หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1.

ชื่อหลักสูตร

2.

ชื่อปริญญา

3.

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4.

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5.

กำหนดการเปิดสอน

6.

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7.

วิธีคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8.

ะบบการศึกษา

9.

ระยะเวลาการศึกษา

10.

การลงทะเบียนเรียน

11.

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12.

อาจารย์ผู้สอน

13.

จำนวนนักศึกษา

14.

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15.

ห้องสมุด

16.

งบประมาณ

17.

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18.

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19.

การพัฒนาหลักสูตร

20.

ภาคผนวก

 

สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตร

 

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

 

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสาขาวิชา

หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พุทธศักราช 2549

-------------------------------------------

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Economics Program

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : เศรษฐศาสตรบัณฑิต
  Bachelor of Economics
ชื่อย่อ : ศ.บ.
  B.Econ.

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                ด้วยภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย ได้มีการผันผวนและปรับเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว มีผลทำให้ประชาชนในภูมิภาคและท้องถิ่น ต้องปรับตัวไปตามภาวะของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอาชีพด้านธุรกิจซึ่งมีการแข่งขันกันสูงมาก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทำให้องค์กรต่าง ๆ มีความคิดว่าถ้าบุคลากรมีความรู้ ความสามารถที่เกี่ยวข้องโดยตรง กล่าวคือการรู้ และเข้าใจเรื่องภาวะเศรษฐกิจทั้งระบบจะได้เปรียบคู่แข่งขันและมีโอกาสที่จะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายได้ในระดับสูงเหตุผลเหล่านี้ผู้ประกอบการธุรกิจปัจจุบันมีความเข้าใจและเห็นถึงความจำเป็นเพิ่มขึ้นมาก สถาบันการศึกษาในท้องถิ่นจึงควรสนองตอบต่อความต้องการของตลาดแรงงานและควรเป็นผู้นำองค์กรในท้องถิ่นให้เข้าใจถึงความจำเป็นดังกล่าว ด้วยเหตุนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นที่มีหน้าที่ในการให้การศึกษาจึงควรมีบทบาทในการร่วมและช่วยผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจดังกล่าวให้มากขึ้น เพื่อสนองตอบความต้องการของหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน อันจะช่วยพัฒนาประเทศให้มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและก้าวหน้ายิ่งขึ้น

                ด้วยเหตุดังกล่าวภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จึงได้พัฒนาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาต่าง ๆ เพื่อผลิตกำลังคนให้มีความรู้ความสามารถในการดำเนินงานธุรกิจ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                1. เพื่อผลิตบุคลากรสายเศรษฐศาสตร์ ที่มีความรู้ ความสามารถด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจในระดับวิชาชีพ (professional) และนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ ทั้งอาชีพอิสระ หน่วยงานเอกชนรัฐวิสาหกิจและองค์การของรัฐบาลอย่าง
                    มีประสิทธิผล
                2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับทรัพยากรในท้องถิ่น และเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจในท้องถิ่นของตนเองได้ดียิ่งขึ้น
                3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม และทักษะเพียงพอที่จะสามารถดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบต่อชุมชนในท้องถิ่น
                4. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ และสามารถนำไปเป็นแนวทางในการศึกษาระดับสูงต่อไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ

5กำหนดการเปิดสอน

        ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า และ/หรือเป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติโดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1.

นายเฉลิมเกียรติ ปรัชญาพันธ์

    -  เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  เศรษฐศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

อาจารย์บรรยายพิเศษ

    -  วิทยาลัยพยาบาลฯ จ.ชัยนาท วิชาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
    -  วิทยาลัยพยาบาลฯ จ.นครสวรรค์ (ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 6) วิชาเศรษฐศาสตร์
    สาธารณสุข

    -  ผู้อำนวยการสำนักอธิการบดี
    -  กรรมการภาควิชาเศรษฐศาสตร์

2.

นายวราวุธ วัชรสรณ์

    -  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    -  เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยารามคำแหง

อาจารย์บรรยายพิเศษ

    -  วิทยาลัยพยาบาลฯ จ.นครสวรรค์ (ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 6) วิชาเศรษฐศาสตร์
       เบื้องต้น
    -  มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา อ.เมืองฯ จ.นครสวรรค์ วิชาการเงินธุรกิจ

    -  กรรมการภาควิชาเศรษฐศาสตร์

3.

นางนาตยา แพ่งศรีสาร

    -  เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต (ทษ.ม.) เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
       สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้
    -  ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) เศรษฐศาสตร์สหกรณ์ วิทยาลัยครูมหาสารคาม

ผลงานวิชาการ

    - เศรษฐศาสตร์จุลภาค

อาจารย์บรรยายพิเศษ

     - สอนกลุ่มวิชาทางด้านเศรษฐศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา
       ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 - ปัจจุบัน - เป็นผู้บรรยายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น + พ.ร.บ.
       ประกันสังคมใน
    -  วิทยาลัยพยาบาลฯ 1 ภาคเรียนปี 2540

    -  กรรมการและเลขาฯ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์

4.

ผศ.พัชราภา สิงห์ธนสาร

    -  พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต พัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบัน
       บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    -  บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานวิชาการ

    -  เศรษฐศาสตร์จุลภาค
    -  เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

อาจารย์บรรยายพิเศษ

    -  วิทยาลัยพยาบาลฯ (ศูนย์ส่งเสริม สุขภาพเขต 6) อ.เมือง จ.นครสวรรค์
    -  วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์

    -  หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์

5.

อ.วิไลลักษณ์ สกุลเขมฤทัย

    - ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    - วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานวิชาการ

    - 

    -  เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1
    -  เศรษฐศาสตร์มหภาค 1
    -  การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
    -  เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

        12.2 อาจารย์พิเศษ

ที่

ชื่อ- สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1.

นายโสรัจ สุวรรณพฤกษ์

    -  เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำงาน

    -  พ.ศ. 2532-2533 หัวหน้างานการค้าภายใน จ.พิษณุโลก กรมการค้าภายใน
       กระทรวงพาณิชย์
    -  พ.ศ. 2534-2535 หัวหน้างานการค้าภายใน จ.แพร่ กรมการค้าภายใน
       กระทรวงพาณิชย์
    -  พ.ศ. 2535-2541 หัวหน้างานการค้าภายใน จ.พิจิตร กรมการค้าภายใน
       กระทรวงพาณิชย์
    -  พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน หัวหน้างานการค้าภายใน จ.ชัยนาท กรมการค้าภายใน
       กระทรวงพาณิชย์

อาจารย์บรรยายพิเศษ

    -  วิทยากรบรรยายระบบการตลาด สินค้าการเกษตร
    -  วิทยากรบรรยายระบบการตลาด สินค้าหัตถกรรม
    -   วิทยากรบรรยายธุรกิจชุมชน

 

2.

นายวิญญู เมฆไตรรัตน์

    -  พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พบ.ม.) ทางด้านพัฒนาการเศรษฐกิจ
       จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประสบการณ์ด้านงานสอน

    -  พ.ศ. 2531 - 2537  ครูประจำวิชาภาษาอังกฤษและ คณิตศาสตร์
       และเจ้าหน้าที่การเงิน โรงเรียนโกรกพระพิทยาคม
    -  พ.ศ. 2540 – 2541 ผู้ช่วยวิจัยของรศ.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ อาจารย์
       คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    -  พ.ศ. 2542 เศรษฐกร กองนโยบายการคลังท้องถิ่น สำนักงานเศรษฐกิจ
       การคลัง กระทรวงการคลัง
    -  พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน ผู้จัดการโรงเรียนโกรกพระพิทยาคม
    -  พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษภาควิชาเศรษฐศาสตร์
       คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    -  พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
       จังหวัดนครสวรรค์

 

3.

ผศ.สุเมธ ปรมัตถ์สกุล

    -  การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์-ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
       ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

ผลงานวิชาการ

    -  มนุษย์กับเศรษฐกิจ
    -  ระบบเศรษฐกิจไทยและสหกรณ์

อาจารย์บรรยายพิเศษ

    -  มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์คณะสงฆ์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ วิชาเศรษฐศาสตร์
       เบื้องต้น

ประสบการณ์งานสอน

    -  สอนวิชาภาษาไทย
    -  สอนวิชาเคมี
    -  สอนวิชาชีววิทยา
    -  สอนวิชาฟิสิกส์
    -  สอนวิชาพลศึกษาการอนามัย 7
    -  สอนวิชาภูมิศาสตร์ (ประวัติศาสตร์และ สังคมศาสตร์) 12 ปี
    -  สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ 12 ปี (ทำผลงานทางวิชาเศรษฐศาสตร์)

 

13. จำนวนนักศึกษา

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าแต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

ชั้นปีที่ 1

50

50

50

50

50

ชั้นปีที่ 2

-

50

50

50

50

ชั้นปีที่ 3

-

-

50

50

50

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

50

50

รวม

50

100

150

200

200

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 อาคารสถานที่

                1) อาคารเรียน (คณะ)
                2) ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด 7 + 9 ม. (คณะ)
                3) ห้องฉายวีดีโอเทป ฉายสไลด์ 12 + 9 ม. (คณะ)

        14.2 อุปกรณ์การสอน

                1) เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (คณะ)
                2) เครื่องฉายสไลด์ (คณะ)
                3) ชุดวีดีโอเทป พร้อมโทรทัศน์ขนาด 23 นิ้ว (คณะ)
                4) สื่อการสอนอื่น ๆ เช่น เทปบันทึกเสียง (คณะ)
                5) เครื่องถ่ายเอกสาร (คณะ)
                6) เครื่องพิมพ์ดีดและเครื่อง Copy Printer (คณะ)
                7) เครื่องรับโทรทัศน์ขนาด 20 นิ้ว (คณะ)
                8) จอเคลื่อนที่ได้ (คณะ)

        14.3 แหล่งวิทยาการและแหล่งฝึกงาน

            1) แหล่งวิทยาการ

                1.1) หน่วยงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                1.2) สถาบันการเงินในจังหวัดนครสวรรค์
                1.3) มหาวิทยาลัยของรัฐจากส่วนกลาง
                1.4) ศูนย์เพิ่มผลผลิตแห่งประเทศไทย กระทรวงอุตสาหกรรม
                1.5) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์
                1.6) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์
                1.7) กรมพาณิชย์สัมพันธ์
                1.8) สำนักผังเมือง
                1.9) มหาวิทยาลัยของเอกชน
                1.10) หน่วยงานธุรกิจของเอกชน
                1.11) การสื่อสารแห่งประเทศไทย
                1.12) ตลาดหลักทรัพย์
                1.13) ธนาคารแห่งประเทศไทย
                1.14) กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง
                1.15) บริษัทการบินไทย
                1.16) ธนาคารพาณิชย์ สาขาต่าง ๆ ในจังหวัดใกล้เคียง
                1.17) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

            2) แหล่งฝึกงาน

                2.1) สถาบันการเงินต่าง ๆ ภายในจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียง
                2.2) บริษัทต่าง ๆ ในจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดใกล้เคียง
                2.3) ธนาคารสาขาต่าง ๆ ในบริเวณใกล้เคียง และในส่วนกลาง
                2.4) บริษัทประกันภัยและประกันชีวิต
                2.5) สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์การเกษตรสาขาต่าง ๆ
                2.6) สวนอุตสาหกรรมบางกระดี่
                2.7) นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ
                2.8) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด
                2.9) สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร
                2.10) สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทจังหวัด
                2.11) สำนักงานที่ดินจังหวัด
                2.12) ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ในจังหวัด
                2.13) สถาบันการเงินทั้งในเขตกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียง
                2.14) โรงงานต่าง ๆ ในจังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และกรุงเทพมหานคร
                2.15) สำนักงบประมาณและกรมบัญชีกลาง
                2.16) สำนักนโยบายและแผน กระทรวงมหาดไทย
                2.17) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                2.18) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
                2.19) สำนักนโยบายและแผน กระทรวงศึกษาธิการ
                2.20) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                2.21) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
                2.22) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
                2.23) หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
                2.24) ธนาคารรัตนสิน

15. ห้องสมุด

ที่

ชื่อหนังสือ / ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่

จำนวนคาดว่าจะเพียงพอ

1.

เศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

2.

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

10 เล่ม

10 เล่ม

3.

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

10 เล่ม

10 เล่ม

4.

เศรษฐศาสตร์จุลภาค

10 เล่ม

10 เล่ม

5.

เศรษฐศาสตร์มหภาค

10 เล่ม

10 เล่ม

6.

จุลเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

7.

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

10 เล่ม

10 เล่ม

8.

เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์

10 เล่ม

10 เล่ม

9.

หลักเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

10.

หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

10 เล่ม

10 เล่ม

11.

มหเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

12.

มหเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

10 เล่ม

10 เล่ม

13.

เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ : การจัดการธุรกิจ

10 เล่ม

10 เล่ม

14

หลักเศรษฐศาสตร์ : จุลเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

15.

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1

10 เล่ม

10 เล่ม

16.

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2

10 เล่ม

10 เล่ม

17.

เศรษฐศาสตร์มหภาค 1

10 เล่ม

10 เล่ม

18.

เศรษฐศาสตร์มหภาค 2

10 เล่ม

10 เล่ม

19.

หลักและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

20.

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค

10 เล่ม

10 เล่ม

21.

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค

10 เล่ม

10 เล่ม

22.

มห-เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์

10 เล่ม

10 เล่ม

23.

คณิตศาสตร์ทั่วไป

5 เล่ม

5 เล่ม

24.

คณิตศาสตร์ธุรกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

25.

หลักสถิติ

5 เล่ม

5 เล่ม

26.

หลักสถิติเบื้องต้น

5 เล่ม

5 เล่ม

27.

คณิตศาสตร์และสถิติ

5 เล่ม

5 เล่ม

28.

คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

10 เล่ม

10 เล่ม

29.

สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

10 เล่ม

10 เล่ม

30.

การโปรแกรมเชิงเส้นเบื้องต้น

5 เล่ม

5 เล่ม

31.

คณิตศาสตร์ชั้นสูง

5 เล่ม

5 เล่ม

32.

ลีเนียร์โปรแกรม : หลักและการประยุกต์

5 เล่ม

5 เล่ม

33.

สถิติเบื้องต้น

10 เล่ม

10 เล่ม

34.

สถิติพื้นฐาน

5 เล่ม

5 เล่ม

35.

สถิติวิจัย

10 เล่ม

10 เล่ม

36.

สถิติธุรกิจ

10 เล่ม

10 เล่ม

37.

สถิติวิเคราะห์

5 เล่ม

5 เล่ม

38.

สถิติประยุกต์

5 เล่ม

5 เล่ม

39.

สถิติเศรษฐศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

40.

สถิติเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ

10 เล่ม

10 เล่ม

41.

สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

42.

ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

43.

ระเบียบวิธีการวิจัย

10 เล่ม

10 เล่ม

44.

คณิตศาสตร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์

10 เล่ม

10 เล่ม

45.

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

10 เล่ม

10 เล่ม

46.

การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

10 เล่ม

10 เล่ม

47.

หลักการวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

48.

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

10 เล่ม

10 เล่ม

49.

การวิจัยขั้นดำเนินงาน 1

5 เล่ม

5 เล่ม

50.

การวิเคราะห์ธุรกิจเชิงปริมาณ

5 เล่ม

5 เล่ม

51.

วิธีการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

52.

สถิติประยุกต์และวิธีการวิจัย

5 เล่ม

5 เล่ม

53.

หลักการวิจัยปฏิบัติการเศรษฐศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

54.

สถิติวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย

5 เล่ม

5 เล่ม

55.

ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

56.

คอมพิวเตอร์และการวิจัยเพื่อธุรกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

57.

เศรษฐมิติ

5 เล่ม

5 เล่ม

58.

เศรษฐมิติ 1

5 เล่ม

5 เล่ม

59.

เศรษฐมิติ 3

5 เล่ม

5 เล่ม

60.

เศรษฐมิติเบื้องต้น

5 เล่ม

5 เล่ม

61.

เศรษฐมิติประยุกต์

5 เล่ม

5 เล่ม

62.

วิธีการทางเศรษฐมิติ

10 เล่ม

10 เล่ม

63.

หลักเศรษฐมิติการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางเศรษฐศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

64.

การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

10 เล่ม

10 เล่ม

65.

การวิเคราะห์และประเมินโครงการ

5 เล่ม

5 เล่ม

66.

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

67.

ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

68.

ประวัติศาสตร์ไทยสมัย พ.ศ. 2352 – 2453 ด้านเศรษฐกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

69.

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจประเทศไทย

5 เล่ม

5 เล่ม

70.

เศรษฐกิจประเทศไทย

5 เล่ม

5 เล่ม

71.

ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ์

10 เล่ม

10 เล่ม

72.

เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ

5 เล่ม

5 เล่ม

73.

เศรษฐกิจไทยและความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับรัฐบาล

10 เล่ม

10 เล่ม

74.

เศรษฐศาสตร์เกษตร

5 เล่ม

5 เล่ม

75.

ธุรกิจเกษตรเบื้องต้น

5 เล่ม

5 เล่ม

76.

นโยบายเกษตร หลักและนโยบายของไทย

5 เล่ม

5 เล่ม

77.

ทิศทางการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจไทยในศตวรรษ 1991

5 เล่ม

5 เล่ม

78.

ศักยภาพและอนาคตของเศรษฐกิจไทย

5 เล่ม

5 เล่ม

79.

เศรษฐกิจไทย:บนเส้นทางแห่งสันติประชาธรรม เล่ม 1,2

3 เล่ม

3 เล่ม

80.

เศรษฐกิจไทย ปัญหาพื้นฐานและแนวคิดในการแก้ไข

5 เล่ม

5 เล่ม

81.

เศรษฐกิจไทยในระบบทุนนิยมโลก

5 เล่ม

5 เล่ม

82.

เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์

5 เล่ม

5 เล่ม

83.

การตลาดและนโยบายการเกษตร

5 เล่ม

5 เล่ม

84.

เศรษฐศาสตร์การผลิต

5 เล่ม

5 เล่ม

85.

เศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับไร่นา

5 เล่ม

5 เล่ม

86.

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยพรีเมี่ยมข้าว

5 เล่ม

5 เล่ม

87.

การตลาดสินค้าเกษตร

5 เล่ม

5 เล่ม

88.

เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

10 เล่ม

10 เล่ม

89.

เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา

10 เล่ม

10 เล่ม

90.

ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

5 เล่ม

5 เล่ม

91.

การลงทุนระหว่างประเทศ

5 เล่ม

5 เล่ม

92.

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยดุลการชำระเงิน

5 เล่ม

5 เล่ม

93.

ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ

5 เล่ม

5 เล่ม

94.

ระบบการเงินระหว่างประเทศ

5 เล่ม

5 เล่ม

92.

ทฤษฎีการพึ่งพากับสังคมเศรษฐกิจไทย

5 เล่ม

5 เล่ม

96.

ทฤษฎีบรรษัทข้ามชาติกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย

5 เล่ม

5 เล่ม

97.

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการแทรกแซงของรัฐ

5 เล่ม

5 เล่ม

98.

การเงินและการธนาคาร

10 เล่ม

10 เล่ม

99.

เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร

10 เล่ม

10 เล่ม

100.

การจัดการธนาคารพาณิชย์

5 เล่ม

5 เล่ม

101.

กลยุทธ์และนโยบายการเงิน

5 เล่ม

5 เล่ม

102.

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการเงินธุรกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

103.

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน

5 เล่ม

5 เล่ม

104.

ตลาดหลักทรัพย์และตลาดการเงิน

5 เล่ม

5 เล่ม

105.

สถาบันการเงิน

5 เล่ม

5 เล่ม

106.

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม

5 เล่ม

5 เล่ม

107.

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมเบื้องต้น

5 เล่ม

5 เล่ม

108.

ทฤษฏีต้นทุนอุตสาหกรรม

5 เล่ม

5 เล่ม

109.

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมและทฤษฎีต้นทุน

5 เล่ม

5 เล่ม

110.

สงครามเศรษฐกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

111.

การบริหารการผลิตในธุรกิจอุตสาหกรรมและบริหาร

5 เล่ม

5 เล่ม

112.

เศรษฐศาสตร์การบริหาร

5 เล่ม

5 เล่ม

113.

เศรษฐศาสตร์การจัดการ

5 เล่ม

5 เล่ม

114.

เศรษฐศาสตร์แรงงาน

5 เล่ม

5 เล่ม

115.

เศรษฐศาสตร์แรงงานระหว่างประเทศ

5 เล่ม

5 เล่ม

116.

เศรษฐศาสตร์แรงงานและแรงงานสัมพันธ์

5 เล่ม

5 เล่ม

117.

เศรษฐศาสตร์กำลังคน

10 เล่ม

10 เล่ม

118.

เศรษฐศาสตร์สวัสดิการและสิ่งแวดล้อม

10 เล่ม

10 เล่ม

119.

เศรษฐศาสตร์การขนส่ง

5 เล่ม

5 เล่ม

120.

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

5 เล่ม

5 เล่ม

121.

เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

5 เล่ม

5 เล่ม

122.

เศรษฐศาสตร์รัฐวิสาหกิจ

3 เล่ม

3 เล่ม

123.

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยประเทศด้อยพัฒนา

5 เล่ม

5 เล่ม

124.

การวางแผนเศรษฐกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

125.

การพัฒนาเศรษฐกิจเบื้องต้น

3 เล่ม

3 เล่ม

126.

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

3 เล่ม

3 เล่ม

127.

การพัฒนาและความจำเริญทางเศรษฐกิจ

3 เล่ม

3 เล่ม

128.

ประชากรศาสตร์และประชากรวรรณา

3 เล่ม

3 เล่ม

129.

เศรษฐศาสตร์ประชากร

3 เล่ม

3 เล่ม

130.

เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ

5 เล่ม

5 เล่ม

131.

แหล่งน้ำกับปัญหามลพิษ

3 เล่ม

3 เล่ม

132.

เรื่องน่ารู้เทคนิคการจัดการสำหรับผู้บริหารโรงงาน

5 เล่ม

5 เล่ม

133.

กฎหมายการตลาด

5 เล่ม

5 เล่ม

134.

หลักการตลาด

10 เล่ม

10 เล่ม

135.

การบริหารการตลาด

5 เล่ม

5 เล่ม

136.

กฎหมายธุรกิจที่นักบริหารควรทราบ

10 เล่ม

10 เล่ม

137.

การบริหารการเงินธุรกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

138.

การวางแผนและควบคุมทางการเงิน

5 เล่ม

5 เล่ม

139.

บริหารเงินทุนหมุนเวียน 10

3 เล่ม

3 เล่ม

140.

การโฆษณา

5 เล่ม

5 เล่ม

141.

การโฆษณาและส่งเสริมการขาย

5 เล่ม

5 เล่ม

142.

การส่งเสริมการท่องเที่ยว

5 เล่ม

5 เล่ม

143.

การโรงแรม

5 เล่ม

5 เล่ม

144.

การประกันภัย

5 เล่ม

5 เล่ม

145.

การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว

5 เล่ม

5 เล่ม

146.

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

5 เล่ม

5 เล่ม

147.

ประสบการณ์วิชาชีพเศรษฐศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

148.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวล

   
 

ข้อมูลทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

15 เล่ม

15 เล่ม

149.

หลักการประชาสัมพันธ์

5 เล่ม

5 เล่ม

150.

หลักและทฤษฎีการสื่อสาร

5 เล่ม

5 เล่ม

151.

วิธีการอ่านหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษให้เข้าใจ

7 เล่ม

7 เล่ม

152.

การออกแบบบรรจุภัณฑ์

10 เล่ม

10 เล่ม

153.

หลักการมัคคุเทศก์

10 เล่ม

10 เล่ม

154.

แนวคิดหลักนิเทศศาสตร์

5 เล่ม

5 เล่ม

155.

แอ๊ดเวอร์ไทซิ่ง

5 เล่ม

5 เล่ม

156.

วิธีการวิจัยการโฆษณา

5 เล่ม

5 เล่ม

157.

กลยุทธ์การตลาด

10 เล่ม

10 เล่ม

158.

บริหารงานขาย

10 เล่ม

10 เล่ม

159.

การตัดสนใจทางการตลาดโดยอาศัยเทคนิคเชิงปริมาณ

10 เล่ม

10 เล่ม

160.

พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด

10 เล่ม

10 เล่ม

161.

นิตยสารและวารสาร ดังนี้

   
 

    -  คิวซี

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  คู่แข่ง

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เคหการเกษตร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  คอมพิวเตอร์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  คลังสมอง

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ข่าวสารเกษตรศาสตร์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ข่าวสาร กฟผ.

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เกษตรอุตสาหกรรม

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เกษตรพัฒนา

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เกษตรก้าวหน้า

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  การเงินการธนาคาร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  กสิกร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  พัฒนบริหารศาสตร์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ปริทัศน์สหกรณ์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  บริหารธุรกิจ (ธรรมศาสตร)

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  วิศวกรรมสาร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  วิศวกรรมก้าวหน้า

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  วิทยาสารเกษตรศาสตร์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  วิจัยสนเทศ

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  รายงานเศรษฐกิจ

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  นักอุตสาหกรรม

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  นิกส์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  นักบริหาร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ธุรกิจท่องเที่ยว

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ธุรกิจก้าวหน้า

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เทคโนโลยีของชาวบ้าน

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ดอกเบี้ย

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  จุฬาลงกรณ์ รีวิว

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เอเซียปริทัศน์

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  อุตสาหกรรมสาร

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  อินดัสตรี แม็กกาซีน

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  ออฟฟิสเทคโนโลยี

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  หุ้นไทย

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  สรุปข่าวธุรกิจ

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  สรรพกรสาส์น

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  สนเทศสาส์น

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เศรษฐกิจและสังคม

1 เล่ม

1 เล่ม

 

    -  เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์

1 เล่ม

1 เล่ม

162.

Economics : An Introductory Analysis

2 เล่ม

2 เล่ม

163.

Economics : A General Introduction

2 เล่ม

2 เล่ม

164.

An Introduction to Economics

3 เล่ม

3 เล่ม

165.

An Introduction to Microeconomics Theory

1 เล่ม

1 เล่ม

166.

Economic Analysis

1 เล่ม

1 เล่ม

167.

Theory of Economic Statistics

2 เล่ม

2 เล่ม

168.

Economics ; Principles, Problems and Policy

2 เล่ม

2 เล่ม

169.

Energy Economics

1 เล่ม

1 เล่ม

170.

Energy in the Economics

1 เล่ม

1 เล่ม

171.

Macroeconomic Analysis

2 เล่ม

2 เล่ม

172.

Macroeconomic Analysis and Application

2 เล่ม

2 เล่ม

173.

Economic Development

1 เล่ม

1 เล่ม

174.

The Strategy to Economics Development

2 เล่ม

2 เล่ม

175.

Introduction to Agricultural Economics

2 เล่ม

2 เล่ม

176.

Agricultural Marketing : Systems

2 เล่ม

2 เล่ม

177.

Introduction to Money and Banking

2 เล่ม

2 เล่ม

178.

Introduction Money and Finance

1 เล่ม

1 เล่ม

179.

Marketing of Agricultural Problems

2 เล่ม

2 เล่ม

180.

Monetary Economics : Theory and Policy

2 เล่ม

2 เล่ม

181.

Introduction to Management Science

2 เล่ม

2 เล่ม

182.

Personl/Humn Resource Mangement

2 เล่ม

2 เล่ม

183.

Service management & Marketing

2 เล่ม

2 เล่ม

184.

Strategic Mangement

2 เล่ม

2 เล่ม

185.

Industrial & Organizational Marketing

2 เล่ม

2 เล่ม

186.

The Theory of Price

2 เล่ม

2 เล่ม

187.

Business Statistics

2 เล่ม

2 เล่ม

188.

Statistics for Business & Economics

2 เล่ม

2 เล่ม

189.

Technical Mathematic with Calculus

2 เล่ม

2 เล่ม

190.

Introduction Dimensions of Financial

2 เล่ม

2 เล่ม

191.

Investments

2 เล่ม

2 เล่ม

192.

Managerial Economics

2 เล่ม

2 เล่ม

193.

Quantitative Methods of Management

1 เล่ม

1 เล่ม

194.

Mathematical Economics 2/ed

1 เล่ม

1 เล่ม

195.

Econometric Models

1 เล่ม

1 เล่ม

196.

International Economics

1 เล่ม

1 เล่ม

197.

Economic Development

1 เล่ม

1 เล่ม

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

ปีงบประมาณ/บาท

รวม

2549

2550

2551

2552

2553

1. ค่าตอบแทน

2. ค่าใช้สอย

3. ค่าวัสดุ

4. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

15,000

10,000

25,000

2,000

30,000

20,000

85,000

3,000

40,000

30,000

60,000

5,000

50,000

40,000

60,000

5,000

60,000

50,000

70,000

6,000

195,000

150,000

300,000

20,000

รวมงบดำเนินการ

52,000

138,000

135,000

155,000

186,000

665,000

5. ค่าครุภัณฑ์

30,000

50,000

70,000

85,00

95,000

330,000

รวมงบลงทุน

30,000

50,000

70,000

85,000

95,000

330,000

รวมทั้งสิ้น

82,000

188,000

205,000

240,000

281,000

995,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

    1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

    2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

    3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

    4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

92

    1. วิชาพื้นฐานวิชาชีพ

30

    2. วิชาชีพ (บังคับ)

42

    3. วิชาชีพ (เลือก)

15

    4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

5

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

129

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 92 หน่วยกิต แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

            1. วิชาพื้นฐานวิชาชีพ จำนวน 30 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312703

ภาษาอังกฤษสำหรับเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Economics

 

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Social Science

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

3221101

หลักการตลาด

3(3-0-6)

 

Principle of Marketing

 

3251101

การเงินธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Business Finance

 

3301103

หลักการบัญชี

3(2-2-5)

 

Principles of Accounting

 

3501107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 1

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 1

 

3502107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 2

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 2

 

3502305

จริยธรรมสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Business Ethics

 

4311703

คอมพิวเตอร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Computer for Economists

 

            2. วิชาชีพ (บังคับ) จำนวน 42 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3501106

ประวัติแนวคิดเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

History of Economic Thought

 

3501108

สถิติเศรษฐศาสตร์ 1

3(3-0-6)

 

Economic Statistics 1

 

3502101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1

3(3-0-6)

 

Microeconomics 1

 

3502102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 1

3(3-0-6)

 

Macroeconomics 1

 

3502103

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(3-0-6)

 

Economic Development

 

3502104

เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Economics

 

3502105

เศรษฐศาสตร์การเงิน และการธนาคาร

3(3-0-6)

 

Economics of Money and Banking

 

3502106

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย

3(3-0-6)

 

Economic History of Thailand

 

3502108

สถิติเศรษฐศาสตร์ 2

3(3-0-6)

 

Economic Statistics 2

 

3503101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2

3(3-0-6)

 

Microeconomics 2

 

3503102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 2

3(3-0-6)

 

Macroeconomics 2

 

3503103

เศรษฐมิติ 1

3(3-0-6)

 

Econometrics 1

 

3503305

การวิเคราะห์เศรษฐกิจไทย

3(3-0-6)

 

Analysis Thai Economics

 

3504901

วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์

3(2-2-5)

 

Research Methodology in Economics

 

            3. วิชาชีพ (เลือก) ให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากวิชาเอกใดเอกหนึ่งต่อไปนี้

                3.1 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี (Economic Theory)
                3.2 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การพัฒนา (Economic Development)
                3.3 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Economics)
                3.4 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การคลัง (Public Economics)
                3.5 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การเงิน (Monetary Economics)
                3.6 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ (Quantitative Business Analysis Economics)
                3.7 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน (Labour and Human Resource Economics)
                3.8 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร (Economics of Agriculture and Agri-business)
                3.9 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (Economics of Environment and Natural Resource)
                3.10 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม (Business and Managerial Economics)

                    3.1 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3503107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 3

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 3

 

3513101

เศรษฐศาสตร์การเมือง

3(3-0-6)

 

Political Economics

 

3513102

ทฤษฎีเกม

3(3-0-6)

 

Game Theory

 

3513201

เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ

3(3-0-6)

 

Buddhist Economics

 

3514101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3

3(3-0-6)

 

Microeconomics 3

 

3514102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 3

3(3-0-6)

 

Macroeconomics 3

 

3514201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

3(2-2-5)

 

Special Topics in Theoretical Economics

 

3514301

พลวัตศาสตร์เศรษฐกิจ

3(3-0-6)

 

Economic Dynamics

 

3514501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

3(2-2-5)

 

Readings in Theoretical Economics

 

3514502

การวิพากษ์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Critique of Economic Theory

 

3514901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

3(2-2-5)

 

Seminar in Economic Theory

 

                    3.2 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3503106

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความต่างเพศ

3(3-0-6)

 

Economics of Gender

 

3503302

การพัฒนาเศรษฐกิจชนบท

3(3-0-6)

 

Rural Economic Development

 

3523101

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การพัฒนาและนโยบาย

3(3-0-6)

 

Economic Development Theories and Policies

 

3523102

เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค

3(3-0-6)

 

Urban and Regional Economics

 

3523103

เศรษฐศาสตร์ความเหลื่อมล้ำและความยากจน

3(3-0-6)

 

Economics of Inequality and Poverty

 

3523106

เศรษฐศาสตร์นวัตกรรม

3(3-0-6)

 

Economics of Innovation

 

3523201

โลกาภิวัตน์และการพัฒนาเศรษฐกิจโลก

3(3-0-6)

 

Globalisation and World Economic Development

 

3523202

เศรษฐกิจเฉพาะประเทศ

3(3-0-6)

 

Economics of Selected Countries

 

3523203

เศรษฐศาสตร์ชนบท

3(3-0-6)

 

Rural Economics

 

3523501

การศึกษาเฉพาะกรณีทางเศรษฐกิจท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Case Study in Local Economics

 

3524201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 

Special Topics in Economic Development

 

3524501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(3-0-6)

 

Readings in Economic Development

 

3524901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 

Seminar in Economic Development

 

                    3.3 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2463700

กฎหมายเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Law of International Economics

 

3503104

เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Monetary Economics

 

3504101

ตลาดการเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Financial Markets

 

3533101

ทฤษฎีและนโยบายการค้าระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Trade Theory and Policy

 

3533102

เศรษฐศาสตร์การลงทุนระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Economics of International Investment

 

3533201

เศรษฐศาสตร์การจัดการทางการเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Finance Management for International Trade Economics

 

3533202

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมบริการ

3(3-0-6)

 

Service Industry Economics

 

3533203

เศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัตน์

3(3-0-6)

 

Thai Economic in Global Context

 

3533204

การประกันคุณภาพ

3(3-0-6)

 

Quality Assurance Management

 

3533205

เศรษฐศาสตร์การประกันภัย

3(3-0-6)

 

Economics of Assurance

 

3533301

เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์เบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Basic Economic Analysis

 

3534201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Special Topics in International Economics

 

3534501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(2-2-5)

 

Readings in International Economics

 

                    3.4 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การคลัง

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3503105

เศรษฐศาสตร์การศึกษา

3(3-0-6)

 

Economics of Education

 

3503201

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

3(3-0-6)

 

Health Economics

 

3503301

เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

3(3-0-6)

 

Projects and Programs Analysis

 

3503308

เศรษฐศาสตร์การภาษีอากร

3(3-0-6)

 

Economics of Taxation

 

3543101

ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Theory of Public Expenditure

 

3543102

หลักการจัดการทรัพยากรภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Principles of Public Resource Management

 

3543103

เศรษฐศาสตร์การคลังท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Public Economics

 

3543201

นโยบายเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(3-0-6)

 

Public Economic Policy

 

3543202

เศรษฐศาสตร์การคลัง

3(3-0-6)

 

Financial Economics

 

3543301

เศรษฐศาสตร์รัฐวิสาหกิจ

3(3-0-6)

 

Economics of Public Enterprises

 

3544201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(2-2-5)

 

Special Topics in Public Economics

 

3544501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(2-2-5)

 

Readings in Public Economics

 

3544901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(2-2-5)

 

Seminar in Public Economics

 

                    3.5 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การเงิน

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3251105

การธนาคารพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Commercial Bank

 

3503104

เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Monetary Economics

 

3503301

เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

3(3-0-6)

 

Projects and Programs Analysis

 

3503304

เศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Economics of Business Finance

 

3503306

การลงทุนและการวิเคราะห์หลักทรัพย์

3(3-0-6)

 

Portfolio Investment and Analysis

 

3504101

ตลาดการเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Financial Markets

 

3553101

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน

3(3-0-6)

 

Monetary Theory and Policy

 

3553102

เศรษฐศาสตร์การเงิน

3(3-0-6)

 

Economic of Monetary

 

3553301

เศรษฐศาสตร์การจัดการ

3(3-0-6)

 

Managerial Economics

 

3553302

เศรษฐศาสตร์การผันแปรทางการเงิน

3(3-0-6)

 

Economics of Monetary Fluctuation

 

3554201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเงิน

3(2-2-5)

 

Special Topics in Monetary Economics

 

3554501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเงิน

3(2-2-5)

 

Readings in Monetary Economics

 

3554901

สัมมนาการเงินและการพัฒนา

3(2-2-5)

 

Seminar in Finance and Development

 

                    3.6 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3503107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 3

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 3

 

3563101

สถิติเศรษฐศาสตร์ 3

3(3-0-6)

 

Economic Statistics 3

 

3563201

เศรษฐมิติเพื่อการธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Econometrics for Business

 

3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Business Economics

 

3563203

เศรษฐศาสตร์สารสนเทศ

3(2-2-5)

 

Economics of Information

 

3563301

แบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณ

3(3-0-6)

 

Computable General Equilibrium Model

 

3563302

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3(3-0-6)

 

Quantitative Analysis

 

3563303

การวิเคราะห์ราคาผลิตผลทางการเกษตร

3(3-0-6)

 

Price Analysis of Agricultural Product

 

3564101

เศรษฐมิติ 2

3(3-0-6)

 

Econometrics 2

 

3564201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Special Topics in Quantitative Business Analysis Economics

 

3564501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Readings in Quantitative Business Analysis Economics

 

3564901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Seminar in Quantitative Business Analysis Economics

 

3564902

การวิจัยดำเนินงาน

3(3-0-6)

 

Operations Research

 

                    3.7 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3212627

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Resource Management

 

3213133

แรงงานสัมพันธ์

3(3-0-6)

 

Labour Relations

 

3503105

เศรษฐศาสตร์การศึกษา

3(3-0-6)

 

Economics of Education

 

3503106

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความต่างเพศ

3(3-0-6)

 

Economics of Gender

 

3503201

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

3(3-0-6)

 

Health Economics

 

3573101

เศรษฐศาสตร์แรงงาน

3(3-0-6)

 

Labour Economics

 

3573102

เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Economics of Human Resources

 

3573103

เศรษฐศาสตร์ประชากร

3(3-0-6)

 

Demographic Economics

 

3573104

เศรษฐศาสตร์แรงงานระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Labour Economics

 

3573201

เศรษฐศาสตร์การก่อสร้าง

3(2-2-5)

 

Economics of Construction

 

3574201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

3(2-2-5)

 

Special Topics in Labour and Human Resource Economics

 

3574501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

3(2-2-5)

 

Readings in Labour and Human Resource Economics

 

                    3.8 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษต

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3212119

หลักธุรกิจการเกษตร

3(3-0-6)

 

Principles of Agricultural Business

 

3214910

สัมมนาธุรกิจการเกษตร

3(2-2-5)

 

Seminar in Agri-Business

 

3221103

การตลาดเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Marketing

 

3252107

สินเชื่อการเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Credits

 

3503301

เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

3(3-0-6)

 

Projects and Programs Analysis

 

3503302

การพัฒนาเศรษฐกิจชนบท

3(2-2-5)

 

Rural Economic Development

 

3503303

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Political Economy of Natural Resource and Environment

 

3583101

เศรษฐศาสตร์การเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Economics

 

3583102

เศรษฐศาสตร์สหกรณ์

3(3-0-6)

 

Cooperative Economics

 

3583201

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจการเกษตร

3(3-0-6)

 

Agri-Business Economics

 

3583202

เศรษฐศาสตร์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเกษตร

3(3-0-6)

 

Economic of Agriculture

 

3583203

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมการเกษตร

3(3-0-6)

 

Economics of Agri-Industry

 

3583301

เศรษฐศาสตร์ท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Regional Economics

 

3584201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเกษตร และธุรกิจการเกษตร

3(2-2-5)

 

Special Topics in Economics of Agriculture and Agri-business

 

3584501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร

3(2-2-5)

 

Readings in Economics of Agriculture and Agri-business

 

                    3.9 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3503303

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Political Economy of Natural Resource and Environment

 

3593201

เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ

3(3-0-6)

 

Economics of Natural Resource

 

3593202

เทคนิคการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Economic Evaluation Techniques for Environmental Impacts

 

3593203

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Environmental Economics

 

3593204

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมสำหรับองค์กรธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Corporate Environmental Economics

 

3593205

เศรษฐศาสตร์ที่ดิน

3(2-2-5)

 

Land Economics

 

3593206

เศรษฐศาสตร์การประมง

3(3-0-6)

 

Fishery Economics

 

3593301

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Economics of Environment

 

3593302

เศรษฐศาสตร์พลังงาน

3(3-0-6)

 

Economics of Energy

 

3594201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

 

Special Topics in Economics of Natural Resource and Environment

3594501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

 

Readings in Economics of Natural Resource and Environment

 

3594901

สัมมนาการพัฒนากับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

 

Seminar in Development and Natural Resource and Environment

 

                    3.10 วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3503301

เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

3(3-0-6)

 

Projects and Programs Analysis

 

3503303

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Political Economy of Natural Resource and Environment

 

3503304

เศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Economics of Business Finance

 

3503306

การลงทุนและการวิเคราะห์หลักทรัพย์

3(3-0-6)

 

Portfolio Investment and Analysis

 

3503308

เศรษฐศาสตร์การภาษีอากร

3(3-0-6)

 

Economics of Taxation

 

3603101

เศรษฐศาสตร์การจัดการอุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Industrial Management Economics

 

3603102

เศรษฐศาสตร์การจัดการด้านการผลิตและการตลาด

3(3-0-6)

 

Economics of Production and Marketing Management

 

3603103

เศรษฐศาสตร์การขนส่ง

3(3-0-6)

 

Economics of Transportation

 

3603104

เศรษฐศาสตร์การผลิต

3(3-0-6)

 

Production Economics

 

3603105

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Industrial Economics

 

3603201

เศรษฐศาสตร์การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Economics of International Business Management

 

3604201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

3(2-2-5)

 

Special Topics in Business and Industrial Managerial Economics

 

3604501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

3(2-2-5)

 

Readings in Business and Industrial Managerial Economics

 

3604901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

3(2-2-5)

 

Seminar in Business and Industrial Managerial Economics

 

            4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 5 หน่วยกิต ได้แก่

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

3504801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเศรษฐศาสตร์

5(450)

  Field Experience in Economics  

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

                ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนในโครงสร้างของหลักสูตรสาขาวิชานี้

        17.4 แผนการเรียน

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

บังคับ

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

บังคับ

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

บังคับ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

บังคับ

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

บังคับ

3501106

ประวัติแนวคิดเศรษฐศาสตร์

3 (3-0-6)

บังคับ

3501108

สถิติเศรษฐศาสตร์ 1

3 (3-0-6)

บังคับ

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

บังคับ

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

บังคับ

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

บังคับ

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

บังคับ

2000105

ชีวิตกับดนตรี

2 (2-0-4)

เลือกเรียน

1 รายวิชา

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

2000107

ชีวิตกับนาฏการ

2 (2-0-4)

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3(2-2-5)

บังคับ

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

บังคับ

3502108

สถิติเศรษฐศาสตร์ 2

3 (3-0-6)

บังคับ

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2(1-2-3)

บังคับ

4000104

สุขภาพเพื่อชีวิต

2 (2-0-4)

เลือกเรียน

1 รายวิชา

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2312703

ภาษาอังกฤษสำหรับเศรษฐศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3501107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 1

3 (3-0-6)

 

3502101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1

3 (3-0-6)

 

3502103

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3 (3-0-6)

 

3502104

เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3 (3-0-6)

 

3502305

จริยธรรมสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

 

3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

3502102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 1

3 (3-0-6)

 

3502105

เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร

3 (3-0-6)

 

3502107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 2

3 (3-0-6)

 

3503101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2

3 (3-0-6)

 

0000000

เลือกเสรี

3 (3-0-6)

 

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3301103

หลักการบัญชี

3 (2-2-5)

 

3503102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 2

3 (3-0-6)

 

3503103

เศรษฐมิติ 1

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาชีพ (เลือก)

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาชีพ (เลือก)

3 (3-0-6)

 

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3251101

การเงินธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

3502106

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย

3 (3-0-6)

 

4311703

คอมพิวเตอร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาชีพ (เลือก)

3 (3-0-6)

 

xxxxxxx

วิชาชีพ (เลือก)

3 (3-0-6)

 

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3503305

การวิเคราะห์เศรษฐกิจไทย

3 (3-0-6)

 

3504901

วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาชีพ (เลือก)

3 (3-0-6)

 

0000000

เลือกเสรี

3 (3-0-6)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

3504801

การฝึกประสบการณ์วิชาเศรษฐศาสตร์

5 (450)

 

รวม

5

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชา วิชาพื้นฐานวิชาชีพ

รายวิชา 2313702

ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Social Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 2312703

ภาษาอังกฤษสำหรับเศรษฐศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Economics

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับหัวข้อทางเศรษฐศาสตร์จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3221101

หลักการตลาด

3 (3-0-6)

 

Principle of Marketing

 

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของแนวคิดทางการตลาด สภาพแวดล้อมทางการตลาด การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค การแบ่งส่วนตลาด กำหนดตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ ส่วนประสมการตลาด และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอิทธิพลทางการตลาด

รายวิชา 3251101

การเงินธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Business Finance

 

        ศึกษาขอบเขต ลักษณะ บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายการเงินในธุรกิจ ตลอดจนเป้าหมายและความสำคัญของการเงินธุรกิจ โดยเน้นให้เข้าใจถึงหลักการเบื้องต้นในการจัดสรรเงินทุนภายในธุรกิจ การจัดหาเงินทุนมาเพื่อใช้ในการดำเนินการของธุรกิจ การวางแผนการเงินที่เกี่ยวกับการเริ่มลงทุนกิจการ การขายกิจการ การเพิ่มทุน นโยบายการจัดสรรกำไรและเงินปันผล

รายวิชา 3301103

หลักการบัญชี

3(2-2-5)

 

Principles of Accounting

 

        การศึกษาข้อสมมุติฐานทางการบัญชี ความแตกต่างในหน้าที่ระหว่างพนักงานบัญชี และผู้ทำบัญชี หลักบัญชีคู่ เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี การบันทึกรายการในสมุดรายการขั้นต้น ประกอบด้วยสมุดรายวันทั่วไป สมุดรายวันเฉพาะ การบันทึกในสมุดแยกประเภท งบทดลอง รายการปรับปรุง การจัดทำงบการเงินสำหรับกิจการบริการ และกิจการซื้อขายสินค้า

รายวิชา 3501107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 1

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 1

 

        การประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์กับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้เซตสมการ และอสมการ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชันและกราฟ ฟังก์ชันรูปแบบต่าง ๆ การคิดดอกเบี้ย ค่าปัจจุบัน ค่าอนาคต รวมทั้งค่ารายปี ลิมิตและความต่อเนื่อง ลำดับและอนุกรม อนุพันธ์กรณีตัวแปรเดียว การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชันที่มีตัวแปรหนึ่งตัว ระบบสมการ เมทริกซ์อัลจีบรา

รายวิชา 3502107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 2

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 2

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501107 เศรษฐคณิตศาสตร์ 1)

        การประยุกต์เครื่องมือทางคณิตศาสตร์กับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้ อนุพันธ์ การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชันที่มีหลายตัวแปร การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดแบบมีข้อจำกัด การอินทิเกรตฟังก์ชันอินทิกรัลที่มีค่าจำกัดและไม่จำกัด อินทิกรัลหลายชั้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมการอนุพันธ์ และสมการผลต่าง

รายวิชา 3502305

จริยธรรมสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Business Ethics

 

        ศึกษาจริยธรรมในระบบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมกับการผลิตสินค้าและบริการ จริยธรรมในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ ความรับผิดชอบขององค์การธุรกิจที่มีต่อบุคคลและสังคม และจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ โดยใช้กรณีศึกษาจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจของไทย

รายวิชา 4311703

คอมพิวเตอร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Computer for Economists

 

        ความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (ดอสและวินโดวส์) การใช้ชุดคำสั่งประมวลผลเพื่อสร้างเอกสาร ตารางข้อมูล การนำเสนอผลงานด้วยคอมพิวเตอร์กราฟฟิก ฟังก์ชันทางเศรษฐศาสตร์ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต สืบค้นข้อมูลเพื่อการศึกษาและวิจัย  คำสั่งภาษา html การออกแบบเว็บเพจ และการนำเสนอผลงานทางอินเตอร์เน็ต

 

        3. คำอธิบายรายวิชา วิชาชีพ (บังคับ)

รายวิชา 3501106

ประวัติแนวคิดเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

History of Economic Thought

 

        วิวัฒนาการของแนวคิดและปรัชญาของนักเศรษฐศาสตร์สำนักต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน วิวัฒนาการของแนวคิดและปรัชญาของนักเศรษฐศาสตร์ไทย

รายวิชา 3501108

สถิติเศรษฐศาสตร์ 1

3(3-0-6)

 

Economic Statistics 1

 

        การประยุกต์ความรู้ทางสถิติกับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้ ตัวแปรสุ่ม ความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง การแจกแจงปกติ การแจกแจงตัวอย่าง ทฤษฎีการประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การแจกแจงไควสแควร์ การทดสอบวิธีนอนพาราเมตริก

รายวิชา 3502101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1

3(3-0-6)

 

Microeconomics 1

 

        การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้ผลิต และเจ้าของปัจจัยการผลิต ทฤษฎีการบริโภค ทฤษฎีการผลิต ทฤษฎีต้นทุนการผลิต ทฤษฎีราคาปัจจัยการผลิต การวิเคราะห์เปรียบเทียบการกำหนดราคาและปริมาณการผลิตสินค้าของผู้ผลิตในตลาดลักษณะต่าง ๆ การวิเคราะห์การกำหนดราคาและปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตของผู้ผลิตในสถานการณ์ของตลาดสินค้าและตลาดปัจจัยการผลิตที่แตกต่างกัน

รายวิชา 3502102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 1

3(3-0-6)

 

Macroeconomics 1

 

        การวิเคราะห์บัญชีรายได้ประชาชาติ อุปสงค์รวม อุปทานรวม ตลาดแรงงาน ตลาดการเงิน ตลาดทุน การวิเคราะห์ถึงระบบเศรษฐกิจแบบเปิดซึ่งครอบคลุมบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ และตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ การคลังและนโยบายการคลัง ปัญหาเศรษฐกิจมหภาค

รายวิชา 3502103

เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(3-0-6)

 

Economic Development

 

        หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ลักษณะพื้นฐาน โครงสร้าง และปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา การพัฒนาเกษตรกรรมและการพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ประชากร การศึกษา และสุขภาพอนามัย การออม การลงทุน การค้า การลงทุน และหนี้ต่างประเทศ ปัญหาและทางเลือกของการพัฒนาเศรษฐกิจ

รายวิชา 3502104

เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Economics

 

        ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศสมัยต่าง ๆ ผลกระทบของต้นทุนค่าขนส่งต่อการค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ กระบวนการปรับดุลการชำระเงิน ตลาดเงินตราต่างประเทศ นโยบายการค้าระหว่างประเทศ องค์กรทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

รายวิชา 3502105

เศรษฐศาสตร์การเงิน และการธนาคาร

3(3-0-6)

 

Economics of Money and Banking

 

        ศึกษาถึงทฤษฏีเงินตรา ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ปริมาณเงินในความหมายแคบและปริมาณเงินในความหมายกว้าง วิวัฒนาการของการเงินและระบบการเงิน บทบาทของเงินและนโยบายการเงิน ประเภทของธนาคาร หน้าที่และบทบาทต่อปริมาณเงิน ระบบธนาคารแบบธนาคารเดี่ยวและธนาคารสาขา การสร้างและทำลายเงินฝาก สถาบันการเงินและบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจ

รายวิชา 3502106

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย

3(3-0-6)

 

Economic History of Thailand

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        แนวทางต่าง ๆ ในการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะแนวทางของสำนักเศรษฐศาสตร์การเมือง เศรษฐกิจศักดินาต้นแบบ และวัฒนธรรมของชนเผ่าไท เศรษฐกิจหมู่บ้านและการส่งส่วยในสังคมศักดินา การขยายตัวของการค้ากับต่างประเทศในระบบศักดินาผสมทุนนิยม ช่วงสมัยวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ การยกเลิกพันธนาการศักดินาบางส่วน และการแสวงหาระบบเศรษฐกิจใหม่ เศรษฐกิจระหว่างสงคราม ช่วงสมัยทุนนิยมข้าราชการ การขยายตัวของระบบทุนนิยมและการขยายการเชื่อมโยงของเศรษฐกิจในประเทศกับเศรษฐกิจโลก ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับต่าง ๆ กระแสวิจารณ์การพัฒนาประเทศไทยแนวทุนนิยม ข้อเสนอเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและปฏิรูประบบเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะข้อเสนอเศรษฐกิจพอเพียงหรือเศรษฐกิจชุมชน

รายวิชา 3502108

สถิติเศรษฐศาสตร์ 2

3(3-0-6)

 

Economic Statistics 2

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501108 สถิติเศรษฐศาสตร์ 1)

        หลักการและการประยุกต์สถิติกับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้ การวิเคราะห์การถดถอยแบบง่าย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ การพยากรณ์ การวิเคราะห์ความเหมาะสมของโมเดล การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์อนุกรมเวลาเลขดัชนีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบง่ายและแบบพหุคูณ

รายวิชา 3503101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2

3(3-0-6)

 

Microeconomics 2

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1)

        การวิเคราะห์ดุลยภาพทั่วไป เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ ความล้มเหลวของระบบตลาดผลภายนอก สินค้าสาธารณะ การวิเคราะห์การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตสินค้าสาธารณะการวิเคราะห์ตลาดกรณีที่มีเรื่องการรับรู้ข้อมูลเข้ามาเกี่ยวข้อง ทฤษฎีการบริโภคภายใต้ความเสี่ยง ทฤษฎีการบริโภคระหว่างช่วงเวลา ทฤษฎีเกม

รายวิชา 3503102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 2

3(3-0-6)

 

Macroeconomics 2

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1)

        การวิเคราะห์แนวคิดหลัก ทางด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐศาสตร์มหภาคในลักษณะพลวัต โดยเน้นทฤษฎีเกี่ยวกับความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจแบบเปิดเชิงลึก การประยุกต์ทฤษฎีกับเหตุการณ์ปัจจุบัน

รายวิชา 3503103

เศรษฐมิติ 1

3(3-0-6)

 

Econometrics 1

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502108 สถิติเศรษฐศาสตร์ 2)

        ปัญหาในการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุเมื่อภาวะจริงไม่เป็นไปตามสมมติฐาน เทคนิคเบื้องต้นทางเศรษฐมิติที่สำคัญและใช้กันแพร่หลาย การใช้ตัวแปรดัมมี่ การประมาณความสัมพันธ์ที่มีการทิ้งช่วงเวลา และการใช้สมการตัวแบบแบบจำลองระบบสมการไซมัลเทเนียส

รายวิชา 3503305

การวิเคราะห์เศรษฐกิจไทย

3(3-0-6)

 

Analysis Thai Economics

 

        ภาพกว้างเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจไทย องค์ประกอบของเศรษฐกิจไทย การทำงานของระบบเศรษฐกิจไทย และปัญหาเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวัน

รายวิชา 3504901

วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์

3(2-2-5)

 

Research Methodology in Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 และ 3502102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1)

        ศึกษาถึงระเบียบวิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ในแง่ทฤษฎีและปฏิบัติ โดยอาศัยหลักวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รวมทั้งรูปแบบการเสนอโครงการวิจัย การประมวลปัญหา การตั้งและการทดสอบขั้นสมมติฐาน การใช้เศรษฐมิติและแบบจำลองชนิดต่าง ๆ ในการวิจัยลักษณะปัญหาและแนวทางวิจัยทางเศรษฐกิจตลอดจนการเสนอตัวอย่างของการดำเนินการวิจัย

 

        4. คำอธิบายรายวิชา วิชาชีพ (เลือก)

รหัสวิชา 2463700

กฎหมายเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Law of International Economics

 

        ศึกษาวิวัฒนาการและที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การขัดกันแห่งกฎหมายที่ใช้บังคับแก่สัญญาการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายเอกภาพสำหรับการค้าระหว่างประเทศ การแทรกแซงของรัฐเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ ซึ่งตกอยู่ภายใต้กฎหมายของ GATT และ UNCTAD สัญญาการผลิตระหว่างประเทศ การชำระเงินและการโอนเงินระหว่างประเทศ การขนส่งทางทะเล การประกันภัย ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การระงับข้อพิพาทการค้าและการเงินระหว่างประเทศ

รหัสวิชา 3212119

หลักธุรกิจการเกษตร

3(3-0-6)

 

Principles of Agricultural Business

 

        ความหมายและความสำคัญ องค์ประกอบและประเภทของธุรกิจเกษตร สินเชื่อเพื่อการเกษตร ข้อพิจารณาในการลงทุนทางการเกษตร ปัญหาธุรกิจเกษตร

รหัสวิชา 3212627

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Human Resource Management

 

        ความเป็นมา ทฤษฎีและหลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ขอบข่ายหน้าที่ความรับผิดชอบและขั้นตอนในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การวางแผนกำลังคน การสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรม การพัฒนา การประเมินผลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์

รหัสวิชา 3213133

แรงงานสัมพันธ์

3(3-0-6)

 

Labour Relations

 

        ปรัชญา จุดมุ่งหมาย และวิวัฒนาการของระบบแรงงานสัมพันธ์ องค์ประกอบขององค์การและสถาบันของรัฐที่เกี่ยวกับระบบแรงงานสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงแบบพลวัตที่มีต่อระบบแรงงานสัมพันธ์ ข้อตกลงและกฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดจากระบบแรงงานสัมพันธ์ การวิเคราะห์ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่มีผลต่อการทำงานของกลไกระบบแรงงานสัมพันธ์ ระบบแรงงานสัมพันธ์ในประเทศไทย และระบบแรงงานสัมพันธ์เปรียบเทียบ

รหัสวิชา 3214910

สัมมนาธุรกิจการเกษตร

3(2-2-5)

 

Seminar in Agri-Business

 

        ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการเกษตรเพื่อนำมาวิเคราะห์และอภิปรายหาข้อสรุป

รหัสวิชา 3221103

การตลาดเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Marketing

 

        ระบบและหน้าที่การตลาดเกษตร บทบาทและนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการตลาดการรวมกลุ่มตลาดผลิตผลเกษตรในต่างประเทศ การตั้งราคาตลาดต้นทุนและส่วนเหลื่อมของการตลาด (มีการศึกษานอกสถานที่)

รหัสวิชา 3251105

การธนาคารพาณิชย์

3(3-0-6)

 

Commercial Bank

 

        ศึกษาการดำเนินงานและปฏิบัติงานของธนาคารพาณิชย์ ทราบถึงโครงสร้าง ลักษณะและบริการด้านต่าง ๆ ของธนาคารพาณิชย์

รหัสวิชา 3252107

สินเชื่อการเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Credits

 

        ศึกษาความสำคัญฯของระบบสินเชื่อต่อการพัฒนาประเทศ นโยบายของรัฐบาลและกลยุทธ์ในการดำเนินงานสินเชื่อระยะสั้น ระยะปานกลาง ระยะยาวและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน แหล่งสินเชื่อเปรียบเทียบความสำคัญของแหล่งเงินทุน วิธีให้สินเชื่อแก่สมาชิกโดยผ่านสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร วิธีการเร่งรัดหนี้สิน ระเบียบการใช้เงินและส่งเงินคืน

รหัสวิชา 3503104

เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Monetary Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 2และ 3502104 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ)

        ระบบอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนและเครื่องมือในการลดความเสี่ยง ทฤษฎีกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ดุลการชำระเงิน การเคลื่อนย้ายทุน ความสัมพันธ์ของราคา อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราดอกเบี้ย นโยบายมหภาคระหว่างประเทศและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ระบบการเงินระหว่างประเทศในอดีตและปัจจุบัน

รหัสวิชา 3503105

เศรษฐศาสตร์การศึกษา

3(3-0-6)

 

Economics of Education

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3543101 ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ)

        ทฤษฎีทุนมนุษย์ที่เกี่ยวกับการลงทุนทางการศึกษา ผลของการศึกษาต่อการจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประโยชน์ของการศึกษา ต้นทุนของการศึกษา การวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์จากการลงทุนทางการศึกษา ฟังก์ชันการผลิตและฟังก์ชันต้นทุนของการศึกษา การศึกษากับการมีงานทำ ความเป็นธรรมทางการศึกษา การศึกษาสาธารณะและการศึกษาเอกชน การวางแผนการศึกษา การเงินและภาษีอากรเพื่อการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษากับส่วนอื่น ๆ ของสังคม

รายวิชา 3503106

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความต่างเพศ

3(3-0-6)

 

Economics of Gender

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        ศึกษาความแตกต่างระหว่างเพศทางกายภาพและเพศทางสังคม ทฤษฎีหลักต่าง ๆ ที่อธิบายการแบ่งงานกันทำระหว่างเพศบทบาทสตรีเปรียบเทียบกับบุรุษในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาการเศรษฐกิจโลก

รายวิชา 3503107

เศรษฐคณิตศาสตร์ 3

3(3-0-6)

 

Mathematics for Economics 3

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502107 เศรษฐคณิตศาสตร์ 2)

        การประยุกต์เครื่องมือคณิตศาสตร์แบบเรียลอานาไลซิสและโทโพโลจี้กับการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์เชิงเส้นตรงและไม่ใช่เส้นตรง ทั้งแบบสถิตและพลวัต การประยุกต์ใช้กับทฤษฎีอินพุตเอาพุต ทฤษฎีฮอกิ้นส์-ซิมอน ทฤษฎีเพอรอน-โฟรบีเนียส การวิเคราะห์จุดเหมาะสม และทฤษฎีการจำเริญเติบโตโดยใช้คอนเวคเซต ดูอัลเทียวเร่ม การแก้ปัญหาแซดเดิ้ลพ้อย ทฤษฎีฟิกพ้อยที่ใช้ในทฤษฎีดุลยภาพทั่วไป

รหัสวิชา 3503201

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

3(3-0-6)

 

Health Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3543101 ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ)

        การประยุกต์หลักการและการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์กับภาคสาธารณสุขในเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ ปัญหาด้านการคลังในระบบสาธารณสุข การสร้างหลักประกันด้านสุขภาพและด้านบริการสาธารณสุข ปัจจัยและประเด็นด้านอุปสงค์และอุปทานของการบริการสาธารณสุข การประเมินมาตรการทางด้านสุขภาพและการบริการสาธารณสุข การประเมินด้านการคลังในระบบสาธารณสุข การปฏิรูประบบสาธารณสุข

รหัสวิชา 3503301

เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

3(3-0-6)

 

Projects and Programs Analysis

 

        ศึกษาหลักและวิธีการวางแผนระดับโครงการและระดับแผนงาน การบริหารโครงการและแผนงาน หลักและวิธีการประเมินโครงการและแผนงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การวิเคราะห์ต้นทุน และประโยชน์ทั้งโครงการของรัฐและเอกชน การวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการและแผนงานการกำหนดทางเลือกของโครงการหลัก และขั้นตอนการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการและแผนงาน การวิเคราะห์ Cost Benefit Ration วิเคราะห์เชิงระบบในโครงการและแผนงาน

รายวิชา 3503302

การพัฒนาเศรษฐกิจชนบท

3(2-2-5)

 

Rural Economic Development

 
 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

 

        การวิเคราะห์ปัญหาพื้นฐานทางด้านโครงสร้างของชนบท ปัญหาความยากจนของชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กับปัญหาและการพัฒนาชนบท การวิเคราะห์โครงการพัฒนาชนบทรูปแบบต่างๆ

รหัสวิชา 3503303

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Political Economy of Natural Resource and Environment

 

        เศรษฐศาสตร์การเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบาย การกำหนดและวิเคราะห์โครงการที่ส่งผลต่อระบบนิเวศและต่อกลุ่มต่าง ๆ ที่มีความขัดแย้งกัน การแสวงหาวิธีการกำหนดนโยบายโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทุกระดับ การกำหนดนโยบายการดำเนินงานและการลดความขัดแย้งกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย

รหัสวิชา 3503304

เศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Economics of Business Finance

 

        การวิเคราะห์การเงินธุรกิจ การวางแผนกำไร การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด การบริหารลูกหนี้ แหล่งเงินทุนระยะสั้นและระยะยาว

รหัสวิชา 3503306

การลงทุนและการวิเคราะห์หลักทรัพย์

3(3-0-6)

 

Portfolio Investment and Analysis

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503304 เศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ)

        ประเภทของหลักทรัพย์ ทฤษฎีการเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ ดุลยภาพของราคาและผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ทฤษฎีประสิทธิภาพของตลาดทุน การประเมินสมรรถนะของการจัดการการลงทุนในหลักทรัพย์

รหัสวิชา 3503308

เศรษฐศาสตร์การภาษีอากร

3(3-0-6)

 

Economics of Taxation

 

        เกณฑ์การวิเคราะห์ภาษี ภาระภาษีในกรอบดุลยภาพเฉพาะส่วนและดุลยภาพทั่วไป ผลกระทบด้านพฤติกรรมของภาษีหลักต่าง ๆ ได้แก่ ภาษีเงินได้ ภาษีระหว่างประเทศ ภาษีการขาย ภาษีทรัพย์สิน บทบาทการคลังของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นในระบบเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง และการก่อหนี้สาธารณะ

รหัสวิชา 3504101

ตลาดการเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Financial Markets

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3533102 เศรษฐศาสตร์การลงทุนระหว่างประเทศ)

        ตลาดการเงินระหว่างประเทศสำหรับตราสารหนี้ ตราสารทุน ยูโร ดอลลาร์ ยูโรเยน และตลาดเงินตราต่างประเทศ กลไกการทำงานของตลาดสากลซึ่งอยู่นอกเหนือพลังของนโยบายของรัฐบาล และอิทธิพลของกลุ่มอุตสาหกรรม การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและดอกเบี้ยโดยการใช้ตราสารอนุพันธ์ รวมถึงกระบวนการวาณิชธนกิจสำหรับผลิตภัณฑ์การเงินระหว่างประเทศ และการพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์

รายวิชา 3513101

เศรษฐศาสตร์การเมือง

3(3-0-6)

 

Political Economics

 

        ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซ์และมาร์กซิสต์ กฎเกณฑ์การเคลื่อนไหวของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม เกี่ยวกับหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ ทฤษฎีมูลค่าแรงงาน ทฤษฎีการขูดรีด (ทฤษฎีกำไร) ทฤษฎีวิกฤต และผังการผลิตซ้ำแบบง่ายและแบบขยายของมาร์กซ์ พัฒนา การของเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์ ทฤษฎีมาร์กซิสต์กระแสหลักของเคาต์สกี้ ลุกแซมเบอร์ก และฮิลเฟอร์ดิ้ง เศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซิสต์ปัจจุบัน

รายวิชา 3513102

ทฤษฎีเกม

3(3-0-6)

 

Game Theory

 

        ทฤษฎีเกมเชิงสถิตและเชิงพลวัต ทฤษฎีเกมแบบมีสารสนเทศสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ แบบปกติและแบบขยาย กลยุทธ์ แนวคิดดุลยภาพ โดยเฉพาะอิทีเรเตท(iterated)โดมิแนน(dominance) ซับเกม เพอเฟค (subgame perfect) เบเซียน (Bayesian) และแบบซีเควนเชียล (seguential)

รายวิชา 3513201

เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ

3(3-0-6)

 

Buddhist Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501101 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป หรือ3502101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 และ 3502108 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1)

        ศึกษาแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ที่ใช้ความมั่งคั่งทางวัตถุ ความมั่งคั่งของสหประชาชาติ (The Wealth of Nation) ศึกษาแนวคิดเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธโดยการดำรงชีพที่ถูกต้องหรือสัมมาอาชีวะ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความมั่งคั่งทางวัตถุกับการดำรงชีพที่ถูกต้องหรือความอยู่เย็นเป็นสุขตามหลักธรรมะและเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ โดยใช้กรณีศึกษาของชุมชนในท้องถิ่น

รายวิชา 3514101

เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3

3(3-0-6)

 

Microeconomics 3

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2)

        ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคโดยใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์เน้นแคลคูลัสในหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ เซตการผลิต และปัญหาการหากำไรสูงสุดและปัญหาการหาค่าใช้จ่ายการผลิตต่ำสุด ความสัมพันธ์ของความพอใจ ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ และปัญหาการหาอรรถประโยชน์สูงสุดและปัญหาการหาค่าใช้จ่ายต่ำสุด ดุลยภาพการแข่งขัน ความเหมาะสมแบบพาเรโต ทฤษฎีพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ การผูกขาดรายเดียว และการผูกขาดบางส่วนหลายราย ทฤษฎีอรรถประโยชน์คาดหวัง สินค้าตามสถานการณ์ ดุลยภาพแอร์โรว์ดีบรู

รายวิชา 3514102

เศรษฐศาสตร์มหภาค 3

3(3-0-6)

 

Macroeconomics 3

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 2)

        ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคโดยใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ในหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ แบบจำลองการเติบโตของโซโรว์ แบบจำลองเหลื่อมรุ่น ทฤษฎีการเติบโตแบบใหม่ (การวิจัยและพัฒนาและทุนมนุษย์) ทฤษฎีวัฎจักรธุรกิจภาคการผลิต ทฤษฎีการแกว่งตัวแบบเคนส์เซียน การปรับตัวของราคาอย่างไม่สมบูรณ์บนพื้นฐานจุลเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีการลงทุน ราคาเฟ้อ นโยบายการเงิน การว่างงาน

รายวิชา 3514201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

3(2-2-5)

 

Special Topics in Theoretical Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3514101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 และ 3514102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 3)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีในแนวลึก

รายวิชา 3514301

พลวัตศาสตร์เศรษฐกิจ

3(3-0-6)

 

Economic Dynamics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 และ 3503102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 2)

        การวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจแบบพลวัตโดยอาศัยโมเดลเศรษฐกิจที่ใช้สมการอนุพันธ์อันดับหนึ่งและอันดับสูงกว่า สมการผลต่างอันดับหนึ่งและอันดับสูงกว่า สมการอนุพันธ์และสมการผลต่างที่เป็นแบบซิมมูแทนเนียส โมเดลอินพุตเอาพุตแบบพลวัต การวิเคราะห์เฟสไดอะแกรมแบบ 2 ตัวแปร การหาจุดสูงสุดแบบพลวัตโดยใช้แคลคูลัสแวริเอชัน ทฤษฎีการควบคุม และไดนามิกโปรแกรมมิ่ง

รายวิชา 3514501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

3(2-2-5)

 

Readings in Theoretical Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3514101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 และ 3514102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 3 )

        การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รายวิชา 3514502

การวิพากษ์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Critique of Economic Theory

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 และ 3503102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 2) และ 3514101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 )

        วิธีคิดและมูลเหตุจูงใจของนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนอกกระแสหลักในการวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับ จุดอ่อนของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ขีดจำกัดของเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ปัจจัยสังคมและวัฒนธรรม ความเป็นไปได้ของความคิดนอกกระแสหลักที่วิพากษ์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

รายวิชา 3514901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

3(2-2-5)

 

Seminar in Economic Theory

 

        ประเด็นปัญหาปัจจุบันของเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกที่สัมพันธ์กับเศรษฐกิจไทยผลงานวิจัยใหม่ ๆ เกี่ยวกับเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก

รายวิชา 3523101

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การพัฒนาและนโยบาย

3(3-0-6)

 

Economic Development Theories and Policies

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีที่อธิบายสาเหตุของความล้าหลังทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีการพัฒนาของสำนักสำคัญ ทั้งกลุ่มทฤษฎีกระแสหลัก และกลุ่มทฤษฎีโครงสร้าง แบบจำลองว่าด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยใหม่ ประเด็นความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ การพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาภาคเกษตร การจ้างงานและค่าจ้าง การลงทุนจากต่างประเทศ การพัฒนาเทคโนโลยี บทบาทของรัฐบาลทางเลือกการพัฒนา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจกับสังคม การเมือง และวัฒนธรรม

รายวิชา 3523102

เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค

3(3-0-6)

 

Urban and Regional Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        วิเคราะห์เศรษฐกิจเมืองและภูมิภาค ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค ที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ดุลยภาพเชิงพื้นที่ เศรษฐศาสตร์ภูมิภาคเชิงพลวัต โครงสร้างแห่งดุลยภาพของชุมชนเมือง ความจำเริญของเมืองและการวางแผนระดับเมืองประเด็นปัญหาของชุมชนเมือง แบบจำลอง และวิธีการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ภูมิภาค พัฒนาการระดับภูมิภาคและนโยบาย รวมทั้งการวางแผนในระดับภูมิภาค

รายวิชา 3523103

เศรษฐศาสตร์ความเหลื่อมล้ำและความยากจน

3(3-0-6)

 

Economics of Inequality and Poverty

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        ระบบเศรษฐกิจในบริบทความไม่เสมอภาคหรือความเหลื่อมล้ำระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม การพัฒนาของทฤษฎีต่าง ๆ ด้านความไม่เสมอภาค มิติต่าง ๆ ของความไม่เสมอภาค ทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน การสร้างดัชนีวัดความรุนแรงของความไม่เสมอภาคและความยากจน แนวคิดเบื้องหลังการสร้างดัชนี บทความและงานวิจัยเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคและความยากจนโดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา การวิเคราะห์นโยบายที่มีผลกระทบต่อการกระจายรายได้

รายวิชา 3523106

เศรษฐศาสตร์นวัตกรรม

3(3-0-6)

 

Economics of Innovation

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        นวัตกรรมในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักต่าง ๆ แบบจำลองสำหรับการวิเคราะห์นวัตกรรม การวิเคราะห์โครงการที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม การวิเคราะห์การจัดการนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์

รายวิชา 3523201

โลกาภิวัตน์และการพัฒนาเศรษฐกิจโลก

3(3-0-6)

 

Globalisation and World Economic Development

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        การวิเคราะห์การพัฒนาของเศรษฐกิจโลกในมิติทางประวัติศาสตร์กระแสกระบวนการโลกาภิวัตน์ในมิติต่าง ๆ ทฤษฎีและแนวคิดที่อธิบายปรากฏการณ์ของโลกาภิวัตน์ ผลกระทบของปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบต่อเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ

รายวิชา 3523202

เศรษฐกิจเฉพาะประเทศ

3(3-0-6)

 

Economics of Selected Countries

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        การวิเคราะห์เชิงลึกด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และประเทศเพื่อนบ้านที่มีกลยุทธ์หรือแนวทางการวางนโยบายเศรษฐกิจที่แตกต่าง หรือประเทศที่มีความน่าสนใจในประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจ เน้นการประยุกต์ทฤษฎีพัฒนาเศรษฐกิจกับประสบการณ์การพัฒนา การวิเคราะห์ปัญหาและการแก้ไขปัญหา โครงสร้างระบบเศรษฐกิจ บทบาทรัฐ และบทบาทของภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง จำนวนอย่างน้อย 3 ประเทศ

รายวิชา 3523203

เศรษฐศาสตร์ชนบท

3(3-0-6)

 

Rural Economics

 

        ศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมชนบท การมีส่วนร่วมทางด้านการผลิต การตลาด และการบริโภคของประชากรในชนบท บทบาทของภาครัฐบาล และภาคเอกชน ในการพัฒนาเศรษฐกิจชนบท การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจในชนบทไทย รวมทั้งแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต

รายวิชา 3523501

การศึกษาเฉพาะกรณีทางเศรษฐกิจท้องถิ่น

3(2-2-5)

 

Case Study in Local Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501108 สถิติเศรษฐศาสตร์ 1)

        ศึกษาสภาพเศรษฐกิจ การผลิต การบริโภค การตลาดในชุมชน และท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ กรณีศึกษาในชุมชนและท้องถิ่น แล้วให้นำผลการศึกษาเสนอในรูปแบบของเอกสารรายงาน

รายวิชา 3524201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 

Special Topics in Economic Development

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การพัฒนาในแนวลึก

รายวิชา 3524501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 

Readings in Economic Development

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502103 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา)

        การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์การพัฒนาในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รายวิชา 3524901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

3(2-2-5)

 

Seminar in Economic Development

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3523102 เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค)

        ประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันและอนาคต โดยเฉพาะประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย การประยุกต์ความรู้ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจกับสถานการณ์จริง

รหัสวิชา 3533101

ทฤษฎีและนโยบายการค้าระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Trade Theory and Policy

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 และ 3502104 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ)

        ทฤษฎีนโยบายการค้าระหว่างประเทศ จุดแยกระหว่างนโยบายการค้าภายใต้เงื่อนไขการค้าเสรี ทฤษฎีการใช้นโยบายพิกัดศุลกากรของประเทศใหญ่ การวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วนแบบนอร์มาทีฟและแบบโพสซิทีฟของผลกระทบจากทฤษฎีนโยบายพิกัดศุลกากร ทฤษฎีโควตาและทฤษฎีโควตาบอกพิกัดศุลกากร ทฤษฎีและหลักการอุดหนุนเพื่อการส่งออก ทฤษฎีการคุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ และต้นทุนทรัพยากรภายในประเทศ การวัดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบแบบอื่น ๆ หลักการของข้อตกลงการค้าเสรีทวิภาคี ข้อตกลงการค้าระดับภูมิภาคในรูปแบบต่าง ๆ และผลของการเจรจาการค้าพหุภาคีในรอบต่าง ๆ

รหัสวิชา 3533102

เศรษฐศาสตร์การลงทุนระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Economics of International Investment

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502104 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ)

        บทบาทและความสำคัญของการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติต่อเศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจโลก ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมของบรรษัทข้ามชาติเกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้นและการถ่ายทอดเทคโนโลยี สิทธิบัตรและการอนุญาตให้ผลิตและซื้อขาย กลยุทธ์การผลิตและการแสวงหาวัตถุดิบ รวมทั้งการกำหนดค่าจ้างและการบริหารทรัพยากรบุคคล โครงสร้างตลาด การดำเนินธุรกิจ และผลการดำเนินงานของบรรษัทข้ามชาติ โดยเน้นผลกระทบต่อธุรกิจและเศรษฐกิจภายใน ประเทศ บทบาทของรัฐและองค์กรระหว่างประเทศต่อการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติในประเทศกำลังพัฒนา

รหัสวิชา 3533201

เศรษฐศาสตร์การจัดการทางการเงินระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Finance Management for International Trade Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502104 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ)

        ตราสารที่ใช้ในธุรกิจนำเข้าและส่งออกได้แก่ หนังสือเครดิตเพื่อการค้ำประกัน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ใบกำกับสินค้า ใบตราส่งสินค้าทางทะเล ใบกำหนดแหล่งกำเนิดสินค้าและใบรับรองอื่น ๆ การใช้บริการการประกัน สินเชื่อการส่งออก ประโยชน์ของการใช้ฟอร์เฟตติ้งเพื่อการค้า การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน การค้าต่างตอบแทน การทำแฟคเตอริ่งระหว่างประเทศ หัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทางการเงินและการป้องกันความเสี่ยงของธุรกิจส่งออก

รายวิชา 3533202

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมบริการ

3(3-0-6)

 

Service Industry Economics

 

        ศึกษาวิธีการนำหลักการและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์กับธุรกิจด้านร้านอาหารและภัตตาคาร สถานที่ท่องเที่ยว การนำเที่ยว การโรงแรมและที่พัก การโฆษณาและการขนส่ง การขายของที่ระลึกและสถานที่เริงรมย์ โดยใช้กรณีศึกษา วิเคราะห์ต้นทุน และผลตอบแทนจากการทำธุรกิจ

รหัสวิชา 3533203

เศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัตน์

3(3-0-6)

 

Thai Economic in Global Context

 

        ศึกษาความหมาย ลักษณะ ของโลกาภิวัตน์ กระแสโลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ของระบบการค้า การเงิน เศรษฐกิจโลกต่อประเทศไทย การรวมตัวทางเศรษฐกิจของยุโรป (EU) อเมริกา (NAFTA) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AFTA) พัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การปรับโครงสร้างทางธุรกิจและแนวโน้มในอนาคต

รหัสวิชา 3533204

การประกันคุณภาพ

3(3-0-6)

 

Quality Assurance Management

 

        ศึกษาความหมายของคุณภาพ การประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ ความสำคัญของการประกันคุณภาพต่อการจัดการ นโยบาย และวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพระบบการประกันคุณภาพแบบต่าง ๆ การประกันคุณภาพในต่างประเทศและในประเทศ

รหัสวิชา 3533205

เศรษฐศาสตร์การประกันภัย

3(3-0-6)

 

Economics of Assurance

 

        ศึกษาลักษณะการทำประกัน ประเภทการทำประกัน ต้นทุนทำประกัน ขอบเขตการให้ประกัน ประโยชน์หรือผลการตอบแทนจากการทำประกัน การใช้กรณีศึกษาหน่วยงานหรือสถาบันที่ให้ประกันในประเทศไทย

รหัสวิชา 3533301

เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์เบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Basic Economic Analysis

 

        ศึกษาการวิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับรายได้ประชาชาติ การผลิต การบริโภค การออม การลงทุน นอกจากนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับระบบการธนาคาร การขยายตัวของการเงิน ทฤษฎีการค้าการเงินระหว่างประเทศและลักษณะของตลาด

รหัสวิชา 3534201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(2-2-5)

 

Special Topics in International Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502104 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศในแนวลึก

รหัสวิชา 3534501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

3(2-2-5)

 

Readings in International Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502104 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ)

        การศึกษาบทความต่างๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3543101

ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Theory of Public Expenditure

 

        ทฤษฎีว่าด้วยบทบาทและโครงสร้างภาครัฐทฤษฎีทางเลือกของสาธารณะ ทฤษฎีสินค้าสาธารณะและผลกระทบภายนอก การวิเคราะห์การใช้จ่ายของภาครัฐ บทบาทและผลกระทบของรายจ่ายประเภทต่าง ๆ ของรัฐและการคลังต่างระดับ การวิเคราะห์ต้นทุนและผลได้ของการลงทุนภาครัฐ

รหัสวิชา 3543102

หลักการจัดการทรัพยากรภาครัฐ

3(3-0-6)

 

Principles of Public Resource Management

 

        กรอบแนวคิดการบริหารจัดการการใช้จ่ายภาครัฐ การจัดเก็บรายได้ การบริหารจัดการทรัพย์สินและหนี้สินภาครัฐภายใต้การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของโลก การปฏิรูปกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

รหัสวิชา 3543103

เศรษฐศาสตร์การคลังท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Local Public Economics

 

        ทฤษฎีการคลังระดับท้องถิ่น แหล่งรายได้ของท้องถิ่น ภาษีที่ท้องถิ่นจัดเก็บ รายได้จากค่าธรรมเนียมและค่าบริการ รูปแบบเงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลาง ผลกระทบของรูปแบบเงินอุดหนุนประเภทต่าง ๆ ประเภทการใช้จ่ายของท้องถิ่นและผลกระทบ บทบาทของรัฐบาลกลาง และของภาคเอกชนในระบบการคลังท้องถิ่น

รหัสวิชา 3543201

นโยบายเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(3-0-6)

 

Public Economic Policy

 

        การประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การคลังในการกำหนดบทบาทของภาครัฐและผลกระทบของนโยบายการคลัง การกำกับดูแลกลไกตลาด นโยบายภาษีอากร นโยบายรายจ่ายภาครัฐ นโยบายการก่อหนี้และการบริหารหนี้สาธารณะ นโยบายรัฐวิสาหกิจ

รหัสวิชา 3543202

เศรษฐศาสตร์การคลัง

3(3-0-6)

 

Financial Economics

 

        ศึกษาวิธีการจัดทำงบประมาณของรัฐบาลโดยเน้นปัญหาเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย การจัดสรรทรัพยากร การกระจายรายได้ และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การจัดทำงบประมาณประจำปี นโยบายการจัดหารายได้ การใช้จ่ายของรัฐบาล และนโยบายการบริหารหนี้สาธารณะ

รหัสวิชา 3543301

เศรษฐศาสตร์รัฐวิสาหกิจ

3(3-0-6)

 

Economics of Public Enterprises

 

        ศึกษาความหมายและรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ ประเภทของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย การกระจายรายได้ สินค้าสาธารณะ การกำหนดราคาสินค้าของรัฐวิสาหกิจ บทบาทของรัฐวิสาหกิจที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งการวิเคราะห์ผลกระทบจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

รหัสวิชา 3544201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(2-2-5)

 

Special Topics in Public Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3543101 ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ และ 3543102 หลักการจัดการทรัพยากรภาครัฐ)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การคลังในแนวลึก

รหัสวิชา 3544501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(2-2-5)

 

Readings in Public Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3543101 ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ และ 3543102 หลักการจัดการทรัพยากรภาครัฐ)

        การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์การคลังในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3544901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์การคลัง

3(2-2-5)

 

Seminar in Public Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3543101 ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ และ 3543102 หลักการจัดการทรัพยากรภาครัฐ)

        ประเด็นปัจจุบันทางด้านเศรษฐศาสตร์การคลัง ผลงานวิจัยใหม่ ๆ และกรณีศึกษาทางเศรษฐศาสตร์การคลัง

รหัสวิชา 3553101

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน

3(3-0-6)

 

Monetary Theory and Policy

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503102 เศรษฐศาสตร์การเงิน)

        วิวัฒนาการของทฤษฎีการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการถือเงิน ปริมาณเงินและกระบวนการส่งผ่านที่เชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินกับการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและจุดมุ่งหมายของนโยบายเศรษฐกิจมหภาค การประสานระหว่างนโยบายการเงินกับนโยบายการคลังเพื่อการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รหัสวิชา 3553102

เศรษฐศาสตร์การเงิน

3(3-0-6)

 

Economic of Monetary

 

        ศึกษาทฤษฎีการเงิน ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ปริมาณเงินในความหมายแคบและปริมาณเงินในความหมายกว้าง วิวัฒนาการของเงินและระบบการเงิน ลักษณะและบทบาทของตลาดเงินและตลาดทุน หลักการผันแปรทางการเงินและสาเหตุของการผันแปรทางเงิน ปัญหาและนโยบายเกี่ยวกับการดำเนินงานของสถาบันการเงินต่าง ๆ โดยศึกษากรณีการผันแปรทางการเงินในประเทศไทย

รหัสวิชา 3553301

เศรษฐศาสตร์การจัดการ

3(3-0-6)

 

Managerial Economics

 

        ศึกษาหลักและวิธีการตัดสินใจในเชิงธุรกิจภายใต้สภาวการณ์ต่าง ๆ วิธีการพยากรณ์ธุรกิจ การวิเคราะห์ความยืดหยุ่นอุปสงค์และอุปทาน การกำหนดราคาสินค้าและบริการในตลาด การกำหนดราคาในทางปฏิบัติ การว่างจ้างแรงงาน การวิเคราะห์ต้นทุนผลิตและผลตอบแทนจากการลงทุน การวางแผนงบประมาณและการวางแผนกำไร การวิเคราะห์ผลตอบแทนต่อธุรกิจที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวการณ์ต่าง ๆ โดยใช้วิธีกรณีศึกษา (Case Study)

รหัสวิชา 3553302

เศรษฐศาสตร์การผันแปรทางการเงิน

3(3-0-6)

 

Economics of Monetary Fluctuation

 

        ศึกษาลักษณะการผันแปรทางการเงิน สาเหตุของการผันแปรทางการเงิน ผลกระทบจากการผันแปรทางการเงินที่มีต่อประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร การกระจายรายได้ การพัฒนาเศรษฐกิจและนโยบายทางการเงิน การใช้กรณีศึกษาที่ทำให้เกิดเสถียรภาพทางการเงินในประเทศไทย

รหัสวิชา 3554201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเงิน

3(2-2-5)

 

Special Topics in Monetary Economics

 

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเงินในแนวลึก

รหัสวิชา 3554501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเงิน

3(2-2-5)

 

Readings in Monetary Economics

 

        การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์การเงินในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3554901

สัมมนาการเงินและการพัฒนา

3(2-2-5)

 

Seminar in Finance and Development

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3553101 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน และ 3503104 เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ)

        ประเด็นเกี่ยวกับบทบาทภาคการเงินในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะยาว โดยเน้นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเงิน การพัฒนาตลาดการเงิน และการปฏิรูปทางการเงินในประเทศกำลังพัฒนา

รหัสวิชา 3563101

สถิติเศรษฐศาสตร์ 3

3(3-0-6)

 

Economic Statistics 3

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502108 สถิติเศรษฐศาสตร์ 2)

        การคาดคะเนเชิงคณิตศาสตร์ โมเมนต์และฟังก์ชันที่ให้โมเมนต์ ฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่าง ๆ การทดสอบสมมติฐาน คุณสมบัติของตัวประมาณค่า การประมาณค่าเป็นจุด การประมาณค่าเป็นช่วง และการวิเคราะห์ความแปรปรวน

รหัสวิชา 3563201

เศรษฐมิติเพื่อการธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Econometrics for Business

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501107 เศรษฐคณิตศาสตร์ 1 และ 3503103 เศรษฐมิติ 1)

        การประยุกต์ใช้แบบจำลองเศรษฐมิติต่าง ๆ แบบจำลองที่เป็นสมการเดียว แบบจำลองสมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ แบบจำลองสมการถดถอยที่ไม่ใช่เส้นตรง แบบจำลองที่มีการกระจายความล่าช้า และแบบจำลองทางเลือกสองทาง แบบจำลองที่เป็นระบบสมการ แบบจำลองที่ศึกษาวิเคราะห์เสถียรภาพของข้อมูลก่อนที่จะนำมาหาความสัมพันธ์ การประยุกต์เทคนิคเศรษฐมิติกับปัญหามัลติโคลิเนียริตี้ ออโต้โครีเลชัน และเฮทเทอโรซีดาสทิซิตี้ และวิธีการแก้ไขปัญหา

รหัสวิชา 3563202

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Business Economics

 

        ศึกษาวิธีการประยุกต์ หลักและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้ในด้านธุรกิจได้แก่ การพยากรณ์ทางเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ เช่น อุปสงค์และอุปทานสำหรับตลาดต่าง ๆ การสำรวจตลาด การวางแผนการผลิต การวิเคราะห์ต้นทุน การกำหนดราคา การวิเคราะห์นโยบายให้สินเชื่อและการตัดสินใจในการลงทุน การศึกษากรณีต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ

รหัสวิชา 3563203

เศรษฐศาสตร์สารสนเทศ

3(2-2-5)

 

Economics of Information

 

        ศึกษาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางเศรษฐกิจและธุรกิจ ศึกษาระบบข้อสนเทศทางธุรกิจ การจัดการระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ประมวลผลด้วยรายการเปลี่ยนแปลงระบบสารสนเทศ การนำคอมพิวเตอร์มาใช้กับระบบข้อสนเทศ ใช้กรณีศึกษาระบบสารสนเทศทางด้านธุรกิจ

รหัสวิชา 3563301

แบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณ

3(3-0-6)

 

Computable General Equilibrium Model

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2และ 3503102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 2)

        ตารางปัจจัยการผลิต-ผลผลิตและแบบจำลองปัจจัยการผลิตและผลผลิต ทฤษฎีและแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณสำหรับระบบเศรษฐกิจแบบปิด เทคนิคของการแปลงรูปแบบจำลองให้อยู่ในรูปอัตราการเปลี่ยนแปลง ทฤษฎีของแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณสำหรับระบบเศรษฐกิจแบบเปิด เทคนิคของการแก้ปัญหาหลายขั้นตอน การปิดระบบ การกำหนดเงื่อนไขของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การสร้างข้อมูลและการใช้ยูทิลิตี้ของโปรแกรมสำเร็จรูป การฝึกทำซิมมูเลชันสำหรับแบบจำลองหลายชนิดและสำหรับการวิเคราะห์นโยบายต่าง ๆ กรณีศึกษาการใช้งานของแบบจำลองต่าง ๆ

รหัสวิชา 3563302

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

3(3-0-6)

 

Quantitative Analysis

 

        ศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจ และประโยชน์ของการใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ ได้แก่ ความน่าจะเป็นแผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ (Decision Trees) ตัวแบบเชิงสินค้าคงคลัง (Inventory Model) โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) เทคนิคการประเมินผลและการตรวจสอบโครงการ (PERT/CPM) ตัวแบบของมาร์กอฟ (Markov Model) ทฤษฎีเกม (Game Theory) แถวรอคอย (Queueing) และการจำลองเหตุการณ์ (Simulation)

รหัสวิชา 3563303

การวิเคราะห์ราคาผลิตผลทางการเกษตร

3(3-0-6)

 

Price Analysis of Agricultural Product

 

        ศึกษาอุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคา วิถีการตลาด ส่วนเหลื่อมการตลาด โครงสร้างการตลาดและการแข่งขัน การกระจุกตัว และการรวมตัวของธุรกิจการเกษตร นโยบายตลาดและราคา กรณีศึกษาของไทยและประเทศอื่นที่เกี่ยวข้อง

รหัสวิชา 3564101

เศรษฐมิติ 2

3(3-0-6)

 

Econometrics 2

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503103 เศรษฐมิติ 1)

        แบบจำลองระบบสมการไซมัลเทเนียส ปัญหาการกำหนดเอกลักษณ์ของสมการ วิธีการประมาณการสมการไซมัลเทเนียส ตัวแบบหลายสมการที่เป็นระบบ วิธีการประมาณการแบบเสมือนหนึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกัน การประมาณการแบบกำลังสองน้อยที่สุดแบบทั่วไป วิธีการประมาณการค่าพารามิเตอร์แบบไม่ใช่เส้นตรง ตัวแบบสมการตัวแปรตามเชิงคุณภาพแบบต่างๆ ตัวแบบสมการอนุกรมเวลาเบื้องต้น สเตชันนารีและนอนสเตชันนารีสโตคาสติก โคอินทีเกรชัน และตัวแบบการแก้ไขค่าความคลาดเคลื่อน

รหัสวิชา 3564201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Special Topics in Quantitative Business Analysis Economics

 

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจในแนวลึก

รหัสวิชา 3564501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Readings in Quantitative Business Analysis Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501107 เศรษฐคณิตศาสตร์ 1และ 3503103 เศรษฐมิติ 1)

        การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์ในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3564901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

3(2-2-5)

 

Seminar in Quantitative Business Analysis Economics

        การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเพื่อนำมาวิเคราะห์เชิงปริมาณและอภิปรายหาข้อสรุป

รหัสวิชา 3564902

การวิจัยดำเนินงาน

3(3-0-6)

 

Operations Research

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3501107 เศรษฐคณิตศาสตร์ 1)

        ศึกษาโปรแกรมเชิงเส้น ทฤษฎีเกม การวิเคราะห์ข่ายงาน ตัวแบบการรอคอย ตัวแบบมาร์คอฟ แบบจำลองการขนส่ง แบบจำลองการควบคุมสินค้าคงคลังโดยใช้คอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3573101

เศรษฐศาสตร์แรงงาน

3(3-0-6)

 

Labour Economics

 

        แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการทำงานของตลาดแรงงาน ทฤษฎีอุปสงค์อุปทานในตลาดแรงงาน การกำหนดค่าจ้าง การย้ายถิ่นของแรงงาน การว่างงาน บทบาทของสถาบันแรงงาน และนโยบายรัฐที่มีผลกระทบต่อตลาดแรงงาน

รหัสวิชา 3573102

เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์

3(3-0-6)

 

Economics of Human Resources

 

        แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ การลงทุนในทุนมนุษย์รูปแบบต่าง ๆ ทั้งในด้าน การศึกษา สุขภาพอนามัย การฝึกอบรม และการย้ายถิ่นของแรงงาน การวิเคราะห์ผลตอบแทนส่วนบุคคลและผลตอบแทนส่วนสังคมจากการลงทุนในทุนมนุษย์โดยเน้นการศึกษาและการฝึกอบรม การวางแผนกำลังคน การพัฒนากำลังคน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของไทย

รหัสวิชา 3573103

เศรษฐศาสตร์ประชากร

3(3-0-6)

 

Demographic Economics

 

        แนวคิดทางประชากรสำหรับการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ แหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาและวิเคราะห์ทางประชากร การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโดยครอบคลุมการเกิด การตาย การเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน การกระจายของประชากร ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางประชากรกับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางประชากร นโยบายประชากรในการพัฒนาเศรษฐกิจ

รหัสวิชา 3573104

เศรษฐศาสตร์แรงงานระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Labour Economics

 

        ศึกษาทฤษฎีแรงงานระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ กำลังแรงงานของประเทศที่พัฒนา และประเทศกำลังพัฒนา เปรียบเทียบสภาพการทำงาน สถาบันเกี่ยวกับแรงงาน กฎหมายแรงงานระหว่างประเทศ

รหัสวิชา 3573201

เศรษฐศาสตร์การก่อสร้าง

3(2-2-5)

 

Economics of Construction

 

        ระบบการก่อสร้างที่ก่อให้เกิดการประหยัด การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร และโครงสร้าง การปรับปรุงการซ่อมแซม การบำรุงรักษาอาคาร การใช้แรงงานที่ก่อให้เกิดการประหยัด การประหยัดพลังงานในอาคารสูง การวิเคราะห์ การลงทุนและปัญหาเศรษฐกิจการก่อสร้างในปัจจุบัน

รหัสวิชา 3574201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

3(2-2-5)

 

Special Topics in Labour and Human Resource Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3573101 เศรษฐศาสตร์แรงงาน)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ในแนวลึก

รหัสวิชา 3574501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

3(2-2-5)

 

Readings in Labour and Human Resource Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3573101 เศรษฐศาสตร์แรงงาน)

        การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3583101

เศรษฐศาสตร์การเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 และ 3502102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1)

        การพัฒนาเศรษฐกิจและบทบาทของภาคเกษตร ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการผลิต การกำหนดราคา ตลาดสินค้าการเกษตร การแข่งขัน ปัจจัยการผลิตในภาคเกษตร เศรษฐกิจการปลูกข้าวในหมู่บ้าน โครงสร้างพื้นฐานในภาคเกษตร วิธีต่าง ๆ ในระบบการผลิตขององค์กรการผลิตในภาคเกษตร เทคโนโลยีกับการพัฒนาการเกษตร การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรในระดับหมู่บ้าน การพัฒนาการเกษตรของประเทศไทยและของต่างประเทศ

รหัสวิชา 3583102

เศรษฐศาสตร์สหกรณ์

3(3-0-6)

 

Cooperative Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3502101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 และ 3502102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1)

        ประวัติและทฤษฎีการสหกรณ์ พัฒนาการของสหกรณ์ในประเทศไทย บทบาทรัฐในการสหกรณ์ การจัดตั้งและการจัดการสหกรณ์ การพัฒนาชนบทโดยวิธีการสหกรณ์ ประสบการณ์ด้านการพัฒนาชนบทโดยวิธีการสหกรณ์ในประเทศไทย เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ

รหัสวิชา 3583201

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจการเกษตร

(3-0-6)

 

Agri-Business Economics

 

        หลักและวิธีการวิเคราะห์ธุรกิจในฟาร์ม การวางแผนการใช้ทรัพยากรในฟาร์มอย่างมีประสิทธิภาพ การประยุกต์ทฤษฎีการผลิต เทคนิคในการผลิตเพื่อแก้ไขในการผลิตและการใช้ทรัพยากรทางการเกษตรภายใต้สภาวะแวดล้อมต่าง ๆ กัน

รหัสวิชา 3583202

เศรษฐศาสตร์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเกษตร

3(3-0-6)

 

Economic of Agriculture

 

        การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตร และชนบททั้งในและต่างประเทศ การวางนโยบายการเกษตรและการแก้ปัญหาธุรกิจและอุตสาหกรรมทางการเกษตร แผนการผลิตกำลังคนและการพัฒนาสิ่งแวดล้อม การพัฒนาระบบการผลิตธุรกิจ และอุตสาหกรรมเกษตร ความแตกต่างด้านรายได้และคุณภาพของชีวิตชาวชนบท

รหัสวิชา 3583203

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมการเกษตร

3(3-0-6)

 

Economics of Agri-Industry

 

        ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตร การลดต้นทุนการผลิตในระบบอุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายทางเศรษฐศาสตร์และความต้องการของอุตสาหกรรม

รหัสวิชา 3583301

เศรษฐศาสตร์ท้องถิ่น

3(3-0-6)

 

Regional Economics

 

        ศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นและชุมชน ทฤษฎีว่าด้วยทำเลที่ตั้งถิ่นฐาน วิเคราะห์การเคลื่อนย้ายระหว่างท้องถิ่น วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่น การวิเคราะห์ปัจจัยการผลิตและผลผลิตในท้องถิ่น มาตรการแก้ไขความไม่เท่าเทียมกันระหว่างท้องถิ่น โดยศึกษาเป็นรายกรณีแต่ละท้องถิ่น

รหัสวิชา 3584201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร

3(2-2-5)

 

Special Topics in Economics of Agriculture and Agri-business

 

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจการเกษตรในแนวลึก

รหัสวิชา 3584501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร

3(2-2-5)

 

Readings in Economics of Agriculture and Agri-business

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3583101 เศรษฐศาสตร์เกษตรและ 3583102 เศรษฐศาสตร์สหกรณ์)

        การศึกษาบทความต่างๆด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจการเกษตรในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3593201

เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ

3(3-0-6)

 

Economics of Natural Resource

 

        ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ คุณสมบัติด้านการตลาดของทรัพยากรธรรมชาติ คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ การประยุกต์ออปติไมเซชันกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบต่าง ๆ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันและอนาคต

รหัสวิชา 3593202

เทคนิคการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐศาสตร์

3(3-0-6)

 

Economic Evaluation Techniques for Environmental Impacts

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3593301 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

        วิธีการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีการประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ของสิ่งแวดล้อม วิธีการประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้ค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการประเมินโครงการ

รหัสวิชา 3593203

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

International Environmental Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3593201 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ และ 3593301 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

        ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบข้ามพรมแดน และการจัดการทรัพยากรที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติ การวิเคราะห์กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลเชิงสวัสดิการ การค้า การลงทุน การอนุรักษ์ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย

รหัสวิชา 3593204

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมสำหรับองค์กรธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Corporate Environmental Economics

 

        นโยบายและกฎหมายสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม การตลาดสินค้า “สีเขียว” กลุ่มนักธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในองค์กรธุรกิจ

รหัสวิชา 3593205

เศรษฐศาสตร์ที่ดิน

3(2-2-5)

 

Land Economics

 

        ทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนประกอบของที่ดินทางการเกษตร ลักษณะพิเศษของที่ดินในฐานะปัจจัยการผลิต อุปทานที่ดิน อุปสงค์ที่ดิน การใช้ที่ดิน การถือครองที่ดิน ผลของการถือครองที่ดินที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร ปัญหาการถือครองที่ดินในประเทศไทย

รหัสวิชา 3593206

เศรษฐศาสตร์การประมง

3(3-0-6)

 

Fishery Economics

 

        ลักษณะทั่วไปของการทำฟาร์มสัตว์น้ำ ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ การวางแผนการทำฟาร์มสัตว์น้ำ การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ สถิติและบัญชีฟาร์มสัตว์น้ำ การวัดผลได้และวิเคราะห์ธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ ปัจจัยที่มีผลกระทบต้นทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์น้ำหลักการคำนวณผลสถิติประชากรสัตว์น้ำ

รหัสวิชา 3593301

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Economics of Environment

 

        การกำหนดคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม การวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเชิงเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์นโยบายและมาตรการการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

รหัสวิชา 3593302

เศรษฐศาสตร์พลังงาน

3(3-0-6)

 

Economics of Energy

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503103 เศรษฐมิติ 1)

        ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับเศรษฐกิจ การทำบัญชีพลังงาน การวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทานของพลังงานชนิดต่าง ๆ โดยวิธีการด้านเศรษฐมิติ การวิเคราะห์นโยบายและมาตรการด้านการพลังงานของประเทศ

Special Topics in Economics of Natural Resource and Environment

รหัสวิชา 3594201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

   

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3593301 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแนวลึก

รหัสวิชา 3594501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

 

Readings in Economics of Natural Resource and Environment

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3593201 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ และ 3593301 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

        การศึกษาบทความต่างๆด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

Seminar in Development and Natural Resource and Environment

รหัสวิชา 3594901

สัมมนาการพัฒนากับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

   

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3593201 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและ 3593301 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

        ประเด็นปัจจุบันด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผลงานวิจัยใหม่ ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

รหัสวิชา 3603101

เศรษฐศาสตร์การจัดการอุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Industrial Management Economics

 

        ศึกษาถึงประเภทและลักษณะของอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์ของการทำธุรกิจทางอุตสาหกรรม การสำรวจตลาด การเคลื่อนไหวของราคาและภาวการณ์ตลาดทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการลงทุนและการส่งเสริมการขยายตลาด พร้อมทั้งการวิเคราะห์ถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมทั้งแนวทางแก้ไข

รหัสวิชา 3603102

เศรษฐศาสตร์การจัดการด้านการผลิตและการตลาด

3(3-0-6)

 

Economics of Production and Marketing Management

 

        ความสัมพันธ์ของการจัดการด้านการผลิตและการตลาด ทฤษฎีการผลิตและปฏิบัติการด้านการจัดการในการวางแผน การดำเนินงาน และการควบคุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต กลยุทธ์การตลาด การบริหารผลิตภัณฑ์ ราคา และช่องทางการจำหน่าย การจัดองค์กรและการควบคุมทางการตลาด

รหัสวิชา 3603103

เศรษฐศาสตร์การขนส่ง

3(3-0-6)

 

Economics of Transportation

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2)

        ลักษณะทางเศรษฐศาสตร์ของการขนส่ง อุปสงค์และอุปทานของบริการขนส่ง ต้นทุนและผลกระทบภายนอกของการขนส่ง กลไกราคากับการควบคุมผลกระทบภายนอก การลงทุนด้านการขนส่ง หลักการวางแผนด้านการขนส่ง การขนส่งกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และนโยบายการขนส่งของรัฐ

รหัสวิชา 3603104

เศรษฐศาสตร์การผลิต

3(3-0-6)

 

Production Economics

 

        ศึกษาแนวคิด หลักการและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต และการจัดการการผลิตที่เกิดประสิทธิภาพ ชนิดของฟังก์ชั่นการผลิต การพยากรณ์การผลิต การวิเคราะห์วางต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิต การใช้วิธีลิเนียโปรแกรมมิ่งในการวางแผนและออกแบบการผลิต การควบคุมต้นทุนการผลิต โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study)

รหัสวิชา 3603105

เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม

3(3-0-6)

 

Industrial Economics

 

        ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างเศรษฐกิจไทย และโครงสร้างของภาคอุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม กับการพัฒนาเศรษฐกิจการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุน การผลิต และการเลือกทำเลที่ตั้งของอุตสาหกรรม วิธีหาแหล่งเงินทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมและนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม

รหัสวิชา 3603201

เศรษฐศาสตร์การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

 

Economics of International Business Management

 

        ความสำคัญของธุรกิจระหว่างประเทศ สภาพแวดล้อมของการค้าและการลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ ระบบการเงินโลก กลยุทธ์และโครงสร้างของบรรษัทข้ามชาติ ตลอดจนกิจกรรมของบรรษัทข้ามชาติในด้าน การผลิต การตลาด การบัญชี การเงิน และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

รหัสวิชา 3604201

หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

3(2-2-5)

 

Special Topics in Business and Industrial Managerial Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3603101 เศรษฐศาสตร์การจัดการอุตสาหกรรมและ 3603102 เศรษฐศาสตร์การจัดการด้านการผลิตและการตลาด)

        การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม ในแนวลึก

รหัสวิชา 3604501

การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

3(2-2-5)

 

Readings in Business and Industrial Managerial Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3603101 เศรษฐศาสตร์การจัดการอุตสาหกรรม และ 3603102 เศรษฐศาสตร์การจัดการด้านการผลิตและการตลาด)

        การศึกษาบทความต่างๆด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรมในแหล่งข้อมูลต่างๆรวมถึงทางคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา 3604901

สัมมนาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

3(2-2-5)

 

Seminar in Business and Industrial Managerial Economics

 

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3603101 เศรษฐศาสตร์การจัดการอุตสาหกรรม และ 3603102 เศรษฐศาสตร์การจัดการด้านการผลิตและการตลาด)

        ประเด็นปัจจุบันในด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ ผลงานวิจัยใหม่ ๆ และกรณีศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ

 

        5. คำอธิบายรายวิชาวิชาประสบการณ์วิชาชีพ

รหัสวิชา 3504801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเศรษฐศาสตร์

5(450)

 

Field Experience in Economics

 

        จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านธุรกิจในหน่วยงานของรัฐหรือธุรกิจเอกชน ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา โดยนำความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในสถานการณ์จริง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และจัดให้มีการปฐมนิเทศเกี่ยวกับรายละเอียดของการฝึกประสบการณ์ และจัดให้มีการปัจฉิมนิเทศเพื่ออภิปรายปัญหา การฝึกประสบการณ์ที่เกิดขึ้น และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

18. การประกันคุณภาพหลักสูตร

        หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวการณ์มีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ระเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (ImpactEvaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. การประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

********************

ภาคผนวก

1. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต พุทธศักราช 2549

        ตาราง แสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรใหม่

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

บริหารธุรกิจบัณฑิต
โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์

เศรษฐศาสตรบัณฑิต

จัดเป็น 10 แขนงวิชา (หรือวิชาเอก)

2

ชื่อปริญญา

บริหารธุรกิจบัณฑิต
โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์

เศรษฐศาสตรบัณฑิต

เปลี่ยนชื่อปริญญาใหม่

3

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

4 ข้อ

4 ข้อ

คงเดิม

5

หลักสูตร

 

เรียนคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 5 นก.
เรียนภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 12 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 นก.
และหมวดวิชาเฉพาะ 6 นก.

 

    5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 144 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 129หน่วยกิต

 
 

    5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     
 

        (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 
 

        (2) หมวดวิชาเฉพาะ

101 หน่วยกิต

92 หน่วยกิต

 
 

            2.1 วิชาแกน

 

30 หน่วยกิต

 
 

            2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

64 หน่วยกิต

42 หน่วยกิต

 
 

            2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

15 หน่วยกิต

15 หน่วยกิต

 
 

            2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

 
 

            2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

12 หน่วยกิต

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

 

        (3) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 
 

    5.3 ระบบหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ยึดระบบ ISCED แต่ปรับเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 
 

    5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมมี 72 รายวิชา

ปรับปรุงคำอธิบายใหม่ 27 รายวิชา

ตัดออก – รายวิชา
เพิ่มใหม่ 63 รายวิชา

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ไม่มี

5 คน

 

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

        1. รองศาสตราจารย์วันทนีย์ ภูมิภัทราคม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ รองศาสตราจารย์ระดับ 9

        2. นายศักดิ์ชาย นาคนก มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ อาจารย์ 2 ระดับ 7

        3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิยม ชื่นนิรันด์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับ 8

        4. นางสาวกฤดาพรรณ ปานทองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ อาจารย์ 2 ระดับ 7

        5. ดร.ธีรวัตร มิ่งขวัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลย์สงคราม อาจารย์ 2 ระดับ 7

        6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิพันธ์ ประทุมศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลย์สงคราม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับ 8

        7. นางสาววิจิตรา ทุนอินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลย์สงคราม อาจารย์ 2 ระดับ 7

        8. นางสาวอรกร เก็จพิรุฬห์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลย์สงคราม อาจารย์

        9. นายสิขรินทร์ คงสง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลย์สงคราม อาจารย์

        10. นายเฉลิมเกียรติ ปรัชญาพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ อาจารย์ 2 ระดับ 7

        11. นางนาตยา แพ่งศรีสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ อาจารย์ 2 ระดับ 7

        12. นายวราวุธ ยิวคิม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ อาจารย์ 2 ระดับ 7

        13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชราภา สิงห์ธนสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับ 7

3. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต

        1. มหาวิทยาลัยฯ จัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์ แกรนด์รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 28 – 30 ตุลาคม 2545 ทำให้ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตรวิชาแกน วิชาบังคับ และวิชาเลือกบางส่วน

        3. สำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2546

        4. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฯ ณ ภาควิชาฯ เมื่อวันที่ 27 – 30 มิถุนายน 2548

        5. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป (ตามประกาศมหาวิทยาลัย) และกลุ่มวิทยาการจัดการ เมื่อวันที่..............................

        6. ประเมินหลักสูตรโดยการจัดวิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ณ ห้องประชุม 812 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 17 – 18 ตุลาคม 2548

        7. ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ เมื่อวันที่ 25 – 26 ตุลาคม 2548

        8. นำเสนอหลักสูตรต่อคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรประจำคณะวิทยาการจัดการเพื่อพิจารณา เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2548

        9. นำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2548

        10. นำเสนอหลักสูตรต่อคณะอนุกรรมการวิชาการ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2548

        11. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของสภาวิชาการและอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ

        12. นำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2548 สภามหาวิทยาลัย โดยมีมติอนุมัติหลักสูตรนี้

 

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐคณิตศาสตร์ 1 / ภาษาอังกฤษ Mathematics for Economics 1

รหัสวิชาใหม่ 3501107 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3591107  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์กับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้เซตสมการ และอสมการ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชันและกราฟ ฟังก์ชันรูปแบบต่าง ๆ การคิดดอกเบี้ย ค่าปัจจุบัน ค่าอนาคต รวมทั้งค่ารายปี ลิมิตและความต่อเนื่อง ลำดับและอนุกรม อนุพันธ์กรณีตัวแปรเดียว การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชันที่มีตัวแปรหนึ่งตัว ระบบสมการ เมทริกซ์อัลจีบรา

    การใช้กฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์เพื่อนำไปประยุกต์ในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ เช่น เซต การจัดลำดับ ระบบจำนวนและอนุกรม อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ การคิดค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ยและส่วนลด สมการและกราฟ พีชคณิตเชิงเส้นลอการิทึม แคลคูลัสของฟังก์ชัน การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน เมตริกซ์ ดีเทอร์มินันต์ สมการเชิงเส้น และการประยุกต์ในทางเศรษฐกิจและธุรกิจ

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐคณิตศาสตร์ 2 / ภาษาอังกฤษ Mathematics for Economics 2

รหัสวิชาใหม่ 3502107 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592107  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3501107)

    การประยุกต์เครื่องมือทางคณิตศาสตร์กับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้ อนุพันธ์ การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชันที่มีหลายตัวแปร การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดแบบมีข้อจำกัด การอินทิเกรตฟังก์ชัน อินทิกรัลที่มีค่าจำกัดและไม่จำกัด อินทิกรัลหลายชั้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมการอนุพันธ์ และสมการผลต่าง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3591108 สถิติเศรษฐศาสตร์)

    ศึกษาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้วิชาเศรษฐศาสตร์ เช่น สมการเชิงเส้น เรขาคณิตวิเคราะห์ อนุพันธ์ของฟังก์ชันหนึ่งตัวและหลายตัว การหาค่า ต่ำสุดและค่าสูงสุด และการประยุกต์กฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ใช้กับทฤษฎี อุปสงค์และอุปทาน ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภคและทฤษฎีการผลิต การอินทิเกรต รวมทั้งกฎเกี่ยวกับการดิฟเฟอเรนเชียล และการประยุกต์ในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย คอมพิวเตอร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์ / ภาษาอังกฤษ Computer for Economists

รหัสวิชาใหม่ 4311703 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (ดอสและวินโดวส์) การใช้ชุดคำสั่งประมวลผลเพื่อสร้างเอกสาร ตารางข้อมูล การนำเสนอผลงานด้วยคอมพิวเตอร์กราฟฟิก ฟังก์ชันทางเศรษฐศาสตร์ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต สืบค้นข้อมูลเพื่อการศึกษาและวิจัย  คำสั่งภาษา html การออกแบบเว็บเพจ และการนำเสนอผลงานทางอินเตอร์เน็ต

 

    เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ของนักเศรษฐศาสตร์

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมศาสตร์  / ภาษาอังกฤษ English for Social Science

รหัสวิชาใหม่ 2311702  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา พัฒนาชุมชน สารสนเทศ เป็นต้น เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

 

    เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษสำหรับเศรษฐศาสตร์ / ภาษาอังกฤษ English for Economics

รหัสวิชาใหม่ 2311703 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับหัวข้อทางเศรษฐศาสตร์จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

 

    เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

ชื่อวิชาภาษาไทย สถิติเศรษฐศาสตร์ 1 / ภาษาอังกฤษ Economic Statistics 1

รหัสวิชาใหม่ 3501108 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3591108  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การประยุกต์ความรู้ทางสถิติกับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้ ตัวแปรสุ่ม ความน่าจะเป็น การแจกแจงความ
น่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง การแจกแจงปกติ การแจกแจงตัวอย่าง ทฤษฎีการประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การแจกแจงไควสแควร์ การทดสอบวิธีนอนพาราเมตริก

    ศึกษาความหมายของสถิติ ทฤษฎีความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย การสุ่มตัวอย่าง หลักการประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการวิเคราะห์เส้นถดถอยอย่างง่าย

    เพื่อให้สามารถนำหลักสถิติไปใช้ตรงกับความต้องการทางเศรษฐศาสตร์มากขึ้น

ชื่อวิชาภาษาไทย สถิติเศรษฐศาสตร์ 2 / ภาษาอังกฤษ Economic Statistics 2

รหัสวิชาใหม่ 3502108 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592108  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3501108)

    หลักการและการประยุกต์สถิติกับวิชาทางเศรษฐศาสตร์ในหัวข้อต่อไปนี้ การวิเคราะห์การถดถอยแบบง่าย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ การพยากรณ์ การวิเคราะห์ความเหมาะสมของโมเดล การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์อนุกรมเวลาเลขดัชนีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบง่ายและแบบพหุคูณ

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3591108 สถิติเศรษฐศาสตร์)

    ศึกษาทฤษฎีทางสถิติที่สามารถนำมาประยุกต์ในวิชาเศรษฐศาสตร์ เช่น ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การทดสอบค่าเฉลี่ยและสัดส่วน การทดสอบไค-สแควส์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม การวิเคราะห์ถดถอยและสห สัมพันธ์ พหุคูณ การหาช่วงความเชื่อมั่น และการพยากรณ์ แบบจำลองสมการถดถอยที่ไม่เป็นเส้นตรง อนุกรมเวลาและเลขดัชนี

     เพื่อให้สามารถนำหลักสถิติไปใช้ตรงกับความต้องการทางเศรษฐศาสตร์มากขึ้น

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐมิติ 1 / ภาษาอังกฤษ Econometrics 1

รหัสวิชาใหม่ 3503103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592103  / คำอธิบายรายวิชาเดิม เศรษฐมิติเบื้องต้น

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502108)

    ปัญหาในการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุเมื่อภาวะจริงไม่เป็นไปตามสมมติฐาน เทคนิคเบื้องต้นทางเศรษฐมิติที่สำคัญและใช้กันแพร่หลาย การใช้ตัวแปรดัมมี่ การประมาณความสัมพันธ์ที่มีการทิ้งช่วงเวลา และการใช้สมการตัวแบบแบบจำลองระบบสมการไซมัลเทเนียส

    ศึกษาความหมาย แนวคิด และเทคนิค การใช้เศรษฐมิติในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวแบบสมการถดถอยอย่างง่าย (simple regression) ตัวแบบถดถอยเชิงซ้อน (multiple regression) เทคนิคการคำนวณทางเศรษฐมิติโดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (ordinary least square) Best Linear Unbiased Estimation Maximum Likelihood Estimation และ Simultanaous Equaition System การเปรียบเทียบระหว่างเทคนิคการประมาณค่าแบบต่าง ๆ รวมทั้งปัญหาที่เกิดขึ้นด้วย

    เพื่อให้ตรงกับความต้องการ และนำไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1  / ภาษาอังกฤษ Microeconomics 1

รหัสวิชาใหม่ 3502101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้ผลิต และเจ้าของปัจจัยการผลิต ทฤษฎีการบริโภค ทฤษฎีการผลิต ทฤษฎีต้นทุนการผลิต ทฤษฎีราคาปัจจัยการผลิต การวิเคราะห์เปรียบเทียบการกำหนดราคาและปริมาณการผลิตสินค้าของผู้ผลิตในตลาดลักษณะต่าง ๆ การวิเคราะห์การกำหนดราคาและปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตของผู้ผลิตในสถานการณ์ของตลาดสินค้าและตลาดปัจจัยการผลิตที่แตกต่างกัน

    ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยการผลิต พฤติกรรมของผู้บริโภค พฤติกรรมของผู้ผลิต อุปสงค์ อุปทาน การกำหนดราคาในตลาดประเภทต่าง ๆ ของการจัดสรรค่าตอบแทนให้แก่ปัจจัยการผลิตในรูปค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ยและกำไร บทบาทของรัฐในทางเศรษฐกิจโดยทั่วไป

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 / ภาษาอังกฤษ Macroeconomics 1

รหัสวิชาใหม่ 3502102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592102  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การวิเคราะห์บัญชีรายได้ประชาชาติ อุปสงค์รวม อุปทานรวม ตลาดแรงงาน ตลาดการเงิน ตลาดทุน การวิเคราะห์ถึงระบบเศรษฐกิจแบบเปิดซึ่งครอบคลุมบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ และตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ การคลังและนโยบายการคลัง ปัญหาเศรษฐกิจมหภาค

    ศึกษาพฤติกรรมของปัจจัยทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติ เช่น พฤติกรรมส่วนรวมของการบริโภค การออก การลงทุน บทบาทของรัฐบาล การว่าจ้างทำงาน ระดับเงินเฟ้อ เงินฝืด การคลัง นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ และการพัฒนาเศรษฐกิจ

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 / ภาษาอังกฤษ Microeconomics 2

รหัสวิชาใหม่ 3503101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502101)

    การวิเคราะห์ดุลยภาพทั่วไป เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ ความล้มเหลวของระบบตลาดผลภายนอก สินค้าสาธารณะ การวิเคราะห์การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตสินค้าสาธารณะการวิเคราะห์ตลาดกรณีที่มีเรื่องการรับรู้ข้อมูลเข้ามาเกี่ยวข้อง ทฤษฎีการบริโภคภายใต้ความเสี่ยง ทฤษฎีการบริโภคระหว่างช่วงเวลา ทฤษฎีเกม

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1)

    ศึกษาโดยละเอียดในพฤติกรรมผู้บริโภค วิเคราะห์แบบนับหน่วย (Cardinal Approach) และวิเคราะห์แบบเรียงลำดับ (Ordinal Approach) หลักอุปสงค์ และอุปทานทฤษฎีการผลิต การผสมปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด ทฤษฎีต้นทุน ลักษณะของโครงสร้างของตลาดประเภทต่าง ๆ การตั้งราคาและเงื่อนไขในตลาดต่าง ๆ และการวิภาคกรรม

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์มหภาค 2 / ภาษาอังกฤษ Macroeconomics 2

รหัสวิชาใหม่ 3503102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593102  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502102)

    การวิเคราะห์แนวคิดหลัก ทางด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐศาสตร์มหภาคในลักษณะพลวัต โดยเน้นทฤษฎีเกี่ยวกับความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจแบบเปิดเชิงลึก การประยุกต์ทฤษฎีกับเหตุการณ์ปัจจุบัน

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1)

    ศึกษาโดยละเอียดถึงวิธีการคำนวณรายได้ประชาชาติ ด้านรายได้ รายจ่าย และผลผลิต ส่วนประกอบของอุปสงค์รวม ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ โดยแยกศึกษาด้านผลผลิตเงินตราและการจ้างงาน เปรียบเทียบแนวทางการวิเคราะห์ เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์และเศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิค ความเจริญทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ประวัติแนวคิดเศรษฐศาสตร์ / ภาษาอังกฤษ History of Economic Thought

รหัสวิชาใหม่ 3501106 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    วิวัฒนาการของแนวคิดและปรัชญาของนักเศรษฐศาสตร์สำนักต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน วิวัฒนาการของแนวคิดและปรัชญาของนักเศรษฐศาสตร์ไทย

 

    เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบวิวัฒนาการของแนวคิดก่อนที่จะศึกษาแนวคิดของสำนักต่าง ๆ

ชื่อวิชาภาษาไทย การวิเคราะห์เศรษฐกิจไทย / ภาษาอังกฤษ Analysis Thai Economics

รหัสวิชาใหม่ 3503305 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593305  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

     ภาพกว้างเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจไทย องค์ประกอบของเศรษฐกิจไทย การทำงานของระบบเศรษฐกิจไทย และปัญหาเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวัน

    ศึกษาความหมายของการวิเคราะห์เศรษฐกิจ ความสำคัญของการวิเคราะห์เศรษฐกิจวิธีการวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในสาขาต่าง ๆ และการเลือกปัญหาเพื่อทำการวิเคราะห์รวมทั้งการฝึกหัดทำการวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจต่าง ๆ พร้อมทั้งการทำรายงานจากการวิเคราะห์เศรษฐกิจไทย

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Economic Development

รหัสวิชาใหม่ 3502103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ลักษณะพื้นฐาน โครงสร้าง และปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา การพัฒนาเกษตรกรรมและการพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ประชากร การศึกษา และสุขภาพอนามัย การออม การลงทุน การค้า การลงทุน และหนี้ต่างประเทศ ปัญหาและทางเลือกของการพัฒนาเศรษฐกิจ

 

    เพื่อให้ทราบหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจกว้าง ๆ ก่อนที่จะศึกษาในแนวลึกแต่ละเรื่องต่อไป

ชื่อวิชาภาษาไทย วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์  / ภาษาอังกฤษ Research Methodology in Economics

รหัสวิชาใหม่ 3504901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3594901  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502101 และ 3502102)

    ศึกษาถึงระเบียบวิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ในแง่ทฤษฎีและปฏิบัติ โดยอาศัยหลักวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รวมทั้งรูปแบบการเสนอโครงการวิจัย การประมวลปัญหา การตั้งและการทดสอบขั้นสมมติฐาน การใช้เศรษฐมิติและแบบจำลองชนิดต่าง ๆ ในการวิจัยลักษณะปัญหาและแนวทางวิจัยทางเศรษฐกิจตลอดจนการเสนอตัวอย่างของการดำเนินการวิจัย

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 4112107 สถิติเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ)

    ศึกษาถึงระบบวิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ในแง่ทฤษฎีและปฏิบัติ โดยอาศัยหลักวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รวมทั้งรูปแบบการเสนอโครงการวิจัย การประมวลปัญหา การตั้งและการทดสอบขั้นสมมติฐาน การใช้เศรษฐมิติ และแบบจำลองชนิดต่าง ๆ ในการวิจัยลักษณะปัญหาและแนวทางวิจัยทางเศรษฐกิจตลอดจนการเสนอตัวอย่างของการดำเนินการวิจัย

    เพื่อให้ตรงกับความต้องการ และนำไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 / ภาษาอังกฤษ Microeconomics 3

รหัสวิชาใหม่ 3514101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503101)

    ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคโดยใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์เน้นแคลคูลัสในหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ เซตการผลิต และปัญหาการหากำไรสูงสุดและปัญหาการหาค่าใช้จ่ายการผลิตต่ำสุด ความสัมพันธ์ของความพอใจ ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ และปัญหาการหาอรรถประโยชน์สูงสุดและปัญหาการหาค่าใช้จ่ายต่ำสุด ดุลยภาพการแข่งขัน ความเหมาะสมแบบพาเรโต ทฤษฎีพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ การผูกขาดรายเดียว และการผูกขาดบางส่วนหลายราย ทฤษฎีอรรถประโยชน์คาดหวัง สินค้าตามสถานการณ์ ดุลยภาพแอร์โรว์ดีบรู

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์มหภาค 3 / ภาษาอังกฤษ Macroeconomics 3

รหัสวิชาใหม่ 3514102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503102)

    ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคโดยใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ในหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ แบบจำลองการเติบโตของโซโรว์ แบบจำลองเหลื่อมรุ่น ทฤษฎีการเติบโตแบบใหม่ (การวิจัยและพัฒนาและทุนมนุษย์) ทฤษฎีวัฎจักรธุรกิจภาคการผลิต ทฤษฎีการแกว่งตัวแบบเคนส์เซียน การปรับตัวของราคาอย่างไม่สมบูรณ์บนพื้นฐานจุลเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีการลงทุน ราคาเฟ้อ นโยบายการเงิน การว่างงาน

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การเมือง /ภาษาอังกฤษ Political Economics

รหัสวิชาใหม่ 3513101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593209  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองของมาร์กซ์และมาร์กซิสต์ กฎเกณฑ์การเคลื่อนไหวของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม เกี่ยวกับหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ ทฤษฎีมูลค่าแรงงาน ทฤษฎีการขูดรีด (ทฤษฎีกำไร) ทฤษฎีวิกฤต และผังการผลิตซ้ำแบบง่ายและแบบขยายของมาร์กซ์ พัฒนา การของเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์ ทฤษฎีมาร์กซิสต์กระแสหลักของเคาต์สกี้ ลุกแซมเบอร์ก และฮิลเฟอร์ดิ้ง เศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซิสต์ปัจจุบัน

    ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจกับปัจจัยทางการเมืองรวมทั้งปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อเศรษฐกิจ โครงสร้างอำนวยทางการเมือง และจริยธรรมของสังคมที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ การมีเสถียรภาพทางการเมืองหรือไร้เสถียรภาพ มีผลต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม โดยใช้กรณีศึกษา

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย พลวัตศาสตร์เศรษฐกิจ / ภาษาอังกฤษ Economic Dynamics

รหัสวิชาใหม่ 3514301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503101 และ 3503102)

    การวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจแบบพลวัตโดยอาศัยโมเดลเศรษฐกิจที่ใช้สมการอนุพันธ์อันดับหนึ่งและอันดับสูงกว่า สมการผลต่างอันดับหนึ่งและอันดับสูงกว่า สมการอนุพันธ์และสมการผลต่างที่เป็นแบบซิมมูแทนเนียส โมเดลอินพุตเอาพุตแบบพลวัต การวิเคราะห์เฟสไดอะแกรมแบบ 2 ตัวแปร การหาจุดสูงสุดแบบพลวัตโดยใช้แคลคูลัสแวริเอชัน ทฤษฎีการควบคุม และไดนามิกโปรแกรมมิ่ง

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย ทฤษฎีเกม / ภาษาอังกฤษ Game Theory

รหัสวิชาใหม่ 3513102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ทฤษฎีเกมเชิงสถิตและเชิงพลวัต ทฤษฎีเกมแบบมีสารสนเทศสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ แบบปกติและแบบขยาย กลยุทธ์ แนวคิดดุลยภาพ โดยเฉพาะอิทีเรเตท (iterated) โดมิแนน (dominance) ซับเกม เพอเฟค (subgame perfect) เบเซียน (Bayesian) และแบบซีเควนเชียล (seguential)

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย การวิพากษ์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ / ภาษาอังกฤษ Critique of Economic Theory

รหัสวิชาใหม่ 3514502 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  /คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503101, 3503102 และ 3514101)

    วิธีคิดและมูลเหตุจูงใจของนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนอกกระแสหลักในการวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับ จุดอ่อนของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ขีดจำกัดของเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ปัจจัยสังคมและวัฒนธรรม ความเป็นไปได้ของความคิดนอกกระแสหลักที่วิพากษ์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Theoretical Economics

รหัสวิชาใหม่ 3514201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3514101 และ 3514102)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีในแนวลึก

 

เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี / ภาษาอังกฤษ Readings in Theoretical Economics

รหัสวิชาใหม่ 3514501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3514101 และ 3514102)

การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐคณิตศาสตร์ 3 / ภาษาอังกฤษ Mathematics for Economics 3

รหัสวิชาใหม่ 3503107 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502107)

    การประยุกต์เครื่องมือคณิตศาสตร์แบบเรียลอานาไลซิสและโทโพโลจี้กับการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์เชิงเส้นตรงและไม่ใช่เส้นตรง ทั้งแบบสถิตและพลวัต การประยุกต์ใช้กับทฤษฎีอินพุตเอาพุต ทฤษฎีฮอกิ้นส์-ซิมอน ทฤษฎีเพอรอน-โฟรบีเนียส การวิเคราะห์จุดเหมาะสม และทฤษฎีการจำเริญเติบโตโดยใช้คอนเวคเซต ดูอัลเทียวเร่ม การแก้ปัญหาแซดเดิ้ลพ้อย ทฤษฎีฟิกพ้อยที่ใช้ในทฤษฎีดุลยภาพทั่วไป

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี และสาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การพัฒนาและนโยบาย / ภาษาอังกฤษ Economic Development Theories and Policies

รหัสวิชาใหม่ 3523101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502113)

    พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีที่อธิบายสาเหตุของความล้าหลังทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีพัฒนาการของสำนักสำคัญ ทั้งกลุ่มทฤษฎีกระแสหลัก และกลุ่มทฤษฎีโครงสร้าง แบบจำลองว่าด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยใหม่ ประเด็นความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ การพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาภาคเกษตร การจ้างงานและค่าจ้าง การลงทุนจากต่างประเทศ การพัฒนาเทคโนโลยี บทบาทของรัฐบาลทางเลือกการพัฒนา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการทางเศรษฐกิจกับสังคม การเมือง และวัฒนธรรม

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย โลกาภิวัตน์และการพัฒนาเศรษฐกิจโลก  / ภาษาอังกฤษ Globalisation and World Economic Development

รหัสวิชาใหม่ 3523201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502113)

    การวิเคราะห์พัฒนาการของเศรษฐกิจโลกในมิติทางประวัติศาสตร์กระแสกระบวนการโลกาภิวัตน์ในมิติต่าง ๆ ทฤษฎีและแนวคิดที่อธิบายปรากฏการณ์ของโลกาภิวัตน์ ผลกระทบของปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบต่อเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค / ภาษาอังกฤษ Urban and Regional Economics

รหัสวิชาใหม่ 3523102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    วิเคราะห์เศรษฐกิจเมืองและภูมิภาค ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค ที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ดุลยภาพเชิงพื้นที่ เศรษฐศาสตร์ภูมิภาคเชิงพลวัต โครงสร้างแห่งดุลยภาพของชุมชนเมือง ความจำเริญของเมืองและการวางแผนระดับเมือง ประเด็นปัญหาของชุมชนเมือง แบบจำลองและวิธีการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ภูมิภาค พัฒนาการระดับภูมิภาคและนโยบาย รวมทั้งการวางแผนในระดับภูมิภาค

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา / ภาษาอังกฤษ Seminar in Economic Development

รหัสวิชาใหม่ 3524901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3523102)

    ประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันและอนาคต โดยเฉพาะประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย การประยุกต์ความรู้ด้านพัฒนาการเศรษฐกิจกับสถานการณ์จริง

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์ความเหลื่อมล้ำและความยากจน / ภาษาอังกฤษ Economics of Inequality and Poverty

รหัสวิชาใหม่ 3523103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    ระบบเศรษฐกิจในบริบทความไม่เสมอภาคหรือความเหลื่อมล้ำระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม การพัฒนาของทฤษฎีต่าง ๆ ด้านความไม่เสมอภาค มิติต่าง ๆ ของความไม่เสมอภาค ทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน การสร้างดัชนีวัดความรุนแรงของความไม่เสมอภาคและความยากจน แนวคิดเบื้องหลังการสร้างดัชนี บทความและงานวิจัยเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคและความยากจนโดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา การวิเคราะห์นโยบายที่มีผลกระทบต่อการกระจายรายได้

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐกิจเฉพาะประเทศ  / ภาษาอังกฤษ Economics of Selected Coutries

รหัสวิชาใหม่ 3523202 คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    การวิเคราะห์เชิงลึกด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และประเทศเพื่อนบ้านที่มีกลยุทธ์หรือแนวทางการวางนโยบายเศรษฐกิจที่แตกต่าง หรือประเทศที่มีความน่าสนใจในประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจ เน้นการประยุกต์ทฤษฎีพัฒนาเศรษฐกิจกับประสบการณ์การพัฒนา การวิเคราะห์ปัญหาและการแก้ไขปัญหา โครงสร้างระบบเศรษฐกิจ บทบาทรัฐ และบทบาทของภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย  / ภาษาอังกฤษ Economic History of Thailand

รหัสวิชาใหม่ 3502106 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    แนวทางต่าง ๆ ในการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะแนวทางของสำนักเศรษฐศาสตร์การเมือง เศรษฐกิจศักดินาต้นแบบ และวัฒนธรรมของชนเผ่าไท เศรษฐกิจหมู่บ้านและการส่งส่วยในสังคมศักดินา การขยายตัวของการค้ากับต่างประเทศในระบบศักดินาผสมทุนนิยม ช่วงสมัยวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ การยกเลิกพันธนาการศักดินาบางส่วน และการแสวงหาระบบเศรษฐกิจใหม่ เศรษฐกิจระหว่างสงคราม ช่วงสมัยทุนนิยมข้าราชการ การขยายตัวของระบบทุนนิยมและการขยายการเชื่อมโยงของเศรษฐกิจในประเทศกับเศรษฐกิจโลก ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับต่าง ๆ กระแสวิจารณ์การพัฒนาประเทศไทยแนวทุนนิยม ข้อเสนอเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและปฏิรูประบบเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะข้อเสนอเศรษฐกิจพอเพียงหรือเศรษฐกิจชุมชน

 

    เป็นวิชาที่ผู้เรียนเศรษฐศาสตร์ทุกสาขาควรเรียน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความต่างเพศ  / ภาษาอังกฤษ Economics of Gender

รหัสวิชาใหม่ 3503106 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    ศึกษาความแตกต่างระหว่างเพศทางกายภาพและเพศทางสังคม ทฤษฎีหลักต่าง ๆ ที่อธิบายการแบ่งงานกันทำระหว่างเพศบทบาทสตรีเปรียบเทียบกับบุรุษในกระบวนการ พัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาการเศรษฐกิจโลก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา และสาขาเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกลังคน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์นวัตกรรม  / ภาษาอังกฤษ Economics of Innovation

รหัสวิชาใหม่ 3523106 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    นวัตกรรมในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักต่าง ๆ แบบจำลองสำหรับการวิเคราะห์นวัตกรรม การวิเคราะห์โครงการที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม การวิเคราะห์การจัดการนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การพัฒนา  / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Economic Development

รหัสวิชาใหม่ 3524201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์พัฒนาการในแนวลึก

 

เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การพัฒนา  / ภาษาอังกฤษ Readings in Economic Development

รหัสวิชาใหม่ 3524501  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์พัฒนาการพัฒนาในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา

ชื่อวิชาภาษาไทย การพัฒนาเศรษฐกิจชนบท  / ภาษาอังกฤษ Rural Economic Development

รหัสวิชาใหม่ 3503302 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3594102  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502103)

    การวิเคราะห์ปัญหาพื้นฐานทางด้านโครงสร้างของชนบท ปัญหาความยากจนของชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กับปัญหาและการพัฒนาชนบท การวิเคราะห์โครงการพัฒนาชนบท

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา และสาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ International Monetary Economics

รหัสวิชาใหม่ 3503104 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593214  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3503101 และ 3502104)

    ระบบอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนและเครื่องมือในการลดความเสี่ยง ทฤษฎีกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ดุลการชำระเงิน การเคลื่อนย้ายทุน ความสัมพันธ์ของราคา อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราดอกเบี้ย นโยบายมหภาคระหว่างประเทศและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ระบบการเงินระหว่างประเทศในอดีตและปัจจุบัน

 

    การศึกษาดุลการค้า และดุลการชำระเงิน อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการค้ากับดุลการชำระเงิน และรายได้ประชาชาติ สภาพการเปลี่ยนแปลง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา และนโยบายการเงินของไทยที่มีต่อประเทศต่าง ๆ

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ทฤษฎีและนโยบายการค้าระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ International Trade Theory and Policy

รหัสวิชาใหม่ 3533101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592104  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503101 และ 3502104)

    ทฤษฎีนโยบายการค้าระหว่างประเทศ จุดแยกระหว่างนโยบายการค้าภายใต้เงื่อนไขการค้าเสรีทฤษฎีการใช้นโยบายพิกัดศุลการกรของประเทศใหญ่ การวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วนแบบนอร์มาทีฟ และแบบโพสซิทีฟของผลกระทบจากทฤษฎีนโยบายพิกัดศุลกากร ทฤษฎีโควตา และทฤษฎีโควตาบอกพิกัดศุลกากร ทฤษฎีและหลักการอุดหนุนเพื่อการส่งออก ทฤษฎีการคุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ และต้นทุนทรัพยากรภายในประเทศ การวัดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบแบบอื่น ๆ หลักการของข้อตกลงการค้าเสรีทวิภาคี ข้อตกลงการค้าระดับภูมิภาคในรูปแบบต่าง ๆ และผลของการเจรจาการค้าพหุภาคีในรอบต่าง ๆ

 

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน:3593101และ 3593202)

    ศึกษาทฤษฎีของสำนักคลาสสิก ทฤษฏีมูลค่าแรงงาน นโยบายการค้า อัตราภาษีศุลกากร ข้อตกลงเรื่องสินค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าทั่วไปสำหรับประเทศพัฒนา และกำลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศไทย

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน และควรเป็นวิชาเอกเลือกสำหรับเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

ชื่อวิชาภาษาไทย ตลาดการเงินระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ International Financial Markets

รหัสวิชาใหม่ 3504101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3533102)

    ตลาดการเงินระหว่างประเทศสำหรับตราสารหนี้ ตราสารทุน ยูโร ดอลลาร์ ยูโรเยน และตลาดเงินตราต่างประเทศ กลไกการทำงานของตลาดสากลซึ่งอยู่นอกเหนือพลังของนโยบายของรัฐบาล และอิทธิพลของกลุ่มอุตสาหกรรม การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและดอกเบี้ยโดยการใช้ตราสารอนุพันธ์ รวมถึงกระบวนการวาณิชธนกิจสำหรับผลิตภัณฑ์การเงินระหว่างประเทศ

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ และสาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การลงทุนระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ Economics of International Investment

รหัสวิชาใหม่ 3533102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593215  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502104)

    บทบาทและความสำคัญของการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติต่อเศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจโลก ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมของบรรษัทข้ามชาติเกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้นและการถ่ายทอดเทคโนโลยี สิทธิบัตรและการอนุญาตให้ผลิตและซื้อขาย กลยุทธ์การผลิตและการแสวงหาวัตถุดิบ รวมทั้งการกำหนดค่าจ้างและการบริหารทรัพยากรบุคคล โครงสร้างตลาด การดำเนินธุรกิจ และผลการดำเนินงานของบรรษัทข้ามชาติ โดยเน้นผลกระทบต่อธุรกิจและเศรษฐกิจภายใน ประเทศ บทบาทของรัฐและองค์กรระหว่างประเทศต่อการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติในประเทศกำลังพัฒนา

    การวิเคราะห์พฤติกรรมการลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบเกี่ยวกับการลงทุนระหว่างประเทศ วิเคราะห์กระบวนการเปลี่ยนแปลงในระบบเศรษฐกิจของโลก การจัดองค์กรระดับโลก ยุทธศาสตร์การลงทุนของบรรษัทข้ามชาติตั้งแต่หลักสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

และควรเป็นวิชาเอกเลือกสำหรับเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การจัดการทางการเงินระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ Finance Management for International Trade Economics

รหัสวิชาใหม่ 3533201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502104)

    ตราสารที่ใช้ในธุรกิจนำเข้าและส่งออกได้แก่ หนังสือเครดิตเพื่อการค้ำประกัน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ใบกำกับสินค้า ใบตราส่งสินค้าทางทะเล ใบกำหนดแหล่งกำเนิดสินค้าและใบรับรองอื่น ๆ การใช้บริการการประกัน สินเชื่อการส่งออก ประโยชน์ของการใช้ฟอร์เฟตติ้งเพื่อการค้า การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน การค้าต่างตอบแทน การทำแฟคเตอริ่งระหว่างประเทศ หัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทางการเงินและการป้องกันความเสี่ยงของธุรกิจส่งออก

 

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบันและควรเป็นวิชาเอกเลือกสำหรับเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ  ภาษาอังกฤษ Special Topics in International Economics

รหัสวิชาใหม่ 3534201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502104)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศในแนวลึก

 

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบันและควรเป็นวิชาเอกเลือกสำหรับเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ Readings in International Economics

รหัสวิชาใหม่ 3534501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502104)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน และควรเป็นวิชาเอกเลือกสำหรับเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

ชื่อวิชาภาษาไทย กฎหมายเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ Low of International Economics

รหัสวิชาใหม่ 24637xx / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาวิวัฒนาการและที่มาของกฎหมายการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การขัดกันแห่งกฎหมายที่ใช้บังคับแก่สัญญาการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายเอกภาพสำหรับการซื้อขายระหว่างประเทศ การแทรกแซงของรัฐเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ ซึ่งตกอยู่ภายใต้กฎหมายของ GATT และ UNCTAD สัญญาการผลิตระหว่างประเทศ การชำระเงินและการโอนเงินระหว่างประเทศ การขนส่งทางทะเล การประกันภัย ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการค้าระหว่างประเทศ การระงับข้อพิพาทการค้าและการเงินระหว่างประเทศ

 

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน และควรเป็นวิชาเอกเลือกสำหรับเศรษฐศาสตร์สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

ชื่อวิชาภาษาไทย ทฤษฎีการใช้จ่ายของภาครัฐ  /ภาษาอังกฤษ Theory of Public Expendituer

รหัสวิชาใหม่ 3543101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ทฤษฎีว่าด้วยบทบาทและโครงสร้างภาครัฐทฤษฎีทางเลือกของสาธารณะ ทฤษฎีสินค้าสาธารณะและผลกระทบภายนอก การวิเคราะห์การใช้จ่ายของภาครัฐ บทบาทและผลกระทบของรายจ่ายประเภทต่าง ๆ ของรัฐและการคลังต่างระดับ การวิเคราะห์ต้นทุนและผลได้ของการลงทุนภาครัฐ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การภาษีอากร  / ภาษาอังกฤษ Economics of Taxation

รหัสวิชาใหม่ 3503308 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    เกณฑ์การวิเคราะห์ภาษี ภาระภาษีในกรอบดุลยภาพเฉพาะส่วนและดุลยภาพทั่วไป ผลกระทบด้านพฤติกรรมของภาษีหลักต่าง ๆ ได้แก่ ภาษีเงินได้ ภาษีระหว่างประเทศ ภาษีการขาย ภาษีทรัพย์สิน บทบาทการคลังของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นในระบบเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง และการก่อหนี้สาธารณะ

    ศึกษาถึงระบบและวิธีการเก็บภาษี ชนิดของภาษีอากร การภาษีอากรของไทย หลักการจัดเก็บและการบริหารภาษีอากร ภาษีทางตรงและทางอ้อม พร้อมทั้งภาษีอากรประเภทต่าง ๆ รวมทั้งนโยบายภาษีอากรเพื่อควบคุมภาวะเศรษฐกิจ และส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย นโยบายเศรษฐศาสตร์การคลัง  / ภาษาอังกฤษ Public Economic Policy

รหัสวิชาใหม่ 3543201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สาธารณะในการกำหนดบทบาทของภาครัฐและผลกระทบของนโยบายสาธารณะ
การกำกับดูแลกลไกตลาด นโยบายภาษีอากร นโยบายรายจ่ายภาครัฐ นโยบายการก่อหนี้และการบริหารหนี้สาธารณะ นโยบายรัฐวิสาหกิจ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย หลักการจัดการทรัพยากรภาครัฐ  / ภาษาอังกฤษ Principles of Public Resource Management

รหัสวิชาใหม่ 3543102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    กรอบแนวคิดการบริหารจัดการการใช้จ่ายภาครัฐ การจัดเก็บรายได้ การบริหารจัดการทรัพย์สินและหนี้สินภาครัฐภายใต้การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของโลก การปฏิรูปกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การคลังท้องถิ่น  / ภาษาอังกฤษ Local Public Economics

รหัสวิชาใหม่ 3543103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ทฤษฎีการคลังระดับท้องถิ่น แหล่งรายได้ของท้องถิ่น ภาษีที่รัฐบาลท้องถิ่นจัดเก็บ รายได้จากค่าธรรมเนียมและค่าบริการ รูปแบบเงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลาง ผลกระทบของรูปแบบเงินอุดหนุนประเภทต่าง ๆ ประเภทการใช้จ่ายของรัฐบาลท้องถิ่นและผลกระทบ บทบาทของรัฐบาลกลาง และของภาคเอกชนในระบบการคลังท้องถิ่น

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การคลัง  / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Public Economics

รหัสวิชาใหม่ 3544201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3543101 และ 3543102)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การคลังในแนวลึก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การคลัง  / ภาษาอังกฤษ Readings in Public Economics

รหัสวิชาใหม่ 3544501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 3543101 และ 3543102)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์การคลังในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาเศรษฐศาสตร์การคลัง  / ภาษาอังกฤษ Seminar in Public Economics

รหัสวิชาใหม่ 3544901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3543101 และ 3543102)

    ประเด็นปัจจุบันทางด้านเศรษฐศาสตร์การคลัง ผลงานวิจัยใหม่ ๆ และกรณีศึกษาทางเศรษฐศาสตร์การคลัง

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข  / ภาษาอังกฤษ Health Economics

รหัสวิชาใหม่ 3503201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592207  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การประยุกต์หลักการและการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์กับภาคสาธารณสุขในเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ ปัญหา
ด้านการคลังในระบบสาธารณสุข การสร้างหลักประกันด้านสุขภาพและด้านบริการสาธารณสุข ปัจจัยและประเด็นด้านอุปสงค์และอุปทานของการบริการสาธารณสุข การประเมินมาตรการทางด้านสุขภาพและการบริการสาธารณสุข การประเมินด้านการคลังในระบบสาธารณสุข การปฏิรูประบบสาธารณสุข

    ศึกษาบทบาทของวิชาเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อสาธารณสุข สุขภาพ อนามัยการรักษาพยาบาลและทรัพยากร อุปสงค์ของสุขภาพอนามัยและการรักษาพยาบาล อุปทานของการรักษาพยาบาล และการบริการเพื่อสุขภาพอนามัย นโยบายการรักษาพยาบาล และการบริการทางสาธารณสุข ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยและการรักษาพยาบาล

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การศึกษา  / ภาษาอังกฤษ Economics of Education

รหัสวิชาใหม่ 3503105 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592208  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ทฤษฎีทุนมนุษย์ที่เกี่ยวกับการลงทุนทางการศึกษา ผลของการศึกษาต่อการจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประโยชน์ของการศึกษา ต้นทุนของการศึกษา การวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์จากการลงทุนทางการศึกษา ฟังก์ชันการผลิตและฟังก์ชันต้นทุนของการศึกษา การศึกษากับการมีงานทำ ความเป็นธรรมทางการศึกษา การศึกษาสาธารณะและการศึกษาเอกชน การวางแผนการศึกษา การเงินและภาษีอากรเพื่อการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษากับส่วนอื่น ๆ ของสังคม

    ศึกษาถึงความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ในระบบเศรษฐกิจ การวางแผนการศึกษา การลงทุนทางการศึกษา สัดส่วนของการศึกษาแต่ละระดับ การพัฒนาการศึกษาระดับต่าง ๆ การศึกษาเพื่อผลิตกำลังคนให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนา การใช้ทฤษฎีต้นทุนและผลประโยชน์ (Cost-Benefits) ในการวิเคราะห์และปริมาณผลการลงทุนทางการศึกษา

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ทฤษฎีและนโยบายการเงิน  / ภาษาอังกฤษ Monetary Theory and Policy

รหัสวิชาใหม่ 3553101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503102)

    วิวัฒนาการของทฤษฎีการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการถือเงิน ปริมาณเงินและกระบวนการส่งผ่านที่เชื่อมโยง
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินกับการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและจุดมุ่งหมายของนโยบายเศรษฐกิจมหภาค การประสานระหว่างนโยบายการเงินกับนโยบายการคลังเพื่อการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน

ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาการเงินและการพัฒนา  / ภาษาอังกฤษ Seminar in Finance and Development

รหัสวิชาใหม่ 3554901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3553101 และ 3503104)

    ประเด็นเกี่ยวกับบทบาทภาคการเงินในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะยาว โดยเน้นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเงิน การพัฒนาตลาดการเงิน และการปฏิรูปทางการเงินในประเทศกำลังพัฒนา

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Economics of Business Finance

รหัสวิชาใหม่ 3503304 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592211  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การวิเคราะห์การเงินธุรกิจ การวางแผนกำไร การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด การบริหารลูกหนี้ แหล่งเงินทุนระยะสั้นและระยะยาว

    ศึกษาและวิเคราะห์การเงิน การวางแผนกำไร การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด การบริหารลูกหนี้ แหล่งเงินทุนระยะสั้นและระยะยาวและตลาดเงินทุนในประเทศไทย

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การลงทุนและการวิเคราะห์หลักทรัพย์  / ภาษาอังกฤษ Portfolio Investment and Analysis

รหัสวิชาใหม่ 3503306 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ประเภทของหลักทรัพย์ ทฤษฎีการเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ ดุลยภาพของราคาและผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ทฤษฎีประสิทธิภาพของตลาดทุน การประเมินสมรรถนะของการจัดการการลงทุนในหลักทรัพย์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน และสาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเงิน  / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Monetary Economics

รหัสวิชาใหม่ 3554201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเงินในแนวลึก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเงิน  / ภาษาอังกฤษ Readings in Monetary Economics

รหัสวิชาใหม่ 3554501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์การเงินในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน  / ภาษาอังกฤษ Projects and Programs Economic Analysis

รหัสวิชาใหม่ 3503301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593303  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาหลักและวิธีการวางแผนระดับโครงการและระดับแผนงาน การบริหารโครงการและแผนงาน หลักและวิธีการประเมินโครงการและแผนงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การวิเคราะห์ต้นทุน และประโยชน์ทั้งโครงการของรัฐและเอกชน การวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการและแผนงานการกำหนดทางเลือกของโครงการหลัก และขั้นตอนการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการและแผนงาน การวิเคราะห์ Cos-Benefit Ration วิเคราะห์เชิงระบบในโครงการ และแผนงาน

    ศึกษาหลักและวิธีการวางแผนระดับโครงการและระดับแผนงาน การบริหารโครงการและแผนงาน หลักและวิธีการประเมินโครงการและแผนงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การวิเคราะห์ต้นทุน และประโยชน์ทั้งโครงการของรัฐและเอกชน การวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ โครงการและแผนงานการกำหนดทางเลือกของโครงการหลัก และขั้นตอนการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการและแผนงาน การวิเคราะห์ Cos-Benefit Ratio วิเคราะห์เชิงระบบในโครงการและแผนงาน

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย สถิติเศรษฐศาสตร์ 3  / ภาษาอังกฤษ Economic Statistics 3

รหัสวิชาใหม่ 3563101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502108)

     การคาดคะเนเชิงคณิตศาสตร์ โมเมนต์และฟังก์ชันที่ให้โมเมนต์ ฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่าง ๆ การทดสอบสมมติฐาน คุณสมบัติของตัวประมาณค่า การประมาณค่าเป็นจุด การประมาณค่าเป็นช่วง และการวิเคราะห์ความแปรปรวน

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐมิติ 2  / ภาษาอังกฤษ Econometrics 2

รหัสวิชาใหม่ 3564101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503103)

    แบบจำลองระบบสมการไซมัลเทเนียส ปัญหาการกำหนดเอกลักษณ์ของสมการ วิธีการประมาณการสมการไซมัลเทเนียส ตัวแบบหลายสมการที่เป็นระบบ วิธีการประมาณการแบบเสมือนหนึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกัน การประมาณการแบบกำลังสองน้อยที่สุดแบบทั่วไป วิธีการประมาณการค่าพารามิเตอร์แบบไม่ใช่เส้นตรง ตัวแบบสมการตัวแปรตามเชิงคุณภาพแบบต่างๆ ตัวแบบสมการอนุกรมเวลาเบื้องต้น สเตชันนารีและนอนสเตชันนารีสโตคาสติก โคอินทีเกรชัน และตัวแบบการแก้ไขค่าความคาดเคลื่อน

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การ
วิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐมิติเพื่อการธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Econometrics for Business

รหัสวิชาใหม่ 3563201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593212  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3501107 และ 3503103)

    การประยุกต์ใช้แบบจำลองเศรษฐมิติต่าง ๆ แบบจำลองที่เป็นสมการเดียว แบบจำลองสมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ แบบจำลองสมการถดถอยที่ไม่ใช่เส้นตรง แบบจำลองที่มีการกระจายความล่าช้า และแบบจำลองทางเลือกสองทาง แบบจำลองที่เป็นระบบสมการ แบบจำลองที่ศึกษาวิเคราะห์เสถียรภาพของข้อมูลก่อนที่จะนำมาหาความสัมพันธ์ การประยุกต์เทคนิคเศรษฐมิติกับปัญหามัลติโคลิเนียริตี้ ออโต้โครีเลชัน และเฮทเทอโรซีดาสทิซิตี้ และวิธีการแก้ไขปัญหา

     ศึกษาทฤษฎีเศรษฐมิติ โดยเน้นสมการเดี่ยวและระบบสมการ การสร้างตัวแบบการเลือกวิธีการประมวลค่าที่ดีที่สุด การพยากรณ์และเทคนิคการจำลองค่าโดยศึกษากรณีตัวอย่างเพื่อประยุกต์ใช้ในธุรกิจ

  เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย แบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณ  / ภาษาอังกฤษ Computable General Equilibrium Model

รหัสวิชาใหม่ 3563301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503101 และ 3503102)

    ตารางปัจจัยการผลิต-ผลผลิตและแบบจำลองปัจจัยการผลิตและผลผลิต ทฤษฎีและแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณสำหรับระบบเศรษฐกิจแบบปิด เทคนิคของการแปลงรูปแบบจำลองให้อยู่ในรูปอัตราการเปลี่ยนแปลง ทฤษฎีของแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงคำนวณสำหรับระบบเศรษฐกิจแบบเปิด เทคนิคของการแก้ปัญหาหลายขั้นตอน การปิดระบบ การกำหนดเงื่อนไขของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การสร้างข้อมูลและการใช้ยูทิลิตี้ของโปรแกรมสำเร็จรูป การฝึกทำซิมมูเลชันสำหรับแบบจำลองหลายชนิดและสำหรับการวิเคราะห์นโยบายต่าง ๆ กรณีศึกษาการใช้งานของแบบจำลองต่าง ๆ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียน เศรษฐ - ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย การวิจัยดำเนินงาน  / ภาษาอังกฤษ Operations Research

รหัสวิชาใหม่ 3564902 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3501107)

    ศึกษาโปรแกรมเชิงเส้น ทฤษฎีเกม การวิเคราะห์ข่ายงาน ตัวแบบการรอคอย ตัวแบบมาร์คอฟ แบบจำลองการขนส่ง แบบจำลองการควบคุมสินค้าคงคลัง

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Quantitative Business Analysis

รหัสวิชาใหม่ 3563302 /คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจ ประโยชน์ของการใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ ได้แก่ ความน่าจะเป็น แขนงการตัดสินใจ (Decision Trees) โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) เทคนิคการประเมินผล และการตรวจสอบโครงการ (PERT/CPM) การจัดซื้อสินค้าคงคลังและการจำลองเหตุการณ์ (Simulation) และเทคนิคการพยากรณ์ธุรกิจ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Readings in Quantitative Business Analysis Economics

รหัสวิชาใหม่ 3564501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3501107 และ 3503103)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์ในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Seminar in Quantitative Business Analysis Economics

รหัสวิชาใหม่ 3564901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเพื่อนำมาวิเคราะห์เชิงปริมาณ และอภิปรายหาข้อสรุป

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Quantitative Business Analysis Economics

รหัสวิชาใหม่ 3564201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจในแนวลึก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์แรงงาน  / ภาษาอังกฤษ Labour Economics

รหัสวิชาใหม่ 3573101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593204  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการทำงานของตลาดแรงงาน ทฤษฎีอุปสงค์อุปทานในตลาดแรงงาน การกำหนดค่าจ้าง การย้ายถิ่นของแรงงาน การว่างงาน บทบาทของสถาบันแรงงาน และนโยบายรัฐที่มีผลกระทบต่อตลาดแรงงาน

     ศึกษาเรื่องอุปสงค์ และอุปทานแรงงานในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ การกำหนดอัตราค่าจ้าง และการจ้างงาน การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างตลาด และประสิทธิภาพของตลาดแรงงาน เช่น การผูกขาด การเจรจาต่อรองค่าจ้าง การแทรกแซงของรัฐบาลในตลาดแรงงาน ภาวะเงินเฟ้อกับการว่างงาน ตลาดแรงงาน และการกระจายรายได้ สหภาพของแรงงาน พร้อมทั้งกฎหมายระเบียบที่เกี่ยวกับแรงงานของประเทศไทย

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์  / ภาษาอังกฤษ Economics of Human Resources

รหัสวิชาใหม่ 3573102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593207  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ การลงทุนในทุนมนุษย์รูปแบบต่าง ๆ ทั้งในด้าน การศึกษา สุขภาพอนามัย การฝึกอบรม และการย้ายถิ่นของแรงงาน การวิเคราะห์ผลตอบแทนส่วนบุคคลและผลตอบแทนส่วนสังคมจากการลงทุนในทุนมนุษย์โดยเน้นการศึกษาและการฝึกอบรม การวางแผนกำลังคน การพัฒนากำลังคน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของไทย

    ศึกษาแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์ การลงทุนทรัพยากรมนุษย์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การศึกษา การฝึกอบรม และการวิเคราะห์ผลตอบแทนส่วนบุคคล และผลตอบแทนทางด้านสังคมจากการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนการวางแผนกำลังคน การพัฒนากำลังคน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์ประชากร  / ภาษาอังกฤษ Demographic Economics

รหัสวิชาใหม่ 3573103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592206  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    แนวคิดทางประชากรสำหรับการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ แหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาและวิเคราะห์ทางประชากร การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโดยครอบคลุมการเกิด การตาย การเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน การกระจายของประชากร ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางประชากรกับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางประชากร นโยบายประชากรในการพัฒนาเศรษฐกิจ

    ศึกษาถึงแหล่งข้อมูลทางประชากร องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร อัตราการเจริญพันธุ์ อัตราการตาย การย้ายถิ่น การกระจายตัวของประชากร ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับเศรษฐกิจ แนวความคิดและทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและนโยบายเพื่อพัฒนาประชากรในด้านเศรษฐกิจ

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Lab our and Human Resource Economics

รหัสวิชาใหม่ 3574201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3573101)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ในแนวลึก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน / ภาษาอังกฤษ Readings in Labour and Human Resource Economics

รหัสวิชาใหม่ 3574501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3573101)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และกำลังคน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การเกษตร  / ภาษาอังกฤษ Agricultural Economics

รหัสวิชาใหม่ 3583101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592202  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502101 และ 3502102)

    การพัฒนาเศรษฐกิจและบทบาทของภาคเกษตร ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการผลิต การกำหนดราคา ตลาดสินค้าการเกษตร การแข่งขัน ปัจจัยการผลิตในภาคเกษตร เศรษฐกิจการปลูกข้าวในหมู่บ้าน โครงสร้างพื้นฐานในภาคเกษตร วิธีต่าง ๆ ในระบบการผลิตขององค์กรการผลิตในภาคเกษตร เทคโนโลยีกับการพัฒนาการเกษตร การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรในระดับหมู่บ้าน การพัฒนาการเกษตรของประเทศไทยและของต่างประเทศ

    ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ บทบาทการเกษตรต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจการเกษตร ปัญหาด้านการเกษตร หลักเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร สินเชื่อการตลาดและราคาผลผลิตการเกษตร การบริโภคสหกรณ์การเกษตร ธุรกิจการเกษตร นโยบายของการเกษตรทางการค้าระหว่างประเทศ และการผลิต

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์สหกรณ์  / ภาษาอังกฤษ Cooperative Economics

รหัสวิชาใหม่ 3583102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3502101 และ 3502102)

    ประวัติและทฤษฎีการสหกรณ์ พัฒนาการของสหกรณ์ในประเทศไทย บทบาทรัฐในการสหกรณ์ การจัดตั้งและการจัดการสหกรณ์ การพัฒนาชนบทโดยวิธีการสหกรณ์ ประสบการณ์ด้านการพัฒนาชนบทโดยวิธีการสหกรณ์ในประเทศไทย เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น และประเทศอื่น ๆ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร และธุรกิจการเกษตร

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร  / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Economics of Agriculture and Agri-business

รหัสวิชาใหม่ 3584201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจการเกษตรในแนวลึก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร และธุรกิจการเกษตร

 

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร  / ภาษาอังกฤษ Readings in Economics of Agriculture and Agri-business

รหัสวิชาใหม่ 3584501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3583101 และ 3583102)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจการเกษตรในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร และธุรกิจการเกษตร

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ  / ภาษาอังกฤษ Economics of Natural Resource

รหัสวิชาใหม่ 3593201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ คุณสมบัติด้านการตลาดของทรัพยากรธรรมชาติ คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ การประยุกต์ออปติไมเซชันกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบต่าง ๆ ปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันและแนวทางแก้ไข

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม  / ภาษาอังกฤษ Economics of Environment

รหัสวิชาใหม่ 3593301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3592219  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การกำหนดคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม การวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเชิงเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์นโยบายและมาตรการการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

    ศึกษาถึงหลักการ และทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่ประยุกต์กับสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือ ทางเศรษฐศาสตร์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และสังคมในนโยบายการพัฒนาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์และประเมินโครงการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาและการพัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยใช้กรณีศึกษา

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคนิคการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐศาสตร์  / ภาษาอังกฤษ Economic Evaluation Techniques for Environmental Impacts

รหัสวิชาใหม่ 3593202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3593301)

    วิธีการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีการประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ของสิ่งแวดล้อม วิธีการประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้ค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการประเมินโครงการ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์พลังงาน  / ภาษาอังกฤษ Economics of Energy

รหัสวิชาใหม่ 3593302 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503103)

    ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับเศรษฐกิจ การทำบัญชีพลังงาน การวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทานของพลังงานชนิดต่าง ๆ โดยวิธีการด้านเศรษฐมิติ การวิเคราะห์นโยบายและมาตรการด้านการพลังงานของประเทศ

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ International Environmental Economics

รหัสวิชาใหม่ 3593203 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3593201 และ 3593301)

    ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบข้ามพรมแดน และการจัดการทรัพยากรที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติ
การวิเคราะห์กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมรวมทั้งผลเชิงสวัสดิการ การค้า การลงทุน การอนุรักษ์ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  / ภาษาอังกฤษ Political Economy of Natural Resource and Environment

รหัสวิชาใหม่ 3503303 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    เศรษฐศาสตร์การเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบาย การกำหนดและวิเคราะห์โครงการที่ส่งผลต่อระบบนิเวศและต่อกลุ่มต่าง ๆ ที่มีความขัดแย้งกัน การแสวงหาวิธีการกำหนดนโยบายโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทุกระดับ การกำหนดนโยบายการดำเนินงานและการลดความขัดแย้งกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ - ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร และธุรกิจการเกษตร รวมถึงสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และสาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม

 

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมสำหรับองค์กรธุรกิจ  / ภาษาอังกฤษ Corporate Environmental Economics

รหัสวิชาใหม่ 3593204 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    นโยบายและกฎหมายสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม การตลาดสินค้า “สีเขียว” กลุ่มนักธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในองค์กรธุรกิจ

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

 

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Economics of Natural Resource and Environment

รหัสวิชาใหม่ 3594201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3593301)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแนวลึก

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  / ภาษาอังกฤษ Readings in Economics of Natural Resource and Environment

รหัสวิชาใหม่ 3594501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3593201 และ 3593301)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาการพัฒนากับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  / ภาษาอังกฤษ Seminar in Development and Natural Resource and Environment

รหัสวิชาใหม่ 3594901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3593201 และ 3593301)

    ประเด็นปัจจุบันด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผลงานวิจัยใหม่ ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การจัดการด้านการผลิตและการตลาด  / ภาษาอังกฤษ Economics of Production and Marketing Management

รหัสวิชาใหม่ 3603102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสัมพันธ์ของการจัดการด้านการผลิตและการตลาด ทฤษฎีการผลิตและปฏิบัติการด้านการจัดการในการวางแผน การดำเนินงาน และการควบคุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต กลยุทธ์การตลาด การบริหารผลิตภัณฑ์ ราคา และช่องทางการจำหน่าย การจัดองค์กรและการควบคุมทางการตลาด

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการจัดการอุตสาหกรรม

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ  / ภาษาอังกฤษ Economics of International Business Management

รหัสวิชาใหม่ 3603201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสำคัญของธุรกิจระหว่างประเทศ สภาพแวดล้อมของการค้าและการลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ ระบบการเงินโลก กลยุทธ์และโครงสร้างของบรรษัทข้ามชาติ ตลอดจนกิจกรรมของบรรษัทข้ามชาติในด้าน การผลิต การตลาด การบัญชี การเงิน และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการจัดการอุตสาหกรรม

ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์การขนส่ง / ภาษาอังกฤษ Economics of Transportation

รหัสวิชาใหม่ 3603103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 3593211  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3503101)

    ลักษณะทางเศรษฐศาสตร์ของการขนส่ง อุปสงค์และอุปทานของบริการขนส่ง ต้นทุนและผลกระทบภายนอกของการขนส่ง กลไกราคากับการควบคุมผลกระทบภายนอก การลงทุนด้านการขนส่ง หลักการวางแผนด้านการขนส่ง การขนส่งกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และนโยบายการขนส่งของรัฐ

    ศึกษาความหมายและขอบเขตของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง ความสำคัญและบทบาท ในการขนส่งต่อระบบเศรษฐกิจ ลักษณะทางเศรษฐกิจในการขนส่งทางถนน ทางรถไฟ ทางน้ำ ทางท่อและทางอากาศ หลักการควบคุมการขนส่ง การนำหลักเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจการค้า และอุตสาหกรรมการจัดการธุรกิจขนส่งเพื่อเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เป็นต้น

    เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความต้องการของสังคมปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม / ภาษาอังกฤษ Special Topics in Business and Industrial Managerial Economics

รหัสวิชาใหม่ 3604201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3603101 และ 3603102)

    การศึกษาหัวข้อเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม ในแนวลึก

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ - ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการจัดการอุตสาหกรรม

ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม / ภาษาอังกฤษ Readings in Business and Industrial Managerial Economics

รหัสวิชาใหม่ 3604501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3603101 และ 3603102)

    การศึกษาบทความต่าง ๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรมในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงทางคอมพิวเตอร์

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ - ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการจัดการอุตสาหกรรม

ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการอุตสาหกรรม / ภาษาอังกฤษ Seminar in Business and Industrial Managerial Economics

รหัสวิชาใหม่ 3604901 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

(วิชาที่ต้องสอบผ่าน : 3603101 และ 3603102)

    ประเด็นปัจจุบันในด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ ผลงานวิจัยใหม่ ๆ และกรณีศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ

 

 

    เป็นวิชาเอกเลือกสำหรับผู้เรียนเศรษฐ -ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการจัดการอุตสาหกรรม

 

 

 

หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต

 

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

 

คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์