรุณี หิรัญรักษ์

2

45

ทางเลือก ทางรอด โทรคมนาคมไทย :bแนวคิด กฎเกณฑ์ และกรณีศึกษาการบริหารและกำกับกิจการโทรคมนาคม /อนุภาพ ถิรลาภ

3

46

การพัฒนาเครื่องมือและเทคโนโลยีมัลติมีเดีย /ยืน ภู่วรวรรณ

2

47

รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อการพาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรม และการบริการทางสังคมอื่นๆ /วิเชียร ชุติมาสกุล

1

48

แนวทางการพัมนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษา /พรพิไล เลิศวิชา

3

49

ความรู้ทั่วไปทางการสื่อสาร =bCommunication /กิติมา สุรสนธิ

2

50

การประเมินผลและการวิเคราะห์รายการโทรทัศน์ จำนวน 8 รายการ ของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ทั่วราชอาณาจักร /สุทิติ ขัตติยะ

1

51

Promotion and Marketing for Broadcasting and Cable /Susan Tyler Eastman, Douglas A. Ferguson and Robert A. Klein

2

52

McGraw-Hill Illustrated Telecom Dictionary /Jade Clayton

2

53

ดาวเทียมสื่อสาร วีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/h[VDO]

2

54

Talking Television An introduction to the study of television /Anke Ueberberg

1

55

ชำแหละโทรทัศน์อเมริกา /วิภา อุตมฉันท์

2

56

8 ขุนพลผู้เยี่ยมวรยุทธ์ /จิรวัฒน์ รจนาวรรณ

3

57

Desktop Encyclopedia of Telecommunications /Nathan J. Muller

2

58

Principles of Communications Systems, Modulation, and Noise /R.E. Ziemer and W.H. Tranter

1

59

Broadband Telecommunication Handbook /Regis J.(Bud) Bates

1

60

เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน์ =bIntroduction to radio and telerision หน่วยที่ 1 - 8/สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

1

61

ผ่าทางต้น : ขุมทรัพย์แสนล้านสัมปานสื่อสาร/ชูชาติ สว่างสาลี

2

62

รายงานการสำรวจการรับฟังรายการของสถานีวิทยุศึกษา /กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ

1

63

รายงานการสำรวจการรับฟังและความต้องการ รายการวิทยุโรงเรียน ในพื้นที่ภาคกลาง /กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ

1

64

พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล/ปราโมทย์ วาดเขียน, วิวัฒน์ กิรานนท์

2

65

การจัดการเทคโนโลยีโทรคมนาคม/ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ

8

66

แนวโน้มอนาคตของสื่อวิทยุโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมาชิกภายหลังการปฏิรูประบบวิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย/สมภพ พนมวนาภิรัต

2

67

ความคาดหวังการใช้ประโยชน์และความรู้สึกพอใจของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อรายการที่นี่ประเทศไทยทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5/มารียา ไชยเศรษฐ์

2

68

บทบาทของโทรทัศน์ในการเผยแพร่พุทธศาสนาภายหลังการปฏิรูปสื่อในมุมมองของผู้เชี่ยวชาญ/ชัชฎาภรณ์ ศิลปะสุนทร์

1

69

มิติใหม่ ช่อง 11 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์/สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11

1

70

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน์h[CD-ROM]

1

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

2549

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ            

    - ค่าตอบแทน
    - ค่าใช้สอย
    - ค่าวัสดุ
    - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

120,000

252,000

397,000

556,000

584,000

613,000

รวมงบดำเนินการ 120,000 252,000 397,000 556,000 584,000 613,000
งบลงทุน            

    - ค่าครุภัณฑ์
    - ค่าที่ดิน

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

รวมงบลงทุน

150,000

100,000

100,000

70,000

70,000

70,000

รวมทั้งหมด

270,000

352,000

497,000

626,000

654,000

683,000

        * หมายเหตุ : ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร 1,000 บาท/ปี 9; บวกเพิ่มตามอัตราเงินเฟ้อ 5% ต่อปี

17. หลักสูตร

        หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 129 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

92

 

1. วิชาพื้นฐานวิชาชีพ

36

 

2. วิชาชีพเฉพาะด้าน (บังคับ)

30

 

3. วิชาชีพเฉพาะด้าน (เลือก)

21

 

4.วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

5

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

129

        17.3 รายวิชา และจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 92 หน่วยกิต

            1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (บังคับเรียน-ทุกสาขาวิชาเอก) 36 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3101101

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Development of Personality for Communication Arts

 

3101102

การสื่อสารมนุษย์

3 (3-0-6)

 

Human Communication

 

3101401

ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Communication Arts Profession

 

3102203

การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

3 (2-2-5)

 

English for Public Relations

 

3102501

ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Language for Communication Arts

 

3102510

หลักการถ่ายภาพ

3 (2-2-5)

 

Basic Photography

 

3103101

กฎหมายและจริยธรรมทางนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Laws and Ethics of Mass Communication

 

3103901

การวิจัยนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Research in Communication Arts

 

3104201

สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร

3 (2-2-5)

Media and Communication technology

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Organization and Management

 

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

Principle of Marketing

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

     

            2) วิชาชีพบังคับ เลือกเรียนรายวิชาในแต่ละสาขาวิชาเอกต่าง ๆ ดังนี้ (56 หน่วยกิต)

                    2.1) วิชาเอกการประชาสัมพันธ์

                            บังคับ  30 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3101402

ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

English for Public Relations

 

3111101

หลักการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

Principles of Public Relations

3112101

การสื่อสารในองค์การ

3 (2-2-5)

 

Organization Communication

 

3112201

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Speaking for Public Relations

 

3112210

การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Writing for Public Relations

 

3113211

การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Design for Public Relations Media

 

3113510

การวางแผนและการดำเนินงานประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Public Relates Planning and Work shop

 

3113520

การผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Public Relations Media Production

 

3113902

การวิจัยประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Public Relations Research

 

3114202

การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ

3 (3-0-6)

 

Communication for Persuasion

 

                            เลือก (เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้) 21 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3(2-2-5)

 

Interpretation of Current Affairs for Communication

 

3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3(2-2-5)

 

Basic News Reporting

 

3124210

การเขียนบทความและสารคดี

3(2-2-5)

 

Article and Feature Writing

 

3113530

สาธารณมติ

3(3-0-6)

 

Public Opinion

 

3114203

สื่อมวลชนสัมพันธ์

2(1-2-3)

 

Mass Media Relations

 

3113521

การผลิตและจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Production of Radio Programs for Public Relations

 

3113522

การผลิตและจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Production of Television Programs for Public Relations

 

3114501

การจัดนิทรรศการ

2(1-2-3)

 

Exhibition

 

3113221

ระบบสารสนเทศเพื่องานประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Information System for Public Relations

 

3114901

สัมมนาการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Seminar in Public Relations

 

3114601

การประชาสัมพันธ์ทางการตลาด

3(3-0-6)

 

Public Relations for Marketing

 

3141101

หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3(3-0-6)

 

Principles of Broadcasting

 

3142202

การพูดและการแสดงทางวิทยุกระจายเสียง

2(1-2-3)

 

Radio Performance

 

3142530

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง

2(1-2-3)

 

Radio Studios

 

3142510

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

3(2-2-5)

 

Basic Radio Production

 

3142520

การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

3(2-2-5)

 

Basic Television Production

 

3131101

หลักการโฆษณา

3(3-0-6)

 

Principles of Advertising

 

3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3(3-06)

 

Advertising and Consumer Behavior

 

3133201

การโฆษณาทางสิ่งพิมพ์

2(1-2-3)

 

Printed Media Advertising

 

3133202

การโฆษณาชุมชน

2(1-2-3)

 

Community Advertising

 

3113231

การถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Photography for Public Relations

 

3103211

เทคนิคและเทคโนโลยีการนำเสนอ

2(1-2-3)

 

Presentation Technique and Technology

 

3103601

การบริหารงานบริการลูกค้า

3(3-0-6)

 

Client Service Management

 

3113102

การประชาสัมพันธ์และสารสนเทศทางวัฒนธรรม

3(3-0-6)

 

Public Relation and Information for Cultural Studies

 

                            วิชาชีพเฉพาะ

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 

Field Experience in Communication Arts

 

                    2.2) วิชาเอกวารสารศาสตร์

                            บังคับ 30 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3101403

ภาษาอังกฤษเพื่องานวารสารศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Journalism

 

3121101

หลักวารสารศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Principles of Journalism

 

3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic News Reporting

 

3123220

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Pirated Media

 

3123501

การบรรณาธิกรหนังสือพิมพ์และนิตยสาร

3 (2-2-5)

 

Newspaper and Magazine Editing

 

3123903

การวิจัยวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Research in Journalism

 

3124210

การเขียนบทความและสารคดี

3 (2-2-5)

 

Article and Feature Writing

 

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

Interpretation of Current Affairs for Communication

 

3124502

การสื่อข่าวชั้นสูง

3 (2-2-5)

 

Advanced News Reporting

 

3124601

การบริหารงานสิ่งพิมพ์

3 (3-0-6)

 

Printing management

 

                            เลือก (เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้) 21 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3122102

สื่อมวลชนกับสังคม

3(3-0-6)

 

Mass Media and Society

 

3123222

ระบบสารสนเทศเพื่องานวารสารศาสตร์

3(2-2-5)

 

Information Systems for Journalism

 

3122103

เทคโนโลยีทางการพิมพ์

3(3-0-6)

 

Printing Technology

 

3122211

การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์

3(2-2-5)

 

Writing in Journalism

 

3101406

การแปลข่าวและเขียนข่าวภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

 

News Translation and English News Writing

 

3123524

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

3(2-2-5)

 

Printed Media

 

3123523

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

3(2-2-5)

 

Printed Media Design

 

3124902

สัมมนาวารสารศาสตร์

3(2-2-5)

 

Seminar in Journalism

 

3112210

การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Writing for Public Relations

 

3113540

การเผยแพร่ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Publicity for Public Relations

 

3114203

สื่อมวลชนสัมพันธ์

2(1-2-3)

 

Mass Media Relations

 

3114501

การจัดนิทรรศการ

2(1-2-3)

 

Exhibition

 

3142501

การสื่อข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3(2-2-5)

 

News Reporting for Broadcasting

 

3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3(3-0-6)

 

Advertising and Consumer Behavior

 

3133201

การโฆษณาทางสิ่งพิมพ์

2(1-2-3)

Printed Media Advertising

 

3123232

การถ่ายภาพวารสารศาสตร์

3(2-2-5)

 

Photo Journalism

 

3123601

ธุรกิจการพิมพ์

2(2-0-4)

 

Publication Business

 

6143102

ออกแบบบรรจุภัณฑ์ 1

3(2-2-5)

 

Package Design 1

 

3104302

การคิดเชิงวิพากษ์

2(1-2-3)

 

Critical Thinking

 

3124201

การสื่อข่าวเศรษฐกิจ

3(2-2-5)

 

Economic News Reporting

 

3124202

การสื่อข่าวการเมือง

3(2-2-5)

 

Political News Reporting

 

3124203

การสื่อข่าวสังคม

3(2-2-5)

 

Social News Reporting

 

3124204

การสื่อข่าวต่างประเทศ

3(2-2-5)

 

International News Reporting

 

                            วิชาชีพเฉพาะ

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 

Field Experience in Communication Arts

 

                    2.3) วิชาเอกการโฆษณา

                            บังคับ 30 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3131101

หลักการโฆษณา

3 (3-0-6)

 

Principles of Advertising

 

3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3 (3-0-6)

 

Advertising and Consumer Behavior

 

3133210

การเขียนบทโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Creative Copy Writing

 

3133510

การวางแผนสื่อโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Advertising Media Planning

 

3132101

หลักการสื่อสารการตลาด

3 (3-0-6)

 

Principles of Marketing Communication

 

3133213

การออกแบบโฆษณาด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Design for Advertising

 

3134201

การสร้างสรรค์และผลิตงานโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Advertising Creativity and Production

 

3133904

การวิจัยโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Advertising Research

 

3134601

การบริหารธุรกิจงานโฆษณา

3 (3-0-6)

 

Advertising Business Management

 

3101404

ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณา

3 (3-0-6)

 

English for Advertising

 

                            เลือก (เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้) 21 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

Interpretation of Current Affairs for Communication

 

3123524

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

3 (2-2-5)

 

Printed Media

 

3123523

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

2 (1-2-3)

 

Printed Media Design

 

3111101

หลักการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

Principles of Public Relations

 

3114202

การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ

3 (3-0-6)

 

Communication for Persuasion

 

3113530

สาธารณมติ

3 (3-0-6)

 

Public Opinion

 

3114501

การจัดนิทรรศการ

2 (1-2-3)

 

Exhibition

 

3141101

หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

Principles of Broadcasting

 

3133203

การโฆษณากับสังคม

3 (2-0-4)

 

Advertising and Society

 

3133211

การเขียนบทโฆษณาชั้นสูง

2 (1-2-3)

 

Advanced Creative Copy Writing

 

3133220

วาทวิทยาการโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Speech for Advertising

 

3133201

การโฆษณาทางสิ่งพิมพ์

3 (1-2-6)

 

Printed Media Advertising

 

3133204

การโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง

2(1-2-3)

 

Radio Advertising

 

3133205

การโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์

2(1-2-3)

 

Television Advertising

 

3132209

นวัตกรรมสื่อโฆษณา

2(1-2-3)

 

Advertising Media Innovation

 

3132501

นิเทศศิลป์เพื่อการโฆษณา

2(1-2-3)

 

Visual Communication for Advertising

 

3134603

ธุรกิจงานโฆษณา

3(3-0-6)

 

Advertising Business

 

3134903

สัมมนาการโฆษณา

3(2-2-5)

 

Seminar in Advertising

 

3134303

การศึกษาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลงานด้านการโฆษณา

2(1-2-3)

 

Study and Analysis of Advertising Master Piece

 

3133230

ศิลปะกับงานภาพถ่าย

3(2-2-5)

 

Arts and Photography

 

3133233

การถ่ายภาพโฆษณา

3(2-2-5)

 

Photography for Advertising

 

3132121

หลักและทฤษฎีการสื่อความหมายด้วยภาพ

3(3-0-6)

 

Principles and Theory of Visual Communication

 

6143102

ออกแบบบรรจุภัณฑ์ 1

3(2-2-5)

 

Package Design 1

 

3133202

การโฆษณาชุมชน

2(1-2-3)

 

Community Advertising

 

3104301

การคิดสร้างสรรค์

2(1-2-3)

 

Creative Thinking

 

3104302

การคิดเชิงวิพากษ์

2(1-2-3)

 

Critical Thinking

 

3103211

เทคนิคและเทคโนโลยีการนำเสนอ

2(1-2-3)

 

Presentation Technique and Technology

 

3133250

การจัดแสดงสินค้าและการส่งเสริมการขาย

3(2-2-5)

 

Trade Show and Sales Promotion

 

3223301

การตลาดบริการ

3(3-0-6)

 

Service Marketing

 

3134510

การกำกับศิลป์

2(1-2-3)

 

Arts Direction

 

3134210

การโฆษณาเจาะตรง

2(1-2-3)

 

Direct Response Advertising

 

3103601

การบริหารงานบริการลูกค้า

3(3-0-6)

 

Client Service Management

 

                            วิชาชีพ เฉพาะ

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 

Field Experience in Communication Arts

 

                    2.4) วิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

                            บังคับ 30 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3101405

ภาษาอังกฤษเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

English for Radio and Television Broadcasting

 

3141101

หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

Principles of Broadcasting

 

3142501

การสื่อข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

News Reporting for Broadcasting

 

3142510

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic Radio Production

 

3142520

การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic Television Production

 

3143210

การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

Script Writing for Radio and Television

 

3143220

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

Computer for Radio and Television Broadcasting

 

3143514

วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ชุมชน

3 (2-2-5)

 

Principles of Broadcasting

 

3143905

การวิจัยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

Broadcasting Research

 

3144604

ธุรกิจงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

Broadcasting Business

 

                            เลือก (เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้) 21 หน่วยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3142202

การพูดและการแสดงทางวิทยุกระจายเสียง

2(1-2-3)

 

Radio Performance

 

3142511

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

3(2-2-5)

 

Advanced Radio Production

 

3142521

การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ขั้นสูง

3(2-2-5)

 

Advanced Television Production

 

3142530

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง

2(1-2-3)

 

Radio Studios

 

3142531

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุโทรทัศน์

2(1-2-3)

 

Television Studios

 

3143520

การแต่งหน้าและเครื่องแต่งกาย

2(1-2-3)

 

Make – up and Costumes

 

3143521

ฉากและวัสดุประกอบฉากวิทยุโทรทัศน์

2(1-2-3)

 

Scenery and Property for Television Production

 

3143530

การผลิตกราฟิกเพื่องานวิทยุโทรทัศน์

2(1-2-3)

 

Graphic Production for Television

 

3144201

การแสดงและการกำกับการแสดง

2(1-2-3)

 

Acting and Directing

 

3144214

ธุรกิจงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3(3-0-6)

 

Broadcasting Business

 

3144605

การบริหารงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

2(2-0-4)

 

Broadcasting Management

 

3103211

เทคนิคและเทคโนโลยีการนำเสนอ

2(1-2-3)

 

Presentation Technique and Technology

 

3103601

การบริหารงานบริการลูกค้า

3(3-0-6)

 

Client Service Management

 

3112201

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Speaking for Public Relations

 

3113521

การผลิตและจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Production of Radio Programs for Public Relations

 

3113522

การผลิตและจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์

3(2-2-5)

 

Production of Radio Programs for Public Relations

 

3113530

สาธารณมติ

3(3-0-6)

 

Public Opinion

 

3114202

การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ

3(3-0-6)

 

Communication for Persuasion

 

3114203

สื่อมวลชนสัมพันธ์

2(1-2-3)

 

Mass Media Relations

 

3114301

การประชาสัมพันธ์ทางการตลาด

3(3-0-6)

 

Public Relations for Marketing

 

3114501

การจัดนิทรรศการ

2(1-2-3)

 

Exhibition

 

3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3(2-2-5)

 

Basic News Reporting

 

3124210

การเขียนบทความและสารคดี

3(2-2-5)

 

Article and Feature Writing

 

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3(2-2-5)

 

Interpretation of Current Affairs for Communication

 

3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3(3-0-6)

 

Advertising and Consumer Behavior

 

3133202

การโฆษณาชุมชน

2(1-2-3)

 

Community Advertising

 

3144904

สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทุยโทรทัศน์

3(2-2-5)

 

Seminar in Broadcasting

 

                            วิชาชีพ เฉพาะ

รหัส

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 

Field Experience in Communication Arts

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

                ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำรวจหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ

        17.4 แผนการศึกษา

                วิชาเอกการประชาสัมพันธ์

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

 

3101102

การสื่อสารมนุษย์

3 (3-0-6)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก 1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

 
 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3101101

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3102510

หลักการถ่ายภาพ

3 (2-2-5)

 

3102501

ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3101401

ภาษาอังกฤษเพื่องานวิชาชีพนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

3 ( )

 

3111101

หลักการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

3112101

การสื่อสารในองค์การ

3 (2-2-5)

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

3112201

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

3112210

การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

3114202

การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ

3 (3-0-6)

 

3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

3 ( )

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

3103901

การวิจัยนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3113520

การผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

3113510

การวางแผนและการดำเนินงานประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

3113521

การผลิตและจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

3114501

การจัดนิทรรศการ

2 (1-2-3)

 

3113530

สาธารณมติ

3 (3-0-6)

 
 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3103101

กฎหมายและจริยธรรมทางนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

แกน

3102203

การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

3 (2-2-5)

แกน

3104201

สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร

3 (2-2-5)

บังคับ

3113902

การวิจัยประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

บังคับ

3113231

การถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

เลือก

3124210

การเขียนบทความและสารคดี

3 (2-2-5)

เลือก

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3113211

การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

3101402

ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

3114901

การสัมมนาการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 
 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 
 

รวม

5

 

                วิชาเอกวารสารศาสตร์

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

 

3101102

การสื่อสารมนุษย์

3 (3-0-6)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก 1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

 
 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3101101

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อการนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3102510

หลักการถ่ายภาพ

3 (2-2-5)

 

3102501

ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3102203

การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

3 (2-2-5)

 

3101401

ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

3 ( )

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

3101403

ภาษาอังกฤษเพื่องานวารสารศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3122211

การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

3 ( )

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3104201

สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

3103901

การวิจัยนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3124502

การสื่อข่าวชั้นสูง

3 (2-2-5)

 

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

3101406

การแปลข่าวและเขียนข่าวภาษาอังกฤษ

3 (2-2-5)

 

3123222

ระบบสารสนเทศเพื่องานวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3124601

การบริหารงานสิ่งพิมพ์

3 (3-0-6)

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

3103101

กฎหมายและจริยธรรมทางนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3124210

การเขียนบทความและสารคดี

3 (2-2-5)

 

3123903

การวิจัยวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

3123501

การบรรณาธิกรหนังสือพิมพ์และนิตยสาร

3 (2-2-5)

 

3123524

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

3 (2-2-5)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3123220

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

3123232

การถ่ายภาพวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3124902

สัมมนาวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3122103

เทคโนโลยีทางการพิมพ์

3 (3-0-6)

 

3121101

หลักวารสารศาสตร์

3 (3-0-6)

 
 

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 
 

รวม

5

 

                วิชาเอกการโฆษณา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

 

3101102

การสื่อสารมนุษย์

3 (3-0-6)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก 1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

 
 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3101101

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3102510

หลักการถ่ายภาพ

3 (2-2-5)

 

3102501

ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3101401

ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

3131101

หลักการโฆษณา

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

3 ( )

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3132101

หลักการสื่อสารการตลาด

3 (3-0-6)

 

3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3 (3-0-6)

 

3101404

ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณา

3 (3-0-6)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

3111101

หลักการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

3141101

หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

3 ( )

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3104201

สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

3103901

การวิจัยนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3133213

การออกแบบโฆษณาด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

3103101

กฎหมายและจริยธรรมทางนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3133210

การเขียนบทโฆษณา

3 (2-2-5)

 

3133233

การถ่ายภาพโฆษณา

3 (2-2-5)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

3134201

การสร้างสรรค์และผลิตงานโฆษณา

3 (2-2-5)

 

3133510

การวางแผนสื่อโฆษณา

3 (2-2-5)

 

3134601

การบริหารธุรกิจงานโฆษณา

3 (3-0-6)

 

3133250

การจัดแสดงสินค้า และการส่งเสริมการขาย

3 (2-2-5)

 

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3133904

การวิจัยโฆษณา

3 (2-2-5)

 

3102203

การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

3 (2-2-5)

 

3134903

สัมมนาการโฆษณา

3 (2-2-5)

 

3133220

วาทวิทยาการโฆษณา

3 (2-2-5)

 
 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 
 

รวม

5

 

                วิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

 

3101102

การสื่อสารมนุษย์

3 (3-0-6)

 
 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

 

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือก 1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (1-2-3)

 

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

 
 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3101101

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3102510

หลักการถ่ายภาพ

3 (2-2-5)

 

3102501

ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

3101401

ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

3141101

หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

3 ( )

 
 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

3101405

ภาษาอังกฤษเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

3142501

การสื่อข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

3142530

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง

2 (1-2-3)

 

4311704

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 2

3 ( )

 
 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3211101

องค์การและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

3103901

การวิจัยนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3143210

การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

3143514

วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ชุมชน

3 (2-2-5)

 

3143220

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

3142531

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุโทรทัศน์

2 (1-2-3)

 

3104201

สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 
 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3102203

การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

3 (2-2-5)

 

3103101

กฎหมายและจริยธรรมทางนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3142510

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

3142520

การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

3144201

การแสดงและการกำกับการแสดง

2 (1-2-3)

 

3143530

การผลิตกราฟิกเพื่องานวิทยุโทรทัศน์

2 (1-2-3)

 
 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3143905

การวิจัยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

3144604

ธุรกิจงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

3144605

การบริหารงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

2 (2-0-4)

 

3144904

สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 
 

รวม

14

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3104801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 
 

รวม

5

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. หมวดวิชาเฉพาะ

รายวิชา 3101101

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Development of Personality for Communication Arts

 

        ศึกษาความหมาย องค์ประกอบของบุคลิกภาพ ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การพัฒนาบุคลิกภาพส่วนบุคคลและบุคลิกภาพทางสังคม เช่น การแต่งตัว การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร มารยาทสังคม มนุษยสัมพันธ์ การเป็นผู้นำ และขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในงานนิเทศศาสตร์

รายวิชา 3101102

การสื่อสารมนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Communication

 

        ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ และวิวัฒนาการของการสื่อสารของมนุษย์ ทฤษฎี กระบวนการ โครงสร้างและลักษณะการสื่อสารประเภทต่าง ๆ การสื่อสารภายในบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุ่มใหญ่ การสื่อสารในองค์การ และการสื่อสารมวลชน ตลอดจนบทบาทและอิทธิพลของการสื่อสารที่มีผลต่อการพัฒนาสังคมมนุษย์

รายวิชา 3101401

ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

English for Communication Arts Profession

 

        ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่ใช้เฉพาะทางการสื่อสารทั่วไปและการสื่อสารมวลชน โดยเน้นไปที่วิธีการและเทคนิคสำหรับการสื่อสารแนวคิดผ่านทางการพูดและการเขียน ฝึกทักษะการค้นหาและการอ่านเอกสารต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการสื่อสารมวลชนแขนงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางวารสารศาสตร์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ การโฆษณา และการประชาสัมพันธ์ รวมไปถึงการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพในการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ อาทิ เรียงความหรือบทความ การเขียนข่าว สุนทรพจน์ การนำเสนอ ฯลฯ

รายวิชา 3101402

ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

English for Public Relations

 

        ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานประชาสัมพันธ์ด้านต่างๆ อาทิ การผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจด้านการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3101403

ภาษาอังกฤษเพื่องานวารสารศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Journalism

 

        ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานวารสารศาสตร์ด้านต่างๆ อาทิ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สิ่งพิมพ์พิเศษ รวมไปถึงการผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจทางด้านวารสารศาสตร์ ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านวารสารศาสตร์

รายวิชา 3101404

ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณา

3 (3-0-6)

 

English for Advertising

 

        ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานโฆษณา อาทิ การวางแผน การผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจงานโฆษณา สื่อโฆษณา ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางการโฆษณา

รายวิชา 3101405

ภาษาอังกฤษเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

English for Radio and Television Broadcasting

 

        ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ด้านต่างๆ อาทิ การผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3101406

การแปลข่าวและเขียนข่าวภาษาอังกฤษ

3 (2-2-5)

 

News Translation and English News Writing

 

        หลักการและกลวิธีพื้นฐานในการแปลข่าวภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ การเขียนข่าวภาษาอังกฤษ ฝึกการแปลสำนวนโวหาร ศัพท์เฉพาะที่ใช้ในวารสารและหนังสือพิมพ์

รายวิชา 3102203

การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

3 (2-2-5)

 

Communication in Rural Development

 

        กระบวนการ บทบาท ความรับผิดชอบ และปัญหาของการสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น บทบาทของสื่อมวลชนในการพัฒนาท้องถิ่น การนำเอาการสื่อสารหลายรูปแบบทางด้านวารสารศาสตร์และการประชาสัมพันธ์มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อท้องถิ่นและสังคมส่วนรวมในด้านต่างๆ เช่น ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจสังคม ด้านการเกษตร ด้านสาธารณสุข และด้านอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น

รายวิชา 3102501

ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Language for Communication Arts

 

        ศึกษาเกี่ยวกับศิลปะการใช้ภาษาในการสื่อสารทั้งวัจนภาษา และอวัจนภาษา เพื่อให้เกิดการสื่อความหมาย การโน้มน้าวชักจูงอย่างมีประสิทธิภาพ ฝึกทักษะศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์

รายวิชา 3102510

หลักการถ่ายภาพเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic Photography

 

        ศึกษาเกี่ยวกับแสงในการถ่ายภาพ การกำหนดมุมกล้อง ขนาดและสัดส่วนของภาพ การสร้างภาพจากธรรมชาติของกล้องและส่วนประกอบ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรองรับความหมายและเจตนาของผู้ส่งสารได้ ปฏิบัติการล้าง – อัด – ขยายภาพถ่ายและเทคนิคการสร้างภาพในห้องมืดขั้นพื้นฐาน การสร้างแนวคิด และการนำเสนอแนวคิดในงานภาพ

รายวิชา 3103101

กฎหมายและจริยธรรมทางนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Laws and Ethics of Mass Communication

 

        ศึกษาสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกของมนุษย์ ปรัชญากฎหมาย กฎหมายเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย กฎหมายสื่อสารมวลชน และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชน

รายวิชา 3103211

เทคนิคและเทคโนโลยีการนำเสนอ

2 (1-2-3)

 

Presentation Technique and Technology

 

        หลักการ เทคนิค กลวิธี กระบวนการในการนำเสนอข้อมูล ภาพ และเสียง โดยอาศัยสื่อชนิดต่างๆ การใช้เครื่องมือสำหรับการสื่อสารประกอบการนำเสนอ การใช้กล้องถ่ายรูป กล้องวิดีทัศน์ เครื่องฉายภาพชนิดต่างๆ คอมพิวเตอร์ วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง ฯลฯ ฝึกปฏิบัติการนำความรู้มาใช้นำเสนอข้อมูลในสถานการณ์และกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน

รายวิชา 3103601

การบริหารงานบริการลูกค้า

3 (3-0-6)

 

Client Service Management

 

        ความหมาย บทบาทหน้าที่ และความสำคัญของงานบริการลูกค้าในองค์กรโฆษณาระดับต่างๆ การจัดทำแผนการตลาดและวิเคราะห์ข้อมูลการตลาดเพื่อการวางแผนงานโฆษณาให้กับลูกค้า การประสานงานกับลูกค้าและภายในแผนกอื่นในองค์กรโฆษณา การดูแล การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการดำเนินแผนงานโฆษณา

รายวิชา 3103901

การวิจัยนิเทศศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Research in Communication Arts

 

        ศึกษาระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับการวิจัยนิเทศศาสตร์ ศึกษาถึงความหมาย บทบาท กระบวนการ ชนิด คุณลักษณะของการวิจัย ภาษาที่ใช้ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ วิธีการเขียนเค้าโครง แบบสอบถาม การสุ่มตัวอย่าง การจัดตารางข้อมูลการวิเคราะห์และการเขียนรายงานการวิจัยอันเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์

รายวิชา 3104201

สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

Media and Communication technology

 

        ศึกษาถึงความหมาย ความสำคัญ กระบวนกา ร องค์ประกอบของการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ ประเภทและวิธีการใช้เครื่องมือต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการสื่อสารในงานนิเทศศาสตร์ รวมทั้งการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการสื่อสาร

รายวิชา 3104301

การคิดสร้างสรรค์

2 (1-2-3)

 

Creative Thinking

 

        ศึกษาถึงหลักการ เทคนิควิธี กลยุทธ์ และฝึกฝนทักษะการใช้และแสดงออกด้านความคิดเชิงสร้างสรรค์รูปแบบต่างๆ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในแต่ละสถานการณ์

รายวิชา 3104302

การคิดเชิงวิพากษ์

2 (1-2-3)

 

Critical Thinking

 

        ศึกษาถึงหลักการ เทคนิควิธี และฝึกฝนทักษะการใช้และแสดงออกด้านความคิดเชิงวิเคราะห์รูปแบบต่างๆ ในประเด็นที่หลากหลายอย่างมีเหตุผล ไม่ว่าจะเป็นประเด็นทางการเมือง ศิลปะ และวัฒนธรรม หรือปัญหาสังคมที่น่าสนใจ เปิดประตูสู่การคิดในมิติอื่น

รายวิชา 3104801

การฝึกประสบการวิชาชีพนิเทศศาสตร์

5 (450)

 

Field Experience in Communication Arts

 

        ฝึกปฏิบัติงานด้านนิเทศศาสตร์ในหน่วยงานรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ หรือธุรกิจเอกชนโดยการนำความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในสถานการณ์จริง จัดให้มีการปฐมนิเทศเกี่ยวกับรายละเอียดของการฝึกงาน และจัดปัจฉิมนิเทศเพื่ออภิปราย และสรุปผลปัญหางานด้านนิเทศศาสตร์ที่เกิดขึ้น ตลอดจนวิธีการแก้ไขปัญหาให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

รายวิชา 3111101

หลักการประชาสัมพันธ์

3 (3-0-6)

 

Principles of Public Relations

 

        ความหมาย วิวัฒนาการของการประชาสัมพันธ์ หลักการและบทบาทของการประชาสัมพันธ์ต่อระบบสังคม เศรษฐกิจและการเมือง กระบวนการของการประชาสัมพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน ตลอดจนศึกษาถึงกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคและเครื่องมือ การประชาสัมพันธ์ จรรยาบรรณของนักประชาสัมพันธ์ โครงสร้างและลักษณะงานประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น หน่วยงานของรัฐบาล หน่วยงานธุรกิจ และองค์การที่ไม่แสวงหากำไร ฯลฯ ความสำคัญของประชามติต่อการประชาสัมพันธ์ การสำรวจประชามติ

รายวิชา 3112101

การสื่อสารในองค์การ

3 (2-2-5)

 

Organization Communication

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ และแนวคิดหลักของการสื่อสารในองค์การ รูปแบบของเครื่องมือเช่น การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ แนวคิด และรูปแบบลักษณะของการสื่อสารองค์การ เพื่อประยุกต์ในด้านต่าง ๆ เช่น การสื่อสารการตลาด การสื่อสารวัฒนธรรม การสื่อสารการพัฒนา การสื่อสารสาธารณสุข การใช้สื่อมวลชนเพื่อการสื่อสารองค์การ สร้างองค์กรภาครัฐ องค์กรธุรกิจ และองค์การไม่แสวงหากำไร

รายวิชา 3112201

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Speaking for Public Relations

 

        ศึกษาความมุ่งหมายและหลักการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ ฝึกปฏิบัติเพื่อสร้างบุคลิกภาพ ความมั่นใจ ฝึกการใช้เสียง ตลอดจนลีลาการดำเนินเรื่องและการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับการประชาสัมพันธ์ในโอกาสต่าง ๆ

รายวิชา 3112210

การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Writing for Public Relations

 

        ศึกษาความมุ่งหมายและฝึกการเขียนลักษณะต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ต่องานด้าน ประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายภายในและภายนอกหน่วยงาน เช่น การเขียนบรรยายสรุป การเขียนคำปราศรัย การเขียนบทประเภทต่าง ๆ การเขียนข่าวแจก การเตรียมเอกสารเพื่อการเผยแพร่ ฯลฯ

รายวิชา 3113102

การประชาสัมพันธ์และสารสนเทศทางวัฒนธรรม

3 (3-0-6)

 

Public Relation and Information for Cultural Studies

 

        หลักการและทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ จิตวิทยามวลชน การสื่อข่าว การเขียนข่าว และการนำเสนอข่าวสารข้อมูลด้านวัฒนธรรม การวางแผน การออกแบบ และปฏิบัติการจัดนิทรรศการเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ รวมทั้งรูปแบบและการบริหารงานประชาสัมพันธ์ด้านวัฒนธรรมผ่านระบบสารสนเทศ

รายวิชา 3113211

การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Design for Public Relations Media

 

        ทบทวนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ศึกษาหลักการและวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการจัดหน้า การออกแบบสื่อต่างๆเพื่องานประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3113221

ระบบสารสนเทศเพื่องานประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Information System for Public Relations

 

        ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศต่องานประชาสัมพันธ์ในระดับต่างๆ แหล่งสารสนเทศประเภทต่างๆ วิธีการแสวงหา รวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อสนองการใช้งานของหน่วยงาน ตลอดจนวิธีการนำข้อมูลออกมาใช้งาน ฝึกจัดระบบสารนิเทศด้วยคอมพิวเตอร์

รายวิชา 3113231

การถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Photography for Public Relations

 

        ความหมายและคุณลักษณะของภาพถ่าย ภาพข่าว รวมทั้งประเภทของภาพถ่ายเพื่อการประชาสัมพันธ์ การวางแผน การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพื่อการถ่ายภาพประชาสัมพันธ์ ปฏิบัติการถ่ายภาพขาว – ดำ ภาพสี และสไลด์เพื่อการประชาสัมพันธ์ และการนำเสนอภาพถ่าย

รายวิชา 3113510

การวางแผน และการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Public Relates Planning and Work shop

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ นโยบาย และประเภทของการวางแผน การประชาสัมพันธ์ รวมทั้งกระบวนการวางแผนงานประชาสัมพันธ์ เช่น การกำหนดงบประมาณ การกำหนดอัตรากำลัง การติดตามผล และประเมินผล การประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติงานและค้นคว้างาน ทางด้านการประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3113520

การผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Public Relations Media Production

 

        รูปแบบ และวิธีการผลิตสื่อประเภทต่างๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์ เช่น สิ่งพิมพ์ รายการวิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุโทรทัศน์ ฯลฯ เริ่มตั้งแต่วางแผนการผลิต จัดเตรียมเนื้อหา ดำเนินการผลิตและประเมินผลการผลิตสื่อ ศึกษาปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ไข ฝึกปฏิบัติการผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ในกรณีต่างๆ

รายวิชา 3113521

การผลิตและจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Production of Radio Programs for Public Relations

 

        ศึกษาถึงหลักการและเทคนิคในการผลิตและจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์ ฝึกปฏิบัติในการเขียนบทวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์ลักษณะต่าง ๆ การผลิตรายการ การวางแผนเพื่อนำเสนอรายการ และการจัดรายการที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3113522

การผลิตและการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Production of Television Programs for Public Relations

 

        ศึกษาหลักการและเทคนิคการผลิตและจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ฝึกปฏิบัติในการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ การวางแผนการผลิตรายการ และการจัดรายการรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับกลุ้มเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ในการประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3113530

สาธารณมติ

3 (3-0-6)

 

Public Opinion

 

        ศึกษาถึงความหมาย ความสำคัญของประชามติ ประชามติกับการโฆษณาชวนเชื่อ และสงครามจิตวิทยา การวิเคราะห์วิจัยประชามติ ความสำคัญและความสัมพันธ์ของประชามติกับการประชาสัมพันธ์ การสร้างประชามติเพื่อผลในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์

รายวิชา 3113540

การเผยแพร่ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Publicity for Public Relations

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และกระบวนการในการเผยแพร่ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเลือกใช้สื่อและการจัดตารางสื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ลักษณะของสาร ฯลฯ ตลอดจนวิธีการประเมินผล และการเผยแพร่ข่าวสาร

รายวิชา 3113902

การวิจัยประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Public Relations Research

 

        ทฤษฎี เทคนิค และกระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่จำเป็นต่องานวิจัยด้านประชาสัมพันธ์ ฝึกปฏิบัติเขียนโครงการและวิจัย

รายวิชา 3114201

การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ

3 (3-0-6)

 

Communication for Persuasion

 

        ศึกษาถึงทฤษฎีการโน้มน้าวใจ ลักษณะและวิธีการโน้มน้าวใจโดยการใช้สื่อต่าง ๆ เช่น สื่อมวลชน สื่อบุคคล ฯลฯ รวมทั้งศึกษาถึงองค์ประกอบสำคัญทั้งทางด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยาที่มีผลต่อการโน้มน้าวใจเพื่อประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

รายวิชา 3114203

สื่อมวลชนสัมพันธ์

2 (1-2-3)

 

Mass Media Relations

 

        ศึกษาความหมาย ความสำคัญและหลักการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักประชาสัมพันธ์และหน่วยงานกับสื่อมวลชน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์กับสื่อมวลชน ตลอดจนภารกิจของผู้ปฏิบัติงานสื่อมวลชนสัมพันธ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

รายวิชา 3114501

การจัดนิทรรศการ

2 (1-2-3)

 

Exhibition

 

        ความหมาย ความสำคัญ และคุณลักษณะของนิทรรศการประเภทต่าง ๆ ของนิทรรศการ การวางแผน การออกแบบการจัดนิทรรศการ เทคนิคต่าง ๆในการจัดนิทรรศการ ปฏิบัติการจัดนิทรรศการเพื่อการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ การวัดและประเมินผลการจัดนิทรรศการ

รายวิชา 3114601

การประชาสัมพันธ์ทางการตลาด

3 (3-0-6)

 

Public Relations for Marketing

 

        ทบทวนความรู้เบื้องต้นด้านการประชาสัมพันธ์ บทบาทหน้าที่ของงานประชาสัมพันธ์ในยุคใหม่ การนำงานด้านประชาสัมพันธ์มาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการตลาด ทั้งในฐานะที่เป็นเครื่องมือหลัก และ/หรือเครื่องมือสนับสนุนในการสื่อสารทางการตลาด

รายวิชา 3114901

สัมมนาการประชาสัมพันธ์

3 (2-2-5)

 

Seminar in Public Relations

 

            ความหมายของการสัมมนา จุดมุ่งหมาย องค์ประกอบ กระบวนการ รูปแบบและเทคนิคการจัดสัมมนา ความหมายของการประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ศึกษา วิเคราะห์และวิจารณ์ในการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เข้าใจถึงอุปสรรคและข้อเท็จจริง ตลอดจนการหาแนวทางแก้ไขปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ของการประชาสัมพันธ์ ฝึกจัดสถานการณ์จำลองในการสัมมนาปัญหาการประชาสัมพันธ์ และฝึกจัดสัมมนาการประชาสัมพันธ์ในสถานการณ์จริง

รายวิชา 3121101

หลักวารสารศาสตร์

3 (3-0-6)

 

Principles of Journalism

 

        ศึกษาระบบข่าวสารกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สิทธิการรับรู้ข่าวสารในสังคม ความต้องการและการใช้ประโยชน์จากข่าวสาร ความหมาย คุณค่าและความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริง ความคิดเห็นและความจริง ประวัติและพัฒนาการของงานวารสารศาสตร์ในด้านแนวคิด การจัดองค์กรและสื่อ การแตกตัวของกลุ่มความคิดทางวารสารศาสตร์ในสังคม บทบาทของงานข่าวและข้อเขียนทางวารสารศาสตร์ต่อสังคม เศรษฐกิจการเมืองและวัฒนธรรม หลักจริยธรรมทางวิชาชีพวารสารศาสตร์

รายวิชา 3122102

สื่อมวลชนกับสังคม

3 (3-0-6)

 

Mass Media and Society

 

        บทบาท หน้าที่ของสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ อิทธิพลหรือผลกระทบของสื่อมวลชนที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการเมือง ความรับผิดชอบของสื่อมวลชนที่มีตอสังคม ตลอดจนอิทธิพลของสังคมที่มีต่อสื่อมวลชน

รายวิชา 3122103

เทคโนโลยีทางการพิมพ์

3 (3-0-6)

 

Printing Technology

 

        กระบวนการเกี่ยวกับการผลิตสิ่งพิมพ์ ระบบเทคนิค ตลอดจนอุปกรณ์ทางการพิมพ์เพื่อให้สามารถเลือกใช้และดำเนินการในการผลิตสิ่งพิมพ์แต่ละประเภทได้ โดยเน้นหนังสือพิมพ์และนิตยสาร

รายวิชา 3122211

การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Creative Writing in Journalism

 

        รูปแบบและวิธีการเขียนประเภทต่างๆ ได้แก่ คอลัมน์ ร้อยกรอง เรื่องเล่า ข่าวสังคม วิเคราะห์ข่าว บทวิจารณ์ สารสารคดี บทความ โดยฝึกภาคปฏิบัติตลอดภาคเรียน

รายวิชา 3122501

การสื่อข่าวเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic News Reporting

 

        ความหมาย คุณลักษณะ ประเภทของข่าวและการเขียนข่าว คุณลักษณะของนักข่าว ทฤษฎีขั้นพื้นฐานของการสื่อข่าว ฝึกปฏิบัติการสื่อข่าวเน้นกระบวนการสัมภาษณ์ และการเขียนข่าวแบบต่าง ๆ

รายวิชา 3123220

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Pirated Media

 

        ศึกษาและประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งการวางแผนรูปแบบ วิธีการผลิต และวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่องานด้านวารสารศาสตร์ ฝึกการใช้คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ด อินเตอร์เน็ต เพื่อการผลิตสื่อออนไลน์ในงานด้านวารสารศาสตร์

รายวิชา 3123222

ระบบสารสนเทศเพื่องานวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Information Systems for Journalism

 

        เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ จำแนกประเภท และนำมาใช้ในงานวารสารศาสตร์ รวมทั้งการจัดบริการ ฝึกสร้างฐานข้อมูลสำหรับงานวารสารศาสตร์ในระดับบุคคลและศูนย์ข้อมูลของหน่วยงาน

รายวิชา 3123232

การถ่ายภาพวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Photo Journalism

 

        ความหมาย ความสำคัญและประเภทของภาพถ่ายในสิ่งพิมพ์ต่างๆ การจัดองค์ประกอบของภาพแต่ละประเภทเพื่อโน้มน้าวใจผู้อ่าน ปฏิบัติการผลิตต้นแบบประเภทภาพขาวดำ ภาพสีหรือสไลด์ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เนื้อหาและรูปภาพ การประเมินคุณภาพของภาพถ่ายทางวารสารศาสตร์

รายวิชา 3123501

การบรรณาธิกรหนังสือพิมพ์และนิตยสาร

3 (2-2-5)

 

Newspaper and Magazine Editing

 

        หลักเกณฑ์และรูปแบบการจัดทำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ประเภทต่าง ๆ เช่น นิตยสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ในหน่วยงาน นิตยสารเพื่อการจัดจำหน่ายทั่วไป ขนาดและรูปเล่มของหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารที่มีอยู่ในปัจจุบัน การเตรียมต้นฉบับเพื่อการจัดพิมพ์ การตรวจแก้คัดย่อต้นฉบับ การจัดหน้าและตกแต่งหน้าหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร

รายวิชา 3123523

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

3 (2-2-5)

 

Printed Media Design

 

        ลักษณะและธรรมชาติของสื่อสิ่งพิมพ์ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ การออกแบบอักษรและภาพประกอบ การจัดวางรูปหน้าและการเข้าเล่ม

รายวิชา 3123524

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

3 (2-2-5)

 

Printed Media

 

        รูปแบบและวิธีการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ เช่น แผ่นปลิว แผ่นพับ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร ฯลฯ ฝึกปฏิบัติผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ โดยวางแผนการผลิต จัดเตรียม เนื้อหา ดำเนินการผลิตและประเมินผลการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งศึกษาปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น วิธีแก้ไขและข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาเหล่านั้น

รายวิชา 3123601

ธุรกิจการพิมพ์

2 (2-0-4)

 

Publication Business

 

        บทบาทของงานด้านวารสารศาสตร์ในสังคม ประเภทและองค์ประกอบของธุรกิจสิ่งพิมพ์ การตลาดและการดำเนินธุรกิจสิ่งพิมพ์ในสังคม ประเภทและองค์ประกอบของธุรกิจสิ่งพิมพ์ การจัดองค์กร การงบประมาณ กฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์

รายวิชา 3123903

การวิจัยวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Research in Journalism

 

        ศึกษาทฤษฎี เทคนิคและกระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่เป็นประโยชน์และจำเป็นต่องานวิจัยด้านวารสารศาสตร์ เขียนโครงการ และปฏิบัติการวิจัย

รายวิชา 3124201

การสื่อข่าวเศรษฐกิจ

3(2-2-5)

 

Economic News Reporting

 

        ความหมาย ความสำคัญ และคุณลักษณะของข่าวเศรษฐกิจ แหล่งข่าว วิธีคิดประเด็นข่าว เทคนิคการหาข่าวและการนำเสนอข่าวเศรษฐกิจ การประเมินคุณค่าข่าวเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างข่าวเศรษฐกิจกับสายข่าวอื่น ๆ ความรู้เกี่ยวกับศัพท์เฉพาะทางเศรษฐกิจ

รายวิชา 3124202

การสื่อข่าวการเมือง

3(2-2-5)

 

Political News Reporting

 

        ความหมาย ความสำคัญและคุณลักษณะของข่าวการเมือง แหล่งข่าว วิธีคิด ประเด็นข่าว เทคนิคการหาข่าวและการนำเสนอข่าวการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างข่าวการเมืองกับสายข่าวอื่น ๆ ความรู้เกี่ยวกับศัพท์เฉพาะทางการเมือง

รายวิชา 3124203

การสื่อข่าวสังคม

3(2-2-5)

 

Social News Reporting

 

        ความหมาย ความสำคัญ และคุณลักษณะของข่าวสังคม แหล่งข่าว วิธีคิด ประเด็นข่าว เทคนิคการหาข่าวและการนำเสนอข่าวสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างข่าวสังคมกับสายข่าวอื่น ๆ ความรู้เกี่ยวกับศัพท์เฉพาะทางสังคม

รายวิชา 3124204

การสื่อข่าวต่างประเทศ

3(2-2-5)

 

International News Reporting

 

        ความหมาย ความสำคัญและคุณลักษณะของข่าวต่างประเทศ แหล่งข่าว วิธีคิดประเด็นข่าว เทคนิคการหาข่าวและการนำเสนอข่าวต่างประเทศ กับสายข่าวอื่น ๆ ความรู้เกี่ยวกับศัพท์เฉพาะทางข่าวต่างประเทศ

รายวิชา 3124210

การเขียนบทความและสารคดี

3 (2-2-5)

 

Article and Feature Writing

 

        ความหมายของบทความสารคดี วิเคราะห์รูปแบบการเขียนบทความและสารคดีประเภทต่าง ๆ ที่ปรากฏทางสื่อมวลชน ศึกษากลวิธีการเขียน และการใช้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม ฝึกปฏิบัติเขียนบทความและสารคดีประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวารสารศาสตร์

รายวิชา 3124301

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

 

Interpretation of Current Affairs for Communication

 

        บทบาทและวิธีการเสนอข่าวของสำนักข่าวต่าง ๆ เรียนรู้วิธีคิดและวิธีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ภายในประเทศและภายนอกประเทศ ตลอดจนปัญหาและแนวโน้มของสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยโดยตรง ทั้งนี้เพื่อนำผลการวิเคราะห์ดังกล่าวไปใช้เพื่อวางแผนการสื่อสาร

รายวิชา 3124502

การสื่อข่าวชั้นสูง

3 (2-2-5)

 

Advanced News Reporting

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3122501 การสื่อข่าวเบื้องต้น)

        เทคนิคการสื่อข่าวเชิงสืบสวน เชิงวิจัย เชิงอธิบายความ การวิเคราะห์ข่าว การพัฒนาความรู้และทักษะในกระบวนการสื่อข่าว ปัญหาและอุปสรรคในการสื่อข่าว เน้นภาคปฏิบัติ

รายวิชา 3124601

การบริหารงานสิ่งพิมพ์

3 (3-0-6)

 

Printing management

 

        การจัดการองค์กรของหนังสือพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร การบริหารงานในด้านการบรรณาธิการ กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ เสรีภาพและการควบคุม รวมทั้งด้านธุรกิจการลงทุน การโฆษณา การตลาด

รายวิชา 3124902

สัมมนาวารสารศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Seminar in Journalism

 

        ศึกษาวิเคราะห์และวิจารณ์ปัญหาในการดำเนินงานวารสารศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจถึงอุปสรรคและข้อเท็จจริงตลอดจนแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ

รายวิชา 3131101

หลักการโฆษณา

3 (3-0-6)

 

Principles of Advertising

 

        ความหมาย ความสำคัญและแนวคิดในการโฆษณา บทบาทและอิทธิพลของการโฆษณาที่มีผลต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม ลักษณะสำคัญของการโฆษณา การวางแผนงานโฆษณา อันประกอบด้วยการเตรียมข้อมูล การวิจัย การสร้างสรรค์งานโฆษณา การวางแผนสื่อ การกำหนดงบประมาณ และการประเมินผลงานโฆษณา

รายวิชา 3132101

หลักการสื่อสารการตลาด

3 (3-0-6)

 

Principles of Marketing Communication

 

        หลักการ และแนวคิดการทำธุรกิจสมัยใหม่บนพื้นฐานแนวคิดด้านการตลาด ความจำเป็นและความสำคัญของแนวคิดการตลาดในปัจจุบัน บทบาทของส่วนผสมทางการตลาดในการทำหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ เพื่อที่จะถ่ายทอดความคิดจากผู้ประกอบการไปยังผู้บริโภคเป้าหมาย แนวทางในการวางแผนกิจกรรมการส่งเสริมการตลาด เพื่อสื่อสารกับผู้บริโภคหลากหลายรูปแบบ อันประกอบไปด้วย การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการจำหน่าย การบริการ การใช้เครื่องมือเพื่อการขาย การจัดกิจกรรมพิเศษและการประชานิเทศอื่น ๆ

รายวิชา 3132110

การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค

3 (3-0-6)

 

Advertising and Consumer Behavior

 

        ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อวางแผนสร้างสารโฆษณา วิเคราะห์จิตวิทยาผู้บริโภคในสถานการณ์ทางการตลาด พื้นฐานทางจิตวิทยาสังคม ลักษณะของพฤติกรรมและการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้า และแนวทางในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การวิเคราะห์ผู้บริโภคในฐานะผู้ผลิตสารและเป้าหมายในการจูงใจ นำเอากฎเกณฑ์ทางพฤติกรรมศาสตร์มาใช้เพื่อกลวิธีในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

รายวิชา 3132121

หลักและทฤษฎีการสื่อความหมายด้วยภาพ

3 (3-0-6)

 

Principles and Theory of Visual Communication

 

        ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีการสื่อความหมายด้วยภาพ จิตวิทยาการรับรู้กับการสื่อความหมาย การอ่าน–เขียนภาพ (Visual literacy) หลักการสื่อความหมายด้วยภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว จิตวิทยาเกี่ยวกับการมอง การเห็นภาพและภาพถ่าย

รายวิชา 3132209

นวัตกรรมสื่อโฆษณา

2 (1-2-3)

 

Advertising Media Innovation

 

        ศึกษาความหมาย ลักษณะ บทบาท ตลอดการใช้งานสื่อโฆษณาประเภทต่างๆที่ได้มีการคิดค้นและนำมาใช้ทั้งของไทยและต่างประเทศ ตลอดจนการออกแบบคิดค้นสื่อโฆษณาที่สามารถประยุกต์ใช้กับโฆษณาในยุคใหม่

รายวิชา 3132501

นิเทศศิลป์เพื่อการโฆษณา

2 (1-2-3)

 

Visual Communication for Advertising

 

        หลักเบื้องต้นของนิเทศศิลป์และการนำมาใช้ในงานโฆษณา ปัญหาเกี่ยวกับการผลิตวัสดุโฆษณาและต้นฉบับที่จะใช้ในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร จดหมายโฆษณา และโปสเตอร์ ขั้นตอนในการพิมพ์ การใช้กระดาษ การเลือกและการพิมพ์สี การจัดทำแผ่นพับและวัสดุโฆษณาอื่นๆ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติการออกแบบชิ้นงานโฆษณา

รายวิชา 3133201

การโฆษณาทางสิ่งพิมพ์

2 (1-2-3)

 

Printed Media Advertising

 

        การจัดการแผนกโฆษณาในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร การกำหนดอัตราค่าโฆษณา จำนวนจำหน่าย การวิจัยผู้อ่าน การกำหนดนโยบายในการโฆษณาและการรับโฆษณาสิ่งพิมพ์ กฎหมายและข้อบังคับ โอกาสและความสำเร็จของการใช้สื่อสิ่งพิมพ์

รายวิชา 3133202

การโฆษณาชุมชน

2 (1-2-3)

 

Community Advertising

 

        บทบาท หน้าที่ และลักษณะของโฆษณาในชุมชน การนำโฆษณาไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆของชุมชน การใช้โฆษณาขององค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และ/หรือประชาคมในท้องถิ่น ผ่านสื่อประเภทต่างๆ ปัญหาและอุปสรรคของโฆษณาในชุมชน กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของการโฆษณาในชุมชน

รายวิชา 3133203

การโฆษณากับสังคม

3 (2-0-4)

 

Advertising and Society

 

        ศึกษาถึงบทบาท อิทธิพลของการโฆษณาที่มีต่อสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ จรรยาบรรณนักโฆษณา การควบคุมดำเนินงานโฆษณาโดยรัฐ รวมทั้งศึกษาและวิเคราะห์ถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโฆษณาที่ควรมีต่อสังคม

รายวิชา 3133204

การโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง

2 (1-2-3)

 

Radio Advertising

 

        หลักการและแนวปฏิบัติในการโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง ปัญหาของการโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง การวิจัยสื่อวิทยุกระจายเสียง การกำหนดโครงสร้างของอัตราค่าโฆษณาในสื่อวิทยุกระจายเสียง การจัดวางรายการโฆษณา การจัดการแผนโฆษณาในสถานีวิทยุกระจายเสียง การขายรายการและเวลาทางวิทยุกระจายเสียง

รายวิชา 3133205

การโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์

2 (1-2-3)

 

Television Advertising

 

        หลักการและแนวปฏิบัติในการโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ ปัญหาของการโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ การวิจัยสื่อวิทยุโทรทัศน์ การกำหนดโครงสร้างของอัตราค่าโฆษณาในสื่อวิทยุโทรทัศน์ การจัดวางรายการโฆษณา การจัดการแผนโฆษณาในสถานีวิทยุโทรทัศน์ การขายรายการและเวลาทางวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3133210

การเขียนบทโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Creative Copy Writing

 

        ความหมาย ความสำคัญ และกระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ กลยุทธ์ การสร้างสารโฆษณา องค์ประกอบและประเภทของบทโฆษณา ภาษาโฆษณา หลักการเขียนบทโฆษณาและการเขียนบทโฆษณาสำหรับสื่อประเภทต่างๆ ปฏิบัติการเขียนบทโฆษณา

รายวิชา 3133211

การเขียนบทโฆษณาชั้นสูง

2 (1-2-3)

 

Advanced Creative Copy Writing

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3133210 การเขียนบทโฆษณา)

        การสร้างแนวคิดหลักสำหรับการโฆษณา การสร้างสารโฆษณาต่อเนื่องในลักษณะของการรณรงค์ การวิเคราะห์ ความหมายของภาพและคำที่ใช้ ฝึกเขียนและวิเคราะห์ชิ้นงานโฆษณา ในห้องปฏิบัติการ

รายวิชา 3133213

การออกแบบโฆษณาด้วยคอมพิวเตอร์

3 (2-2-5)

 

Computer Design for Advertising

 

        ศึกษาหลักการและวิธีใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการเขียนรูปเรขาคณิต และเทคโนโลยี แผนภูมิสถิติ รูปลายเส้น ภาพการ์ตูน และฝึกปฏิบัติการออกแบบเพื่องานโฆษณา ประเภทต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์

รายวิชา 3133220

วาทวิทยาการโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Speech for Advertising

 

        ความหมาย ความสำคัญและจุดประสงค์ของการพูดเพื่อการโฆษณา การพัฒนาบุคลิกภาพ การใช้เสียงและลีลาในการพูด การเตรียมการ เทคนิคการพูดตามจุดมุ่งหมายต่าง ๆ ของการพูดเพื่อการโฆษณา ฝึกปฏิบัติการพูดเพื่อการโฆษณาที่มีคุณภาพ

รายวิชา 3133230

ศิลปะกับงานภาพถ่าย

3 (2-2-5)

 

Arts and Photography

 

        องค์ประกอบศิลปะ ความงาม และรูปแบบศิลปะ สีและจิตวิทยาสีในงานภาพถ่าย แสงและการจัดแสง หลักการจัดภาพ บรรยากาศและอารมณ์ของภาพ รูปแบบการจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย การวิจารณ์และการบรรยายภาพถ่าย เทคนิคการนำเสนองานภาพถ่าย

รายวิชา 3133233

การถ่ายภาพโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Photography for Advertising

 

        บทบาทของภาพถ่ายต่อการโฆษณา การวางแผน ออกแบบ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และเทคนิคการใช้เครื่องมือในการถ่ายภาพโฆษณา ปฏิบัติการถ่ายภาพโฆษณาประเภทต่างๆ โดยเน้นวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์โน้มน้าวกลุ่มเป้าหมาย และการนำเสนอผลงาน

รายวิชา 3133250

การจัดแสดงสินค้าและการส่งเสริมการขาย

3 (2-2-5)

 

Trade Show and Sales Promotion

 

        ศึกษาการรูปแบบการจัดแสดงสินค้า ลักษณะต่าง ๆ การส่งเสริมการขาย การวางแผน การกำหนดวัตถุประสงค์ งบประมาณ กลยุทธ์และยุทธวิธีในการส่งเสริมการขาย การประเมินผล การส่งเสริมการขาย ฝึกปฏิบัติ การจัดแสดงสินค้า วางแผนดำเนินการส่งเสริมการขาย

รายวิชา 3133510

การวางแผนสื่อโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Advertising Media Planning

 

        ความหมาย ความสำคัญ และวัตถุประสงค์การวางแผนสื่อโฆษณา แนวคิด และหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกสื่อเพื่อการโฆษณา ตลอดจนองค์ประกอบและกระบวนการในการวางแผนสื่อ โดยคำนึงถึงวัตถุประสงค์ทางการตลาด การโฆษณา งบประมาณ เวลาและการซื้อสื่อเพื่อการโฆษณา ปฏิบัติการวางแผนและการสร้างตารางกำหนดสื่อโฆษณา

รายวิชา 3133510

การวางแผนสื่อโฆษณา

3(2-2-5)

 

Advertising Media Planning

 

        ความหมาย ความสำคัญ และวัตถุประสงค์การวางแผนสื่อโฆษณา แนวคิด และหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกสื่อเพื่อการโฆษณา ตลอดจนองค์ประกอบและกระบวนการในการวางแผนสื่อ โดยคำนึงถึงวัตถุประสงค์ทางการตลาด การโฆษณางบประมาณเวลาและการซื้อสื่อเพื่อการโฆษณา ปฏิบัติการวางแผนและการสร้างตารางกำหนดสื่อโฆษณา

รายวิชา 3133904

การวิจัยโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Advertising Research

 

        ความหมาย ความสำคัญ ขอบเขต แนวคิด หลักการและทฤษฎีในการวิจัยโฆษณา เทคนิคและกระบวนการในการวิจัย การรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนการผลิต และการประเมินผลงานโฆษณา ฝึกปฏิบัติการวิจัยโฆษณา

รายวิชา 3134201

การสร้างสรรค์และผลิตงานโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Advertising Creativity and Production

 

        การกำหนดกลยุทธ์ การสร้างสรรค์ และการถ่ายทอดสู่ชิ้นงานโฆษณา กระบวนการสร้างสรรค์งานโฆษณาเพื่อให้ได้ภาพ และ/หรือข้อความโฆษณา สำหรับสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ปฏิบัติการสร้างสรรค์ ผลิตชิ้นงานโฆษณาประเภทต่าง ๆ

รายวิชา 3134210

การโฆษณาเจาะตรง

2 (1-2-3)

 

Direct Response Advertising

 

        ความหมาย ลักษณะ รูปแบบ และกลยุทธ์ของการตลาดทางตรง โดยอาศัยการโฆษณาที่เจาะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ฝึกปฏิบัติการวางแผนด้านการทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การเลือกยุทธวิธีการโฆษณาผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น ทางโทรศัพท์ วิทยุโทรทัศน์ แคทตาล็อค ไปรษณีย์ ฯลฯ

รายวิชา 3134303

การศึกษาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลงานด้านการโฆษณา

2 (1-2-3)

 

Study and Analysis of Advertising Master Piece

 

        ศึกษาและฝึกปฏิบัติการ วิเคราะห์กระบวนการและแนวคิดของการผลิตงานโฆษณาประเภทต่าง ๆ ตลอดจนกลยุทธ์ของการโฆษณาที่ประสบผลสำเร็จ

รายวิชา 3134510

การกำกับศิลป์

2 (1-2-3)

 

Arts Direction

 

        ความหมาย ลักษณะ ทฤษฎี กระบวนการ เทคนิควิธี และกลยุทธ์ในการกำกับศิลป์ ความสำคัญและความจำเป็นในการกำกับศิลป์เพื่องานโฆษณาทางสื่อต่างๆ รวมไปถึงงานวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฝึกปฏิบัติ การกำกับศิลป์ในสถานการณ์ต่างๆ

รายวิชา 3134601

การบริหารธุรกิจงานโฆษณา

3 (3-0-6)

 

Advertising Business Management

 

        ศึกษาถึงโครงสร้าง การกำหนดนโยบาย การจัดการองค์กรธุรกิจโฆษณา การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การหาลูกค้า การจัดการด้านการสร้างสรรค์สื่อโฆษณา การจัดการด้านสื่อโฆษณา การจัดงบประมาณและบุคลากร การนำเสนองานโฆษณา การวิเคราะห์และประเมินผลเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงานโฆษณา กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโฆษณา

รายวิชา 3134603

ธุรกิจงานโฆษณา

3 (3-0-6)

 

Advertising Business

 

        บทบาทของงานโฆษณาในสังคม ประเภทและองค์ประกอบของธุรกิจงานโฆษณา การตลาดและการดำเนินธุรกิจโฆษณาในสังคม ประเภทและองค์ประกอบของธุรกิจงานโฆษณา การจัดองค์กร การงบประมาณ กฎหมายที่เกี่ยวกับงานโฆษณา

รายวิชา 3134903

สัมมนาการโฆษณา

3 (2-2-5)

 

Seminar in Advertising

 

        ความหมายของการสัมมนา จุดมุ่งหมาย องค์ประกอบ กระบวนการ รูปแบบและเทคนิคการจัดสัมมนา ความหมายของการโฆษณากับสังคมและวัฒนธรรม การโฆษณากับเศรษฐกิจ การโฆษณากับข้อบังคับทางกฎหมาย ฝึกการสัมมนาเพื่อให้เข้าใจถึงอุปสรรคและข้อเท็จจริง ตลอดจนถึงการหาแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับงานโฆษณา ฝึกจัดสถานการณ์จำลอง และ/หรือสถานการณ์จริง

รายวิชา 3141101

หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

Principles of Broadcasting

 

        ประวัติและวิวัฒนาการของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คุณลักษณะ บทบาท อิทธิพล เครื่องมือและเทคนิคของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

รายวิชา 3142202

การพูดและการแสดงทางวิทยุกระจายเสียง

2 (1-2-3)

 

Radio Performance

 

        เทคนิคการพูด การแสดงที่ใช้กับวิทยุกระจายเสียง การใช้เสียงสำหรับอ่านบท การประกาศ การใช้เสียงประกอบ (Sound effect) และเทคนิคอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับวิทยุกระจายเสียง

รายวิชา 3142501

การสื่อข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

News Reporting for Broadcasting

 

        เทคนิคการหาข่าว การรายงานข่าวประเภทต่างๆ หลักการเขียนข่าว การพิจารณาความสำคัญและความน่าสนใจของข่าว ฝึกปฏิบัติการเขียนข่าวทั้งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในรูปแบบต่าง ๆ

รายวิชา 3142510

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic Radio Production

 

        กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงประเภทต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการผลิตรายการตามขั้นตอน

รายวิชา 3142511

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

3 (2-2-5)

 

Advanced Radio Production

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3142510 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น)

        เทคนิคและการวางแผนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง ฝึกผลิตรายการวิทยุประเภทต่าง ๆในห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง

รายวิชา 3142520

การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

3 (2-2-5)

 

Basic Television Production

 

        กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายต่างๆ ฝึกผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น

รายวิชา 3142521

การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ขั้นสูง

3 (2-2-5)

 

Advanced Television Production

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3142520 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น)

        ศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย การวางแผน การผลิตรายการ การประเมินผลรายการ ปัญหาและการแก้ปัญหาในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ

รายวิชา 3142530

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง

2 (1-2-3)

 

Radio Studios

 

        รูปแบบของห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง เทคนิคและวิธีการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียงและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ เช่น ไมโครโฟน เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องรับและส่งวิทยุกระจายเสียง

รายวิชา 3142531

การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุโทรทัศน์

2 (1-2-3)

 

Television Studios

 

        รูปแบบของห้องปฏิบัติการวิทยุโทรทัศน์ เทคนิคและวิธีการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุโทรทัศน์ ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เช่น กล้องถ่ายโทรทัศน์ เครื่องบันทึกเทปโทรทัศน์ อุปกรณ์ช่วยสร้างภาพพิเศษ อุปกรณ์เสียง แสง สี ฉาก และอื่น ๆ

รายวิชา 3143210

การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

2 (2-2-5)

 

Script Writing for Radio and Television

 

        วิเคราะห์เรื่องราวที่เป็นจริง เรื่องสมมุติ ถ่ายทอดแนวความคิดออกมาในรูปแบบของการเขียน เพื่อการฟังและเห็นเหตุการณ์ทั้งในแนวที่เป็นจริงตามธรรมชาติ และแนวสร้างสรรค์ รวบรวมข้อมูล วางแผน และเขียนเป็นบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในรูปแบบต่าง ๆ

รายวิชา 3143220

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

Computer for Radio and Television Broadcasting

 

        ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆที่เกี่ยวข้องในการผลิตงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3143514

วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ชุมชน

3 (2-2-5)

 

Principles of Broadcasting

 

        ประวัติและวิวัฒนาการของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คุณลักษณะ บทบาท อิทธิพล เครื่องมือและเทคนิคของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์เบื้องต้น

รายวิชา 3143520

การแต่งหน้าและเครื่องแต่งกาย

2 (1-2-3)

 

Make – up and Costumes

 

        หลักการแต่งหน้าและการออกแบบเครื่องแต่งกายผู้แสดง เทคนิคพิเศษในการแต่งหน้า แต่งกายให้เหมาะสมกับบทบาท เนื้อเรื่อง ฝึกปฏิบัติแต่งหน้าและออกแบบเครื่องแต่งกายผู้แสดงภาพยนตร์หรือวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3143521

ฉากและวัสดุประกอบฉากวิทยุโทรทัศน์

2 (1-2-3)

 

Scenery and Property for Television Production

 

        งานพื้นฐานเกี่ยวกับฉากและวัสดุประกอบฉากที่ใช้กับงานผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ หลักการออกแบบ การเลือกวัสดุ ฝึกปฏิบัติจัดสร้างฉากและการจัดหาวัสดุประกอบฉาก

รายวิชา 3143530

การผลิตกราฟิกเพื่องานวิทยุโทรทัศน์

2 (1-2-3)

 

Graphic Production for Television

 

        ความหมาย ขอบข่ายและความสำคัญของวัสดุกราฟิกที่มีต่องานวิทยุโทรทัศน์ ฝึกปฏิบัติออกแบบและผลิตวัสดุกราฟิกประเภทต่างๆ ที่ใช้ในงานวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3143905

การวิจัยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

Broadcasting Research

 

        ระเบียบวิธีวิจัยเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เทคนิคการวิจัย สถิติในการวิจัยที่จำเป็นในการวิจัยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3144201

การแสดงและการกำกับการแสดง

2 (1-2-3)

 

Acting and Directing

 

        เทคนิคการแสดงที่ใช้กับวิทยุโทรทัศน์และภาพยนตร์ การแสดงท่าทาง สีหน้า การเคลื่อนไหว การพูด การกำหนดทิศทาง การกำกับการแสดงทางวิทยุโทรทัศน์และภาพยนตร์

รายวิชา 3144214

ธุรกิจงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (3-0-6)

 

Broadcasting Business

 

        การดำเนินงานธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ บุคลากรห้องบันทึกเสียง ห้องส่งและห้องถ่ายโทรทัศน์ การดำเนินงานของสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3144605

การบริหารงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

2 (2-0-4)

 

Broadcasting Management

 

        หลักการบริหารงานสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในด้านการบริหารงานบุคคล การจัดองค์กร การเงินและงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนปัญหาด้านการบริหารงานของสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3144904

สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

3 (2-2-5)

 

Seminar in Broadcasting

 

        ความหมายของการสัมมนา จุดมุ่งหมาย องค์ประกอบ กระบวนการ รูปแบบและเทคนิคการจัดสัมมนา ความหมายของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การดำเนินงานของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ศึกษาวิเคราะห์การดำเนินงานของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เพื่อให้เข้าใจถึงอุปสรรคและข้อเท็จจริง ตลอดจนการหาแนวทางแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ฝึกจัดสถานการณ์จำลอง และ/หรือสถานการณ์จริง ในการสัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

รายวิชา 3223201

การตลาดธุรกิจบริการ

3 (3-0-6)

 

Marketing for Service

 

        ความหมาย ความสำคัญ ลักษณะและประเภทของธุรกิจบริการ วิธีวิเคราะห์สภาพปัญหาและสภาพแวดล้อมของตลาดบริการประเภทต่างๆ การวางแผนและกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับตลาดบริการ ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาทางการตลาดของธุรกิจบริการ เพื่อกำหนดแนวทางแก้ไข

รายวิชา 6143102

ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ๑

3 (2-2-5)

 

Packaging Design 1

 

        เทคนิค รูปแบบ และวิธีการในการออกแบบหีบห่อ ฉลาก ป้าย ภาชนะบรรจุ สำหรับสินค้า และผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ เพื่อให้สามารถสื่อสารและสร้างความน่าสนใจให้กับผลิตภัณฑ์ได้

รายวิชา 4311704

คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 (2-2-5)

 

Computer and Information Technology

 

        ศึกษาพื้นฐานเบื้องต้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ศึกษาโปรแกรมประยุกต์ การนำเสนอสารสนเทศ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสังคมปัจจุบันและเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ในอนาคต รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่อง

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning, e-learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวการณ์มีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***************

 

ภาคผนวก

 

สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไฟฟ้าอุตสาหกรรม พุทธศักราช 2549

        ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรใหม่

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์

นิเทศศาสตรบัณฑิต

จัดป็น 4 แขนงวิชา(4 วิชาเอก)

2

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรบัณฑิต (นิเทศศาสตร์)

นิเทศศาสตรบัณฑิต

เปลี่ยนชื่อปริญญาใหม่

3

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5 ข้อ

5 ข้อ

ปรับปรุงให้เหมาะสม

5

หลักสูตร

ไม่มีข้อกำหนดรายวิชาคอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ

เรียนภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 12 นก. เรียนคอมพิวเตอร์
อย่างน้อย 5 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 น.ก.
และหมวดวิชาเฉพาะ 6 น.ก.

คอมพิวเตอร์จัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2 น.ก.
และหมวดวิชาเฉพาะ 3 น.ก.

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 142 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

(99 หน่วยกิต)

(92 หน่วยกิต)

 

2.1 วิชาแกน

29 หน่วยกิต

36 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

15 หน่วยกิต

35 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

33 หน่วยกิต

21 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

 

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

จัดรวมไว้ในวิชาเฉพาะด้านบังคับ

(2) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลขรหัส 7 ตัว เลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมมี 92 รายวิชา

ใหม่มี 147 รายวิชา ปรับปรุงคำอธิบายใหม่ 27 รายวิชา

 

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

8 คน

9 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ไม่ระบุ

มีจำนวน 5 คน

 

ภาคผนวก ก

1. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรนิเทศศาสตร์ (นศ.บ.)

1. มหาวิทยาลัยฯ จัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์แกรนด์รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 28-30 ตุลาคม 2545 ทำให้ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตร วิชาแกน วิชาบังคับ และวิชาเลือกบางส่วน

3. สำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2546

4. ประชุมโปรแกรมวิชาเพื่อจัดทำร่างหลักสูตรนิเทศศาสตร์ (นศ.บ.) เมื่อวันที่ 26-27 พฤษภาคม 2548 ณ ห้วยป่าปกรีสอร์ท จังหวัดอุทัยธานี

5. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฯ ณ ภาควิชาฯ เมื่อวันที่ 27-30 มิถุนายน 2548

6. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป (ตามประกาศมหาวิทยาลัย) และกลุ่มวิทยาการจัดการ

7. วิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ณ ห้องประชุม 812 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 17-18 ตุลาคม 2548

8. ปรับปรุงแก้ไข นำเสนอต่อมหาวิทยาลัยฯ วันที่

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

1. รองศาสตราจารย์ ดร.พีระ จิรโสภณ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ Ph.D. (Communication) OHIO จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เสกสรร สายสีสด มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา) มศว.ประสานมิตร

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวารี วงศ์วัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาฯ

4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขนิษฐา สมร่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาฯ

5. ดร.ลำเนา เอี่ยมสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม Ph.D. (Media Studies) Edith Cowan University, Australia.

6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์ศรี บุญสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาฯ

7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิทย์ ณัฎฐาพิสุทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) จุฬาฯ Dip. In AV.Education (Hiroshima U. Japan)

8. อาจารย์พิทยา พัฒนธัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาฯ

9. อาจารย์สาธิต สุขวโรทัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) ม.นเรศวร

10. อาจารย์วรวิทย์ พัฒนาอิทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาฯ

11. อาจารย์ณัฎชา หน่อทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) ม.ธรรมศาสตร์

12. อาจารย์จุฑาภัทร์ รินทร์ศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาฯ

13. อาจารย์จรรยา อุปัญญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาฯ

14. อาจารย์พูนศักดิ์ ลิ้มมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศษ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) ม.เชียงใหม่

15. อาจารย์วราภรณ์ ซื่อประดิษฐ์กุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาฯ

16. อาจารย์ฤทัยวรรณ โชคทวีพาณิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วส.ม. (การสื่อสารภาครัฐและเอกชน) ม.ธรรมศาสตร์

17. อาจารย์บุญเลขา มากบุญ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี M.Sc. (Communication) Indiana State University, USA.

 

ภาคผนวก ข

ข้อเสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิ

การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะทั่วไป

     ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่าควรเน้นให้ นศ. เรียนการเมืองการปกครองให้มากกว่านี้ในส่วนของวิชาการศึกษาทั่วไปเพื่อให้สอดคล้องกับ
สภาพสังคมที่การเมืองมีส่วนสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศและต่อประชาชนเป็นอย่างมาก ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า ควรมีการเน้นวิชาที่
มีส่วนเสริมกับท้องถิ่นเพื่อตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยท้องถิ่น

     วิชาที่เป็นวิชาแกน ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า ควรมีการปรับรายวิชาหลักนิเทศศาสตร์และวิชาหลักสื่อสารมวลชน เพราะมีเนื้อหา
ที่ซ้ำซ้อนกัน รายวิชาที่มีคำว่าเบื้องต้นควรปรับชื่อวิชาเพื่อรายวิชามีความน่าสนใจ วิชาที่เป็นรายวิชาบังคับเอก

1. เอกประชาสัมพันธ์ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า

     ควรมีการปรับเพิ่มรายวิชาที่เน้นการพูดโดยเฉพาะการพูดเพื่อการโน้มน้าวใจและการสื่อสารภายในองค์การไว้วิชาบังคับสำหรับน.ศ.ประชาสัมพันธ์ ควรปรับวิชาการวางแผนการประชาสัมพันธ์,วิชาการบริหารงานประชาสัมพันธ์และวิชาโครงการพิเศษด้าน
การประชาสัมพันธ์เนื่องจากมีความซ้ำซ้อนในส่วนของเนื้อหาวิชา

2. เอกวารสารศาสตร์ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า

     ควรมีการปรับรายวิชาออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ให้มีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่องานด้านสื่อสิ่งพิมพ์ที่หลากหลายมากกว่านี้ ควรปรับวิชาโครงการพิเศษด้านวารสารศาสตร์และวิชาหนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติเนื่องจากทั้งสองวิชามีการเน้นเรื่องการทำ
หนังสือพิมพ์เหมือนกัน

3. เอกโฆษณาผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า

     ควรปรับวิชาการวางแผนการโฆษณาและวิชาโครงการพิเศษด้านการโฆษณาเนื่องจากมีความซ้ำซ้อนในส่วนของเนื้อหาวิชา

4. เอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอว่า

     ควรปรับวิชาโครงการพิเศษด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์และวิชาฝึกปฏิบัติด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
เนื่องจากมีความซ้ำซ้อนในส่วนเนื้อหา ควรส่งเสริมในเรื่องของชุมชน

 

ข้อเสนอแนะทั่วไป

 1. ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ ดังนี้

     1.1 วิชาภาควิชาฯ ไม่สามารถปรับรายวิชาตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอแนะได้ เนื่องจากรายวิชาดังกล่าวเป็นวิชา
ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดให้นักศึกษาได้เรียนเป็นพื้นฐานเหมือนกันทุกสาขาวิชา

     1.2 ภาควิชาฯได้จัดวิชาที่มีส่วนเสริมกับท้องถิ่น เช่น การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เป็นต้น

 2. วิชาที่เป็นวิชาแกน

     ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ ดังนี้

     2.1 วิชาหลักนิเทศศาสตร์และหลักสื่อสารมวลชนได้ปรับรวมเป็นวิชาเดียวกันและใช้ชื่อว่า “การสื่อสารมนุษย์”
(Human Communication) และปรับคำอธิบายรายวิชาเพื่อให้ครอบคลุมวิชาที่นำมาปรับยุบ

     2.2 วิชาการถ่ายภาพเบื้อต้น ปรับชื่อวิชาเป็นหลักการถ่ายภาพ

 3. วิชาที่เป็นรายวิชาบังคับเอก

     3.1 เอกประชาสัมพันธ์ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

     เพิ่มวิชาการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจและการสื่อสารภายในองค์การในวิชาบังคับ วิชาการวางแผนการประชาสัมพันธ์,วิชาการบริหารงานประชาสัมพันธ์และวิชาโครงการพิเศษด้านการประชาสัมพันธ์ปรับรวมเป็นวิชาการวางแผนและ
ดำเนินการประชาสัมพันธ์

     3.2 เอกวารสารศาสตร์ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

     รายวิชาออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ปรับเป็นวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ วิชาโครงการพิเศษด้านวารสารศาสตร์และวิชาหนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติได้ทำการปรับยุบและเสริมในส่วนของวิชาการบริหารงานสิ่งพิมพ์และวิชาบรรณาธิกรณ์หนังสือพิมพ์และนิตยสารที่มีการเน้นในส่วนของการทำหนังสือพิมพ์เช่นกัน

     3.3 เอกโฆษณาภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

     วิชาการวางแผนการโฆษณาและวิชาโครงการพิเศษด้านการโฆษณาปรับรวมเป็นวิชาการวางแผนและดำเนินงานโฆษณา

3.4 เอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ภาควิชาฯได้ปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอดังนี้

      วิชาโครงการพิเศษด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์และวิชาฝึกปฏิบัติด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เป็นวิชาธุรกิจงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ปรับเพิ่มวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ชุมชน

 

ภาคผนวก ค

ชื่อวิชาภาษาไทย การสื่อสารมนุษย์ / ภาษาอังกฤษ Human Communication

รหัสวิชาใหม่ 3101102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3011101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ และวิวัฒนาการของการสื่อสารของมนุษย์ ทฤษฎี กระบวนการ โครงสร้างและลักษณะการสื่อสารประเภทต่าง ๆ การสื่อสารภายในบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุ่มใหญ่ การสื่อสารในองค์การ และการสื่อสารมวลชน ตลอดจนบทบาทและอิทธิพลของการสื่อสารที่มีผลต่อการพัฒนาสังคมมนุษย์

ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการสื่อสารในสังคม วิเคราะห์กระบวนการสื่อสารระดับต่าง ๆ ในเชิงพฤติกรรมศาสตร์การสื่อสาร รวมทั้งการสื่อสารภายในบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล และการสื่อสารมวลชน ตลอดจนบทบาทและอิทธิพลของการสื่อสารที่มีผลต่อการพัฒนาสังคม

เนื้อหาวิชามีความซ้ำซ้อน ได้ปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

รหัสวิชาเดิม 3011102  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ และวิวัฒนาการของ การสื่อสารมวลชน ทฤษฎี กระบวนการ โครงสร้างและระบบการสื่อสารมวลชน ลักษณะของการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารมวลชน บทบาท หน้าที่ และอิทธิพลของการสื่อสารมวลชนต่อสังคม การใช้การสื่อสารมวลชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาสังคม

ชื่อวิชาภาษาไทย สื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร / ภาษาอังกฤษ Media and Communication techno

รหัสวิชาใหม่ 3104201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3014201  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาถึงความหมาย ความสำคัญ กระบวนการ องค์ประกอบของการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ ประเภทและวิธีการใช้เครื่องมือต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการสื่อสารในงานนิเทศศาสตร์ รวมทั้งการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการสื่อสาร

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ กระบวนการ องค์ประกอบของการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ ประเภทและวิธีการการใช้เครื่องมือต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการสื่อสารในงานนิเทศศาสตร์ เช่น สิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ กล้องถ่ายรูป เครื่องบันทึกเสียง เครื่องบันทึกภาพ เครื่องฉายประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการให้ความรู้ในด้านเทคนิคการเขียนแบบต่าง ๆ เพื่อให้มีเนื้อหาสาระเป็นที่ดึงดูดใจและน่าสนใจแก่ผู้รับสาร

เพื่อให้เนื้อหาทันสมัย ก้าวทันเทคโนโลยี

ชื่อวิชาภาษาไทย การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ  / ภาษาอังกฤษ Communication for Persuasion

รหัสวิชาใหม่ 3114202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3033601  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาถึงทฤษฎีการโน้มน้าวใจ ลักษณะและวิธีการโน้มน้าวใจโดยการใช้สื่อต่าง ๆ เช่น สื่อมวลชน สื่อบุคคล ฯลฯ รวมทั้งศึกษาถึงองค์ประกอบสำคัญทั้งทางด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยาที่มีผลต่อการโน้มน้าวใจเพื่อประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

ศึกษาทฤษฎีการโน้มน้าวใจ ลักษณะและวิธีการโน้มน้าวใจโดยการใช้สื่อต่าง ๆ เช่น สื่อมวลชน สื่อบุคคล ฯลฯ รวมทั้งศึกษาถึงองค์ประกอบสำคัญทั้งทางด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยา ที่มีผลต่อการโน้มน้าวใจ เพื่อประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

เปลี่ยนชื่อให้เข้าใจง่าย ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อวิชาภาษาไทย การโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง / ภาษาอังกฤษ Radio Advertising

รหัสวิชาใหม่ 3133204  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3053503  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

หลักการและแนวปฏิบัติในการโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง ปัญหาของการโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง การวิจัยสื่อวิทยุกระจายเสียง การกำหนดโครงสร้างของอัตราค่าโฆษณาในสื่อวิทยุกระจายเสียง การจัดวางรายการโฆษณา การจัดการแผนโฆษณาในสถานีวิทยุกระจายเสียง การขายรายการและเวลาทางวิทยุกระจายเสียง

หลักการและแนวปฏิบัติในการโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ปัญหาของการโฆษราทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การวิจัยสื่อ การกำหนดโครงสร้างของอัตราค่าโฆษณาในสื่อ การจัดวางรายการโฆษรา การจัดการแผนโฆษณาในสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ การขายรายการและเวลา

เนื้อหาวิชามาก ไม่สามารถดำเนินการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ชื่อวิชาภาษาไทย การโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ / ภาษาอังกฤษ Television Advertising

รหัสวิชาใหม่ 3053504  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3053503  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

หลักการและแนวปฏิบัติในการโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ ปัญหาของการโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ การวิจัยสื่อวิทยุโทรทัศน์ การกำหนดโครงสร้างของอัตราค่าโฆษณาในสื่อวิทยุโทรทัศน์ การจัดวางรายการโฆษณา การจัดการแผนโฆษณาในสถานีวิทยุโทรทัศน์ การขายรายการและเวลาทางวิทยุโทรทัศน์

หลักการและแนวปฏิบัติในการโฆษราทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ปัญหาของการโฆษราทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การวิจัยสื่อ การกำหนดโครงสร้างของอัตราค่าโฆษณาในสื่อ การจัดวางรายการโฆษรา การจัดการแผนโฆษณาในสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ การขายรายการและเวลา

เนื้อหาวิชามาก ไม่สามารถดำเนินการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ชื่อวิชาภาษาไทย การวางแผนและการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ / ภาษาอังกฤษ Public Relates Planning and Work shop

รหัสวิชาใหม่ 3113510 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3034502  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ นโยบาย และประเภทของการวางแผน การระชาสัมพันธ์ รวมทั้งกระบวนการวางแผนงานประชาสัมพันธ์ เช่น การกำหนดงบประมาณ การกำหนดอัตรากำลัง การติดตามผล และประเมินผล การประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติงานและค้นคว้างาน ทางด้านการประชาสัมพันธ์

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ นโยบาย และประเภทของการวางแผนการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งกระบวนการวางแผนงานประชาสัมพันธ์ เช่น การกำหนดงบประมาณ การกำหนดอัตรากำลัง การติดตามผลและประเมินผลการประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

รวมวิชาซึ่งมีลักษณะเป็นภาคปฏิบัติเหมือนกัน ให้กระชับตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

โครงการพิเศษด้านการประชาสัมพันธ์/Special Project in Public Relations

ให้นักศึกษาทำโครงการพิเศษหรืองานศึกษาค้นคว้าทางด้านการประชาสัมพันธ์ในความดูแลของอาจารย์และ/หรือผู้ทรงคุณวุฒิ

ชื่อวิชาภาษาไทย การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์ / ภาษาอังกฤษ Computer Design for Public Relations Media

รหัสวิชาใหม่ 3113211 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3034101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

มุ่งให้นักศึกษามีความสามารถในการออกแบบ การเลือกใช้ และผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ในลักษณะต่าง ๆให้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ศึกษาหลักการและวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการออกแบบสื่อต่างๆเพื่องานประชาสัมพันธ์

ศึกษาบทบาท การใช้เครื่องมือสื่อสารประเภทต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ทั้งในด้านทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยมุ่งให้นักศึกษามีความสามารถในการเลือกใช้ และผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ในลักษณะต่าง ๆ

เพื่อก้าวทันเทคโนโลยีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ พัฒนาการผลิตสื่อสัมพันธ์ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพนิเทศศาสตร์ / ภาษาอังกฤษ English for Communication Arts Profession

รหัสวิชาใหม่ 3101401 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่ใช้เฉพาะทางการสื่อสารทั่วไปและการสื่อสารมวลชน โดยเน้นไปที่วิธีการและเทคนิคสำหรับการสื่อสารแนวคิดผ่านทางการพูดและการเขียน ฝึกทักษะการค้นหาและการอ่านเอกสารต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการสื่อสารมวลชนแขนงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางวารสารศาสตร์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ การโฆษณา และการประชาสัมพันธ์ รวมไปถึงการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพในการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ อาทิ เรียงความหรือบทความ การเขียนข่าว สุนทรพจน์ การนำเสนอ ฯลฯ

เป็นวิชาใหม่ ตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ / ภาษาอังกฤษ English for Public Relations

รหัสวิชาใหม่ 3101402 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานประชาสัมพันธ์ด้านต่างๆ อาทิ การผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจด้านการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านประชาสัมพันธ์

 

เป็นวิชาใหม่ พัฒนาทักษะและความพร้อมด้านภาษาเป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่องานวารสารศาสตร์ / ภาษาอังกฤษ English for Journalism

รหัสวิชา 3101403 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานวารสารศาสตร์ด้านต่างๆ อาทิ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สิ่งพิมพ์พิเศษ รวมไปถึงการผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจทางด้านวารสารศาสตร์ ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านวารสารศาสตร์

 

เป็นวิชาใหม่ พัฒนาทักษะและความพร้อมด้านภาษาเป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณา / ภาษาอังกฤษ English for Advertising

รหัสวิชา 3101404 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานโฆษณา อาทิ การวางแผน การผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจงานโฆษณา สื่อโฆษณา ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางการโฆษณา

 

เป็นวิชาใหม่ พัฒนาทักษะและความพร้อมด้านภาษาเป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ / ภาษาอังกฤษ English for Radio and Television Broadcasting

รหัสวิชา 3101405 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาเกี่ยวกับศัพท์และวลีที่จำเป็นต้องใช้ในงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ด้านต่างๆ อาทิ การผลิตงาน การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ฯลฯ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

 

เป็นวิชาใหม่ พัฒนาทักษะและความพร้อมด้านภาษาเป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย การสื่อสารในองค์การ / ภาษาอังกฤษ Organization Communication

รหัสวิชา 3112101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ และแนวคิดหลักของการสื่อสารในองค์การ รูปแบบของเครื่องมือเช่น การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ แนวคิด และรูปแบบลักษณะของการสื่อสารองค์การ เพื่อประยุกต์ในด้านต่าง ๆ เช่น การสื่อสารการตลาด การสื่อสารวัฒนธรรม การสื่อสารการพัฒนา การสื่อสารสาธารณสุข การใช้สื่อมวลชนเพื่อการสื่อสารองค์การ สร้างองค์กรภาครัฐ องค์กรธุรกิจ และองค์การไม่แสวงหากำไร

 

เป็นวิชาใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพและปัญหาของการสื่อสารในปัจจุบันตามคำแนะนำของคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรและ

ผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อวิชาภาษาไทย การโฆษณาชุมชน / ภาษาอังกฤษ Community Advertising

รหัสวิชา 3133202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

บทบาท หน้าที่ และลักษณะของโฆษณาในชุมชน การนำโฆษณาไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆของชุมชน การใช้โฆษณาขององค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และ/หรือประชาคมในท้องถิ่น ผ่านสื่อประเภทต่างๆ ปัญหาและอุปสรรคของโฆษณาในชุมชน กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของการโฆษณาในชุมชน

 

เป็นวิชาใหม่ ที่สอดรับกับปรัชญาของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคนิคและเทคโนโลยีการนำเสนอ / ภาษาอังกฤษ Presentation Technique and Technology

รหัสวิชา 3103211 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

หลักการ เทคนิค กลวิธี กระบวนการในการนำเสนอข้อมูล ภาพ และเสียง โดยอาศัยสื่อชนิดต่างๆ การใช้เครื่องมือสำหรับการสื่อสารประกอบการนำเสนอ การใช้กล้องถ่ายรูป กล้องวิดีทัศน์ เครื่องฉายภาพชนิดต่างๆ คอมพิวเตอร์ วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง ฯลฯ ฝึกปฏิบัติการนำความรู้มาใช้นำเสนอข้อมูลในสถานการณ์และกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน

 

เป็นวิชาใหม่ สอดคล้องกับสถานการณ์และความจำเป็นใน

ยุคปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การบริหารงานบริการลูกค้า / ภาษาอังกฤษ Client Service Management

รหัสวิชา 3103601 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความหมาย บทบาทหน้าที่ และความสำคัญของงานบริการลูกค้าในองค์กรโฆษณาระดับต่างๆ การจัดทำแผนการตลาดและวิเคราะห์ข้อมูลการตลาดเพื่อการวางแผนงานโฆษณาให้กับลูกค้า การประสานงานกับลูกค้าและภายในแผนกอื่นในองค์กรโฆษณา การดูแล การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการดำเนินแผนงานโฆษณา

 

เป็นวิชาใหม่ เตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก้าวสู่โลกอาชีพด้านสื่อสารมวลชนปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การคิดเชิงวิพากษ์ / ภาษาอังกฤษ Critical Thinking

รหัสวิชา 3104302 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาถึงหลักการ เทคนิควิธี และฝึกฝนทักษะการใช้และแสดงออกด้านความคิดเชิงวิเคราะห์รูปแบบต่างๆ ในประเด็นที่หลากหลายอย่างมีเหตุผล ไม่ว่าจะเป็นประเด็นทางการเมือง ศิลปะ และวัฒนธรรม หรือปัญหาสังคมที่น่าสนใจ เปิดประตูสู่การคิดในมิติอื่น

 

เป็นวิชาใหม่ พัฒนาแนวคิดผู้เรียนคิดได้ คิดเป็น มีเหตุผลที่ถูกต้อง

ชื่อวิชาภาษาไทย การคิดสร้างสรรค์ / ภาษาอังกฤษ Creative Thinking

รหัสวิชา 3104301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ศึกษาถึงหลักการ เทคนิควิธี กลยุทธ์ และฝึกฝนทักษะการใช้และแสดงออกด้านความคิดเชิงสร้างสรรค์รูปแบบต่างๆ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในแต่ละสถานการณ์

 

เป็นวิชาใหม่ พัฒนาแนวคิดของผู้เรียนตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดแสดงสินค้าและการส่งเสริมการขาย / ภาษาอังกฤษ Sales Promotion and Trade Show

รหัสวิชา 3133250 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการส่งเสริมการขาย การวางแผน การกำหนดวัตถุประสงค์ การกำหนดงบประมาณ กลยุทธ์และยุทธวิธีในการส่งเสริมการขาย รูปแบบการจัดแสดงสินค้าลักษณะต่างๆ การประเมินผลการส่งเสริมการขาย ฝึกปฏิบัติการวางแผนและดำเนินการส่งเสริมการขายและจัดแสดงสินค้าในสถานการณ์ต่างๆ

 

เป็นวิชาใหม่ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การทำงานในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การกำกับศิลป์ / ภาษาอังกฤษ Arts Direction

รหัสวิชา 3134510 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความหมาย ลักษณะ ทฤษฎี กระบวนการ เทคนิควิธี และกลยุทธ์ในการกำกับศิลป์ ความสำคัญและความจำเป็นในการกำกับศิลป์เพื่องานโฆษณาทางสื่อต่างๆ รวมไปถึงงานวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฝึกปฏิบัติ การกำกับศิลป์ในสถานการณ์ต่างๆ

 

เป็นวิชาใหม่ เตรียมความพร้อมสู่การทำงานในยุคปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การโฆษณาเจาะตรง / ภาษาอังกฤษ Direct Response Advertising

รหัสวิชา 3134210 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความหมาย ลักษณะ รูปแบบ และกลยุทธ์ของการตลาดทางตรง โดยอาศัยการโฆษณาที่เจาะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ฝึกปฏิบัติการวางแผนด้านการทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การเลือกยุทธวิธีการโฆษณาผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น ทางโทรศัพท์ วิทยุโทรทัศน์ แคทตาล็อค ไปรษณีย์ ฯลฯ

 

เป็นวิชาใหม่ ทางด้านโฆษณาเตรียมความพร้อมสู่การทำงานในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การบริหารงานบริการลูกค้า / ภาษาอังกฤษ Client Service Management

รหัสวิชา 3103601 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

ความหมาย บทบาทหน้าที่ และความสำคัญของงานบริการลูกค้าในองค์กรโฆษณาระดับต่างๆ การจัดทำแผนการตลาดและวิเคราะห์ข้อมูลการตลาดเพื่อการวางแผนงานโฆษณาให้กับลูกค้า การประสานงานกับลูกค้าและภายในแผนกอื่นในองค์กรโฆษณา การดูแล การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการดำเนินแผนงานโฆษณา

 

เป็นวิชาใหม่ เตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานด้านสื่อสารมวลชนในปัจจุบัน

 

 

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

 

หลักสูตรใหม่

 

 

 

 

 

คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก