หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะ
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์ผู้สอน

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่ และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

20

ภาคผนวก

 

สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

 

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

 

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

 

การแก้ไขปรับปรุงคำอธิบายวิชา

 

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

 

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

  มาตรฐานคุณลักษณะบัณฑิต

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2549

.....................................

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Environmental Science

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  Bachelor of Science in Environmental Science
ชื่อย่อ : วท.บ. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)
  B.Sc. (Environmental Science)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร   

                วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเป็นพหุวิทยาการ (Interdisciplinary) ที่ผสมผสานกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสภาพแวดล้อม นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีวินัยในการทำงาน สนใจเอาใจใส่สิ่งแวดล้อม มีน้ำใจต่อผู้ร่วมงาน และสิ่งแวดล้อม ตั้งใจทำหน้าที่ และมุ่งมั่นที่จะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน และท้องถิ่น ด้วยการติดตามข่าวสาร และความรู้ ดังปรัชญาที่ว่า “ศึกษาตลอดชีวิต ทำภารกิจด้วยวินัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม นอบน้อมและมีน้ำใจ ตั้งใจทำหน้าที่ เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้ชุมชน” การจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นเพื่อผลิตนักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม จึงจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าด้วยตนเอง และผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้วยการฝึกปฏิบัติด้วยตนเองโดยมีอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้ชี้แนะ สนับสนุนให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมมีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมกับชุมชน ในการเผยแพร่ความรู้ วิเคราะห์ วางแผนป้องกัน และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
                2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ทางด้านสิ่งแวดล้อมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในท้องถิ่น
                3. เพื่อส่งเสริมการทำวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ในการแก้ปัญหาท้องถิ่น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
                4. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชน และหน่วยงานอื่นทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงาน หรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์ผู้สอน

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่สอน

1

นส. อุรา บุบผาชาติ

    -  กศ.บ. (ฟิสิกส์ – คณิตศาสตร์) วศ.บางแสน
    -  ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานทางวิชาการ

    1. การวิจัยโครงการส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเรื่อง
        “ระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำ : ศึกษากรณีบึงบอระเพ็ด”

ประสบการณ์การทำงาน

    1. อาจารย์โรงเรียนวัดส้มเสี้ยว พ.ศ. 2511
    2. อาจารย์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ พ.ศ. 2511
    3. อาจารย์สถาบันราชภัฏสกลนคร พ.ศ. 2511 – 2514
    4. ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิต พ.ศ. 2524 – 2530
    5. หัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ และวิทยาศาสตร์ทั่วไป พ.ศ. 2534 - 2536
    6. อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    1. ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

รายวิชาที่สอน

    1. หลักการพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม
    2. การวิเคราะห์ และการประเมินผลด้านสิ่งแวดล้อม
    3. สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
    4. การวิจัยสิ่งแวดล้อม
    5. การวางแผน และการนิเทศงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
    6. พลังงานกับสิ่งแวดล้อม
    7. ฯลฯ

2

 

ผศ.เกษม ศรีเดิมมา

    -  กศ.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร
    -  น.บ. (นิติศาสตร์บัณฑิต) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช
       เกียรตินิยมอันดับ 1
    -  กศ.ม (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

ผลงานทางวิชาการ

ตำรา

    1. พันธุศาสตร์
    2. พฤกษศาสตร์
    3. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

ประสบการณ์การทำงาน

    1. สอนวิชาชีววิทยาในระดับอุดมศึกษามาเป็นเวลา 32 ปี
    2. ดำรงตำแหน่งรอง อธิการบดี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2534 - ปัจจุบัน

ตำแหน่งที่รับผิดชอบ

    1. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รายวิชาที่จัดให้สอน

    1. เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
    2. ชีววิทยาทั่วไป
    3. ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป
    4. พันธุศาสตร์
    5. โครงงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพ

3

นส. พิมรา ทองแสง

    -  ศษ.บ. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    -  ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ์การทำงาน

    1. อาจารย์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2543
    2. อาจารย์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน
    3. อาจารย์พิเศษโรงเรียนสาธิตนครสวรรค์ พ.ศ. 2545 – ปัจจุบัน

การฝึกอบรม

    1. วิทยากร การใช้แหล่งเรียนรู้ตาม ธรรมชาติ
    2. วิทยากร การท่องเที่ยวเชิง-อนุรักษ์
    3. วิทยากร นันทนาการ และการละลายพฤติกรรม

รายวิชาที่สอน

    1. วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
    2. พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม
    3. มลพิษทางอากาศ
    4. การจัดการสิ่งแวดล้อม
    5. มลพิษสิ่งแวดล้อม
    6. การกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

4

นาย ทินพันธุ์ เนตรแพ

    -  วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยนเรศวร
    -  วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประสบการณ์การทำงาน

    1. ผู้ช่วยนักวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2545
    2. อาจารย์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2546 – ปัจจุบัน

การฝึกอบรม

    1. Training Program for Students majoring in environmental Science
        at Harvard School of Public Health, Harvard University, U.S.A.
        2003
    2. ฯลฯ

รายวิชาที่สอน

    1. วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
    2. การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1
    3. หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
    4. ปฏิบัติการอนามัยสิ่งแวดล้อม
    5. การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน
    6. จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม
    7. ฯลฯ

5

นส. ฤทัยรัตน์ โพธิ

    -  วท.บ. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) สถาบันราชภัฏ-นครสวรรค์
    -  วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประสบการณ์การทำงาน

    1. ผู้ช่วยวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2546
    2. อาจารย์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน

การฝึกอบรม

    1. Asia-Link Project, University of Newcastle
    2. ฯลฯ

รายวิชาที่สอน

    1. วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
    2. การกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล
    3. สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

6

นาย อนุวัตน์ แสงอ่อน

    -  วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    -  วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน

    1. ผู้ช่วยนักวิจัย มหาวิทยาลัย-เชียงใหม่ พ.ศ. 2547
    2. อาจารย์สถาบันราชภัฏ-นครสวรรค์ พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน

การฝึกอบรม

    1. ISO 14000 Training Program, สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย พ.ศ. 2540
    2. ฯลฯ

รายวิชาที่สอน

    1. วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
    2. การจัดการสิ่งแวดล้อมการสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
    3. การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
    4. ฯลฯ

7

น.ส.สุมนา มณีพิทักษ์

    -  วท.บ.(เกษตรศาสตร์)  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    -  วท.ม.(เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม)
       มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ์การทำงาน

    1. พนักงานขายยาสัตว์น้ำ บริษัทแอพพลายฟอร์ซ (ประเทศไทย) จำกัด
        ส.ค. 2541-ก.ย. 2541
    2. พนักงานขายยาสัตว์บก บริษัท เอ็ม ที เวท จำกัด
        ก.พ. 2542-ต.ค. 2543
    3. นักวิชาการสัตวบาล 3 กองควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์
        พ.ย. 2543-เม.ย. 2544
    4. โปรแกรมเมอร์ ออฟฟิซเซอร์ ฝ่ายสวัสดิภาพสาธารณะ (ฝ่าย 3)
        สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)เม.ย. 2547-มิ.ย. 2547
    5. อาจารย์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์
        ก.ค. 2547 – ปัจจุบัน

ฝึกอบรมสัมมนา

    1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ Water Resources Planing and Management
    2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ ร่วมฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมด้วยภูมิปัญญาตะวันออก
    3. ฝึกอบรมโครงการ HACCP โรงงานอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์

รายวิชาที่สอน

    1. กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
    2. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร
    3. วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต

13. จำนวนนักศึกษา

        แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

40

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 2

-

40

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 3

-

-

40

40

40

40

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

40

40

40

รวม

40

80

120

160

160

160

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

-

40

40

14. สถานที่ และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ลำดับที่

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

หมายเหตุ

1

ห้องพักอาจารย์ที่มีขนาดพอเหมาะ (อาจารย์แต่ละคนควรมีพื้นที่ทำงานไม่น้อยกว่า 9 ตารางเมตร)

1

1

 

2

ห้องปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม

1

3

 

3

ห้องเก็บสารเคมีและอุปกรณ์

1

1

 

4

ห้องเก็บ และแสดงตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม

-

2

 

        14.2 อุปกรณ์

ลำดับที่

รายการและลักษณะเฉพาะ

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

หมายเหตุ

1

กล้องจุลทรรศน์

1

5

ใช้ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์

2

เครื่องวัด ค่า pH และความชื้นในดิน

2

5

 

3

เครื่องนับโคโลนี

1

1

4

เครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ

1

1

 

5

เครื่องเก็บตัวอย่างฝุ่น

1

1

 

6

เครื่องเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์ในอากาศ

1

1

 

7

ชุดตรวจวัดค่าการนำไฟฟ้าในน้ำ แบบมือถือ

3

3

 

8

ชุดตรวจวัดของแข็งในน้ำ แบบมือถือ

3

5

 

9

ชุดตรวจวัดค่า pH ในน้ำ แบบมือถือ

3

5

 

10

เครื่องตรวจวัดคุณภาพน้ำ YSI Model 6 Series

1

1

 

11

Colorimeter

1

1

 

12

Incubator

1

2

ใช้ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์

13

เครื่องเก็บตัวอย่างน้ำ

1

2

 

15. ห้องสมุด

        15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ลำดับที่

ชื่อหนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

หมายเหตุ

1.

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

8

10

 

2.

สุขภาพแวดล้อม

1

2

 

3.

มลพิษดินและการกัดเซาะดิน

1

2

 

4.

มลพิษทางดิน (Soil Pollution)

1

5

 

5.

มลพิษทางทัศนียภาพ

1

3

 

6.

มลพิษทางน้ำ

1

5

 

7.

มลพิษทางสายตา (Visual Pollution)

1

2

 

8.

มลพิษทางอาหารในเนื้อสัตว์และ ผลิตภัณฑ์ สิ่งแวดล้อม

1

3

 

9.

มลพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมดิน

2

5

 

10.

ดินของประเทศไทยลักษณะการแจกกระจายและการใช้ (Soil of Thailand Characteristics, distribution and uses)

1

3

 

11.

ดินเค็ม

1

3

 

12.

อากาศ

1

5

 

13.

พลังงาน

1

5

 

14.

ระบบบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศกรีม : Wastewater Treatment for Dairy Industries

1

3

 

15.

ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน

1

5

 

16.

ระบบบำบัดน้ำเสียไร้อากาศแบบตรึงเซลล์ช่วยลดมลพิษและผลิตพลังงาน

1

2

 

17.

Environmental Science.

1

3

 

18.

Environmental science : a study of interrelationship

1

2

 

19.

Environmental Science for Environmental Management

1

2

 

20.

Environmental Science for School and Community.

1

1

 

21.

Environmental Science Foundation.

2

5

 

22.

Waste Treatment and Disposal

1

1

 

23.

Environmental Science the Natural Environment and Human Impact

1

1

 

24.

Environmental Science Working with the Earth/ G. Tyler Miller.

1

1

 

25.

Environmental Technology Handbook

1

2

 

26.

Environmental Technology Management.

1

2

 

27.

Pollution Environment

1

3

 

28.

The pollution handbook

1

2

 

29.

Pollution Prevention Basic

1

1

 

30

Pollution Prevention : Fundamentals and Practice

1

1

 

31

Pollution Risk Assessment and Management

1

1

 

32

Pollution Treatment Review

1

3

 

        15.2 จำนวนวารสารและเอกสารอื่น ๆ

ลำดับที่

ชื่อหนังสือ/ตำราเรียน

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่คาดว่าจะเพียงพอ

หมายเหตุ

1.

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย

2

2

 

2.

วารสารวิทยาศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ

1

2

 

3.

วารสารนิเวศวิทยา

2

2

 

4.

วารสารกีฏและสัตววิทยา

1

2

 

5.

เกษตรก้าวหน้า

2

2

 

6.

วารสารสุขภาพ

6

6

 

7.

วารสารเทคโนโลยีชาวบ้าน

1

2

 

8.

วารสารวิจัยสภาวะแวดล้อม

2

2

 

9.

วารสารวิทยาศาสตร์ มข.

2

2

 

10.

วารสารวิทยาศาสตร์ มศว.

3

3

 

11.

พิษวิทยาสาร

2

2

 

12.

ใกล้หมอ

1

1

 

13.

สมุนไพรพึ่งตนเอง

2

2

 

14.

หมอชาวบ้าน

4

4

 

15.

Journal of Cell Biology

3

3

 

16.

Journal of Applied Microbiology

3

3

 

17.

Journal of Applied Psycology

1

3

 

18.

Journal of Bacteriology

5

5

 

19.

Bioscience

2

2

 

20.

DNA and Cell Biology

1

1

 

21.

Applied Environmental Microbiology

2

2

 

22.

Biotechnology & Bioengineering

1

1

 

23.

Mycologia

1

1

 

24.

Science

2

2

 

25.

Microbiology

1

2

 

        15.3 รายชื่อสื่ออิเล็กทรอนิคส์

                การสืบค้นจากเว็บไซต์ http://127.0.0.1:5432/HWWMDS/Main.nsp ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สามารถสืบค้น วารสาร (Journal) ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ทั่วโลก

        15.4 แหล่งวิทยาการและแหล่งฝึกงาน

            15.4.1 แหล่งวิทยาการ

                1) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
                2) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร
                3) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
                4) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                5) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
                6) ห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
                7) ห้องสมุดโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
                8) ห้องสมุดโรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ

            15.4.2 แหล่งฝึกงาน

                1) ศูนย์อนามัยที่ 8 (โรงพยาบาลแม่และเด็ก) จ.นครสวรรค์
                2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
                3) ศูนย์ควบคุมโรค จังหวัดนครสวรรค์
                4) เทศบาลนครนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์
                5) กรมควบคุมมลพิษ กรุงเทพฯ
                6) กลุ่มงานวิจัยสิ่งแวดล้อม ประมงน้ำจืด กรุงเทพฯ
                7) บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จำกัด (มหาชน) จ.สมุทรปราการ
                9) สำนักงานบริการเทคโนโลยีสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ
                10) บริษัท โรงเส้นหมี่ชอเฮง จำกัด จ.นครปฐม
                11) โรงไฟฟ้า แม่เมาะ จ. ลำปาง
                12) ศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อม เขต 8 อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
                13) สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จ.ชลบุรี
                14) บริษัท คิวเซ สระบุรี จ. สระบุรี

16. งบประมาณ

        ในการจัดการศึกษามีประมาณการงบประมาณภายในระยะ 5 ปี ดังนี้

หมวดเงิน

งบประมาณที่ต้องการ

2548

2549

2550

2551

2552

งบดำเนินการ

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

    -  ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

 

20,000

140,000

140,000

36,600

 

20,000

140,000

140,000

50,000

 

20,000

140,000

140,000

50,000

 

20,000

140,000

140,000

50,000

 

20,000

140,000

140,000

50,000

รวมงบดำเนินการ

336,600

350,000

350,000

350,000

350,000

งบลงทุน

    -  ค่าครุภัณฑ์

    -  ค่าที่ดิน

 

87,875

-

 

200,000

-

 

150,000

-

 

150,000

-

 

100,000

-

รวมงบลงทุน

87,875

200,000

150,000

150,000

100,000

รวมทั้งหมด

424,475

550,000

500,000

500,000

450,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาชาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 133 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างหลักสูตร

                หลักสูตรโปรแกรมวิชา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ระดับปริญญาตรี มีสัดส่วนหน่วยกิต แยกตามหมวดวิชาและกลุ่มวิชาดังนี้

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

96

 

1. วิชาแกน

30

 

2. วิชาเฉพาะด้านบังคับ

41

 

3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

18

 

4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

7

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

รวมทั้งหมด

133

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

        รายละเอียดของหลักสูตรแต่ละหมวดวิชามีดังนี้

        ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 96 หน่วยกิต แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

            (1) วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

Environmental Economics

 

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

 

Research in Science

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3(3-0-6)

 

General Physics

 

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1(0-2-1)

 

General Physics Laboratory

 

4221101

เคมีทั่วไป

3(3-0-6)

 

General Chemistry

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1(0-2-1)

 

General Chemistry Laboratory

 

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3(3-0-6)

 

General Biology

 

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1(0-2-1)

 

General Biology Laboratory

 

4291401

แคลคูลัส 1

3(3-0-6)

 

Calculus 1

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

            (2) วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 41 หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

(English for Technology)

 

4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

(Fundamental of Environmental Science)

 

4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

(Environmental Science Laboratory)

 

4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

(Ecology and Environment Laboratory)

 

4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

(Ecology and Environment)

 

4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

 

(Environmental Pollution and Management)

 

4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Environmental Biochemistry and Toxicology)

 

4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

(Physics for Environment)

 

4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

(Energy and Environment)

4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

2 (2-0-4)

 

(Water Analysis 1)

 

4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

(Environmental Impact Assessment)

 

4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

(Environmental Management)

 

4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-2-1)

 

(Water Analysis Laboratory)

 

4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

(Environmental Law)

 

4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

(Computer for Resource Management)

 

4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

(Seminar in Environment)

 

4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

(Occupational Health and Safety)

 

4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Environmental Microbiology)

 

4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

(Environmental Research)

 

            (3) วิชาเฉพาะด้าน เลือก ให้เลือกเรียนจากแขนงวิชาใดแขนงวิชาหนึ่งไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต

                3.1 แขนงวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263112

หลักและวิธีการทางอนามัยสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

(Environmental Health Approach)

 

4263511

สุขภาพส่วนบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (3-0-6)

 

(Personal Health and Urban Environment Management)

 

4263514

สุขาภิบาลอาหาร และความปลอดภัย

2 (1-2-3)

 

(Food Sanitation and Safety)

 

4263611

ปฏิบัติการอนามัยสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

(Environmental Health Laboratory)

 

4263813

การวางแผนและการนิเทศงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Environmental Health Planning and Supervision)

 

4264411

การกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

3 (2-2-5)

 

(Solid Wastes and Disposal)

 

                3.2 แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263162

มลพิษดิน

2 (2-0-4)

 

(Soil Pollution)

 

4263321

พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Environmental Toxicology)

 

4263423

การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Environmental Survey and Monitoring)

 

4263524

การจัดการของเสียอันตราย

2 (1-2-3)

 

(Hazardous Waste Management)

 

4263621

ปฏิบัติการมลพิษสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

(Environmental Pollution Laboratory)

 

4263702

เคมีวิเคราะห์สารมลพิษ

3 (2-2-5)

 

(Chemical Analysis of Pollutants

 

4264421

วัตถุมีพิษและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Toxic Substance and Environmental Impact)

 

                3.3 แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263434

การควบคุมมลพิษ และการจัดการแหล่งมลพิษ

2 (1-2-3)

 

(Pollution Control and Management)

 

4263532

หลักการบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

(Principle for Environmental Administration and Management)

 

4263631

ปฏิบัติการการจัดการทรัพยากร

1 (0-2-1)

 

(Resource Management Laboratory)

 

4263703

สารสนเทศทางภูมิศาสตร์สำหรับงานสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Geographic Information System for Environmental Working)

 

4263708

การสำรวจข้อมูลระยะไกลเบื้องต้นสำหรับงานสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Introduction to Remote Sensing for Environmental Working)

 

4264531

การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

3 (2-2-5)

 

(Land Use Planning)

 

                3.4 แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263541

หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

(Principle of Urban Environmental Management)

 

4263542

การจัดการทรัพยากรน้ำ

2 (1-2-3)

 

(Water Resource and Management)

 

4263543

การจัดการผังเมือง

3 (2-2-5)

 

(Urban Planning)

 

4263641

ปฏิบัติการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

1 (0-2-1)

 

(Urban Environmental Management Laboratory)

 

4263844

การวางแผนและการนิเทศงานสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

(Urban Environmental Health Planning and Supervision)

 

4264441

การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

(Urban Environmental Survey and Monitoring)

 

                3.5 แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263351

เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย

3 (2-2-5)

 

(Technology for Wastewater Treatment)

 

4263352

เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศ

3 (2-2-5)

 

(Technology for Air Pollution Control)

 

4263354

หลักการเกี่ยวกับแบบจำลองทางสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Principle of Environmental Modeling)

 

4263651

ปฏิบัติการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

1(0-2-1)

 

(Laboratory for Environmental Technology)

 

4263704

เทคโนโลยีในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Technology for Environmental Quality Survey)

 

4264355

เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการสิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

 

(Technology for Environmental Management)

 

                3.6 แขนงวิชาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263167

ทรัพยากรประมงและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

(Fishery Resource and Management)

 

4263168

การวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 

(Human Resource Development Planning)

 

4263705

สมุทรศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

(Environmental Oceanography)

 

4263706

สารฆ่าแมลง

3(2-2-5)

 

(Insecticides)

 

4263707

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเบื้องต้น

2 (2-0-4)

 

(Introduction to Public Health Economics)

 

4264161

การบำบัดน้ำทิ้งจากชุมชน

3 (2-2-5)

 

(Domestic Wastewater Treatment)

 

4264162

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 2

3 (2-2-5)

 

(Water Analysis 2)

 

4264169

น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและการควบคุม

2 (1-2-3)

 

(Industrial Wastewater and Control)

 

            (4) วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 7 หน่วยกิต ให้เรียนรายวิชาต่อไปนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

(Preparation for Professional Experience in Environment)

 

4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

(Training for Professional Experience in Environment)

 

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

            ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ

                หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้เปิดวิชาเลือกเสรีดังนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4265471

การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรนันทนาการ

2 (1-2-3)

 

(Conservation and Management of Recreation Resources)

 

4265472

การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า

2 (1-2-3)

 

(Conservation and Management of Wildlife)

 

4265473

ป่าไม้และการอนุรักษ์

2 (1-2-3)

 

(Forest and Conservation)

 

4265474

กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

(Environmental Conservation Activity)

 

4265475

นิเวศวิทยาพรรณไม้น้ำ

2 (1-2-3)

 

(Aquatic Plant Ecology)

 

4265476

การอนุรักษ์และการจัดการลุ่มน้ำ

2 (1-2-3)

 

(Watershed Conservation and Management)

 

4265477

การอนุรักษ์ธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม

2 (2-0-4)

 

(Nature and Cultural Heritage Conservation)

 

    17.4 แผนการศึกษา

        แผนการการศึกษาของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มี 5 แผน จำแนกตามแขนงวิชาดังนี้

            17.4.1 แผนการศึกษา แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (2-0-4)

 

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4021101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

 

4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1

2 (2-0-4)

 

4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-3-1)

4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263112

หลักและวิธีการทางอนามัยสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4263511

สุขภาพส่วนบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (3-0-6)

 

4263611

ปฏิบัติการอนามัยสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4263813

การวางแผนและการนิเทศงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

4263514

สุขาภิบาลอาหาร และความปลอดภัย

2 (1-2-3)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

Xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

4264411

การกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ( แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม )

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

รวม

5

 

                17.4.2 แผนการศึกษา แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (2-0-4)

 

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

Xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (2-0-4)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1

2 (2-0-4)

 

4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-2-1)

4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263321

พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4263702

เคมีวิเคราะห์สารมลพิษ

3 (2-2-5)

 

4263621

ปฏิบัติการมลพิษสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4263524

การจัดการของเสียอันตราย

2 (1-2-3)

4263423

การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

4264421

วัตถุมีพิษและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

รวม

5

 

                17.4.3 แผนการศึกษา แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (2-0-4)

 

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (2-0-4)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

 

4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1

2 (2-0-4)

 

4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-2-1)

4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263708

การสำรวจข้อมูลระยะไกลเบื้องต้นสำหรับงานสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4263532

หลักการบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

4263631

ปฏิบัติการการจัดการทรัพยากร

1 (0-2-1)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4263703

สารสนเทศทางภูมิศาสตร์สำหรับงานสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

4263434

การควบคุมมลพิษ และการจัดการแหล่งมลพิษ

2 (1-2-3)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

Xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

4264531

การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

รวม

5

 

        17.4.4 แผนการศึกษา แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (2-0-4)

 

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000106

ชีวิตกับศิลปะ

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

 

4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1

2 (2-0-4)

 

4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-2-1)

4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263541

หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

4263844

การวางแผนและการนิเทศงานสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

4263641

ปฏิบัติการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

1 (0-2-1)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4263542

การจัดการทรัพยากรน้ำ

2 (1-2-3)

4263543

การจัดการผังเมือง

3 (2-2-5)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

Xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

4264441

การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

รวม

5

 

        17.4.5 แผนการศึกษา แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2310101

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3 (3-0-6)

 

2000104

บัณฑิตอุดมคติไทย

2 (2-0-4)

 

2000101

วิถีไทย

2 (2-0-4)

4000103

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

2 (2-0-4)

 

4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2210101

การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย

3 (2-2-5)

 

2310102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3 (3-0-6)

2400101

การใช้สารสนเทศ

2 (2-0-4)

 

2000102

วิถีโลก

2 (2-0-4)

 

4000102

คณิตศาสตร์ทั่วไป

2 (2-0-4)

4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (2-0-4)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

1000101

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

2 (2-0-4)

 

2000103

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

1000102

กีฬาและนันทนาการ

2 (1-2-3)

 

4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

2000106

ชีวิตกับศิลป

2 (2-0-4)

 

4000101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

2 (2-0-4)

 

4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1

2 (2-0-4)

 

4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-2-1)

4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263351

เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย

3 (2-2-5)

 

4263352

เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศ

3 (2-2-5)

 

4263651

ปฏิบัติการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

4263353

เทคโนโลยีการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

4263354

หลักการเกี่ยวกับแบบจำลองทางสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

Xxxxxxx

วิชาเลือกเสรี 1

2 (1-2-3)

 

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

4264355

เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 (แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมายเหตุ

4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

รวม

5

 

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต

รายวิชา 2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานวิทยาศาสตร์ จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มือการใช้เครื่องมือ การใช้อุปกรณ์ ฝึกการใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาถึงลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคลการบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3501105

เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Environmental Economics

 

        ศึกษาถึงหลักการและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่ประยุกต์กับสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม ในนโยบายการพัฒนาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์และประเมินโครงการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาและการพัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยใช้กรณีศึกษา

รายวิชา 4003901

วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Research in Science

 

        ศึกษาความรู้พื้นฐานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการวางแผนการค้นคว้าข้อมูล การเขียนโครงการ วิจัย และการทำโครงการวิจัยแก้ปัญหาในท้องถิ่น อย่างน้อย 1 โครงการ โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลการทดลองหรือการค้นคว้า รวมทั้งวิธีการเขียนรายงานอย่างมีระเบียบ การเผยแพร่และการนำเสนอโครงการวิจัย

รายวิชา 4211301

ฟิสิกส์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Physics

 

        การวัดและความแม่นยำในการวัด สเกลาร์และเวคเตอร์ การเคลื่อนที่ในลักษณะต่าง ๆ โมเมนตัมและกฎการเคลื่อนที่ แรงและผลของแรง งาน กำลัง และพลังงาน การเคลื่อนที่ฮาร์มอนิก การเคลื่อนที่แบบคลื่น คลื่นกล สมบัติของสสาร ปรากฏการณ์ความร้อน อุณหพลศาสตร์ โดยจัดให้มีการสาธิตและการทดลองตามความเหมาะสม

รายวิชา 4211302

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Physics Laboratory

 

        ปฏิบัติการเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ทั่วไป ไม่น้อยกว่า 10 ปฏิบัติการ

รายวิชา 4221101

เคมีทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Chemistry

 

        ศึกษามวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้นคุณสมบัติของของแข็ง ของเหลว จลนพลศาสตร์เบื้องต้น (Kinetics) สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก เคมีนิวเคลียร์เบื้องต้น

รายวิชา 4221102

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Chemistry Laboratory

 

        ปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคนิคเบื้องต้น และหลักปฏิบัติทั่วไปในการปฏิบัติการเคมี การจัดสารเคมี เกรดของสาร และการใช้สารเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี เทคนิคการใช้เครื่องมือพื้นฐาน จลน์ศาสตร์ สมดุลเคมี pH ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดและเบส

รายวิชา 4231101

ชีววิทยาทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Biology

 

        ศึกษาสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเนื้อเยื่อ พลังงานในสิ่งมีชีวิต และการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ ชีวิตกับสภาพแวดล้อม การจัดจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิตและเทคโนโลยีทางชีวภาพ

รายวิชา 4231102

ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป

1 (0-2-1)

 

General Biology Laboratory

 

        ปฏิบัติการเรื่องสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการแบ่งเซลล์เนื้อเยื่อ การสืบพันธุ์ การจำแนกสิ่งมีชีวิต การแลกเปลี่ยนสาร การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การทำงานของระบบต่าง ๆ ในสัตว์ ฮอร์โมนพืช และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4291401

แคลคูลัส 1

3 (3-0-6)

 

Calculus 1

 

        ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับลิมิตของฟังก์ชัน ฟังก์ชันต่อเนื่อง อนุพันธ์และหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันอดิศัย การประยุกต์อนุพันธ์ และอินทิกรัล

รายวิชา 4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Science for Computer

 

        ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ การนำเสนอสารสนเทศ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหรือเขียนโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เรียน

 

            3. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน บังคับ จำนวน 41 หน่วยกิต

รายวิชา 2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

English for Technology

 

        ศึกษาและฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การเขียน การฟัง และการพูด ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะการอ่านในระดับถ่ายโอน ระดับการสื่อสาร และระดับวิเคราะห์ เช่น การรู้ศัพท์ การอ้างถึง คำเชื่อม ข้อความ การจับใจความสำคัญ เหตุและผล ทัศนคติของผู้เขียน และสรุปความบทอ่าน

รายวิชา 4261101

พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

Fundamental of Environmental Science

 

        ความหมายและขอบเขตของสิ่งแวดล้อม สมดุลธรรมชาติโลกทั้งระบบ (Earth as System) ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมกับการแก้ไขปัญหา การป้องกัน การพัฒนาเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆโดยทั่วไป และเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ โดยทั่วไป และเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมในแต่ละภาคที่กำลังประสบปัญหาในสภาวะปัจจุบัน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษาความสัมพันธ์ในระบบสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4261601

ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

Environmental Science Laboratory

 

        พื้นฐานวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม โลกทั้งระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาพื้นฐานวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปฏิบัติการเรื่องดิน น้ำ อากาศ สิ่งปกคลุมดิน และสิ่งมีชีวิตในระบบสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4261602

ปฏิบัติการนิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

Ecology and Environment Laboratory

 

        ศึกษาเชิงปฏิบัติการทั้งระบบนิเวศทางธรรมชาติบนบกและในน้ำ และระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม การเกิดแทนที่ (Succession) ความหลากหลายทางชีวภาพและปัจจัยจำกัด ศึกษาโครงสร้าง หน้าที่และความสัมพันธ์ของระบบนิเวศแต่ละระบบ โลกนิเวศ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศกับสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4261701

นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

Ecology and Environment

 

        ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบนิเวศแต่ละระบบและความสัมพันธ์ระหว่างระบบนิเวศแต่ละระบบกับสิ่งแวดล้อม ผลการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4262401

มลพิษสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

3 (2-2-5)

 

Environmental Pollution and Management

 

        ความหมายและประเภทของมลพิษ สาเหตุและปัญหาต่างๆ ที่ทำให้เกิดมลพิษ ผลกระทบของมลพิษที่มีต่อสิ่งแวดล้อม มนุษย์ สัตว์ และพืช หลักการจัดการมลพิษแต่ละประเภท การเปรียบเทียบระบบการควบคุมและกำจัดของเสียแบบต่างๆ และการนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์

รายวิชา 4262701

ชีวเคมี และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Biochemistry and Toxicology

 

        การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ การย่อย การดูดซึมของสารชีวโมเลกุล ซึ่งได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิปิด กรดนิวคลีอิค รวมทั้งวิตามินและเกลือแร่ และศึกษากลไกการสลาย ควบคุมความสมดุลของสารชีวโมเลกุล รวมทั้งเอนไซม์ ฮอร์โมน สมดุลของน้ำ กรด - เบส และผลของสารพิษที่มีต่อมนุษย์ พืช และสัตว์ กลไกการกลายพันธุ์ และมะเร็ง

รายวิชา 4262702

ฟิสิกส์สำหรับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

Physics for Environment

 

        ความหนาแน่น ความถ่วงจำเพาะ ของเหลว ของไหล คลื่น สมบัติของคลื่น การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และเลี้ยวเบน คลื่นแสง เสียง ความร้อน แม่เหล็กไฟฟ้า การสั่นสะเทือน รังสี สาร-กัมมันตรังสี ศึกษาลักษณะ สมบัติ การเปลี่ยนแปลง และความเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263102

พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

Energy and Environment

 

        ความสำคัญของพลังงานต่อชีวิต ต่อระบบนิเวศและต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พลังงานในอาหาร สถานการณ์และวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศและโลก ผลกระทบการใช้พลังงานต่อสิ่งแวดล้อม การใช้และการอนุรักษ์พลังงาน นโยบายพลังงานของประเทศไทย

รายวิชา 4263403

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 1

2 (2-0-4)

 

Water Analysis 1

 

        ความรู้เกี่ยวกับปริมาณวิเคราะห์คุณภาพน้ำ การแบ่งลักษณะน้ำทั้งจากแหล่งน้ำธรรมชาติ และน้ำเสียจากแหล่งต่าง ๆ การเก็บตัวอย่าง การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ ชีวภาพ และทางเคมี การอ่านผลการเปรียบเทียบผลกับเกณฑ์มาตรฐาน และการแปลผล

รายวิชา 4263406

หลักการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

Environmental Impact Assessment

 

        ศึกษาสภาวการณ์และการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม การประเมิน การพยากรณ์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งทางกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ และสังคม การสรุปรวบรวมสาเหตุ และตัวการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ และเสนอวิธีการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ

รายวิชา 4263507

การจัดการสิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

Environmental Management

 

        ศึกษาหลักการวิเคราะห์และการจัดการระบบสิ่งแวดล้อม สำรวจ รวบรวมข้อมูลและศึกษาผลกระทบ เพื่อการวางแผนแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการจัดการและพัฒนาแบบยั่งยืน

รายวิชา 4263601

ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ

1 (0-2-1)

 

Water Analysis Laboratory

 

        ปฏิบัติการการเก็บตัวอย่าง การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ทางกายภาพ ทางชีวภาพ และทางเคมี การอ่านผล การเปรียบเทียบผลกับเกณฑ์มาตรฐาน และการแปลผล

รายวิชา 4263701

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

2 (2-0-4)

 

Environmental Law

 

        ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความสำคัญ นโยบายและข้อกำหนดการออกกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและต่างประเทศ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และเทศบัญญัติต่าง ๆ ทางด้านสาธารณสุข แรงงาน อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

รายวิชา 4263709

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการทรัพยากร

3 (2-2-5)

 

Computer for Resource Management

 

        ระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการประมวลผลข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ

รายวิชา 4263901

สัมมนาวิชาการทางสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

Seminar in Environment

 

        การเสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาทางสิ่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ แนวความคิด ผลงาน ข้อมูล หรือสภาพการเปลี่ยนแปลงในสังคมที่อาจจะมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิต สุขภาพและอนามัยของมนุษย์ โดยการศึกษาและค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ แล้วนำมาอภิปราย เพื่อประโยชน์ในการศึกษาเพิ่มเติมหรือนำไปประยุกต์ใช้ต่อไป

รายวิชา 4264401

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3 (2-2-5)

 

Occupational Health and Safety

 

        ศึกษาสาเหตุและธรรมชาติของการเกิดอุบัติเหตุ หลักการควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุ วิธีการเก็บสถิติข้อมูลอาชีวอนามัย กระบวนการตรวจความปลอดภัยให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับงานความปลอดภัย วิธีการให้สวัสดิศึกษา รวมทั้งประเมินถึงอันตรายอันเกิดจากกรรมวิธี และสภาพแวดล้อมในการทำงานชนิดต่างๆ

รายวิชา 4264701

จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Microbiology

 

        ชนิดของจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ในอาหาร น้ำ ดิน และการสุขาภิบาล ประโยชน์และโทษของจุลินทรีย์ อิทธิพลของจุลินทรีย์ต่อสิ่งแวดล้อมและการควบคุมแก้ไข จุลินทรีย์กับอุตสาหกรรม

รายวิชา 4264902

การวิจัยสิ่งแวดล้อม

3 (0-6-3)

 

Environmental Research

 

        ศึกษาค้นคว้าและวิจัยขั้นพื้นฐานทางด้านสิ่งแวดล้อมเสนอเป็นรายงาน

 

            4. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาเฉพาะด้าน เลือก เลือกตามแขนงวิชา ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยเลือกจากแขนงวิชาใดวิชาหนึ่ง

                        4.1 แขนงวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263112

หลักและวิธีการทางอนามัยสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Health Approach

 

        ความหมาย ขอบเขต และแนวคิดทางอนามัยสิ่งแวดล้อม ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับบุคคลและสังคม ความต้องการของมนุษย์ พฤติกรรมอนามัย การเรียนรู้และการจูงใจ โครงสร้างสังคม ทฤษฎีและวิธีการพัฒนาชุมชนทั่วไป องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อโครงการพัฒนาอนามัย

รายวิชา 4263511

สุขภาพส่วนบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (3-0-6)

 

Personal Health and Urban Environment Management

 

        ศึกษาถึงหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับสุขภาพส่วนบุคคล กระบวนการความสัมพันธ์และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิต การปฏิบัติตนที่เหมาะสม การส่งเสริมและการแก้ไขปัญหาสุขภาพ การจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจิต

รายวิชา 4263514

สุขาภิบาลอาหาร และความปลอดภัย

2 (1-2-3)

 

Food Sanitation and Safety

 

        คำจำกัดความสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การสุขาภิบาลเรื่องอาหาร การป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดพิษในอาหาร ทั้งจากสารเคมี และจุลินทรีย์ ผลกระทบต่อสุขภาพ การเลือก การทำความสะอาด การปรุงและเก็บรักษาอาหารให้ปลอดภัย

รายวิชา 4263611

ปฏิบัติการอนามัยสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

Environmental Health Laboratory

 

        ศึกษาและปฏิบัติการเบื้องต้นด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การเก็บตัวอย่าง การตรวจวัด การวิเคราะห์และการประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงานด้านกายภาพและเคมี ทดลองปฏิบัติและฝึกทักษะการใช้อุปกรณ์การตรวจวัด การสรุปสภาพการณ์และการเสนอรายงานการตรวจวิเคราะห์

รายวิชา 4263813

การวางแผนและการนิเทศงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Health Planning and Supervision

 

        ศึกษาหลักเกณฑ์ในการประเมินปัญหาทางอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ การบริหารและดำเนินการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค หลักการวางแผนและการเขียนโครงการ การประเมินโครงการ หลักการและวิธีการที่จะนำมาใช้ในการนิเทศงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาบุคลากร

รายวิชา 4264411

การกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

3 (2-2-5)

 

Solid Wastes and Disposal

 

        ศึกษาปริมาณและองค์ประกอบของขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม ระบบการขนถ่าย วิวัฒนาการการกำจัดขยะ การรวบรวมและขบวนการเก็บขยะ การสำรวจและการวิเคราะห์ขยะ วิธีการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การกำจัดขยะของประเทศไทย เทคโนโลยีการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การนำขยะไปใช้ประโยชน์

 

                        4.2 แขนงวิชามลพิษสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263162

มลพิษดิน

2 (1-2-3)

 

Soil Pollution

 

        กำเนิดและโครงสร้างของดิน ความหมายของมลพิษดิน สาเหตุและปัญหาต่างๆ ที่ทำให้ดินเกิดมลพิษ ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม การป้องกัน ควบคุม และการแก้ไขมลพิษดิน

รายวิชา 4263321

พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Toxicology

 

        ศึกษาความเป็นมาของพิษวิทยา ความหมาย และขอบเขตของพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ปัญหาและผลกระทบจากพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม แหล่งที่มาของพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ในดิน น้ำ อาหาร อากาศ และเครื่องอุปโภคบริโภคต่าง ๆ หลักทั่วไปในการประเมินสภาวะพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม หลักทั่วไปในการป้องกันอันตรายจากสภาวะพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263423

การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Survey and Monitoring

 

        ศึกษาวิธีการ และเครื่องมือในการสำรวจคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น คุณภาพน้ำ คุณภาพอากาศ คุณภาพดิน เป็นต้น การวางแผนสำรวจข้อมูล การเก็บตัวอย่าง การรักษาตัวอย่าง การวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมในภาคสนาม การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลจากการสำรวจ

รายวิชา 4263524

การจัดการของเสียอันตราย

2 (1-2-3)

 

Hazardous Waste Management

 

        ความหมาย ประเภท ชนิดของของเสียอันตราย พิษของของเสียอันตรายแต่ละประเภท การ-แพร่กระจายของพิษของของเสียอันตรายในสิ่งแวดล้อม พิษตกค้าง อันตรายและผลกระทบของของเสียอันตรายที่มีต่อมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม การจัดการกระบวนการให้เกิดของเสียอันตรายให้น้อยที่สุด รวมทั้งการจัดการของเสียอันตรายที่เกิดขึ้น

รายวิชา 4263621

ปฏิบัติการมลพิษสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

Environmental Pollution Laboratory

 

        ศึกษาและปฏิบัติการเบื้องต้นด้านมลพิษสิ่งแวดล้อม ด้านการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การเก็บตัวอย่าง การตรวจวัดและการวิเคราะห์ด้านพิษวิทยา มลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางดิน น้ำ อากาศ เสียง การสั่นสะเทือน แสงสว่าง การสรุปสถานการณ์ การนำเสนอรายงานผลการวิเคราะห์และแนวทางแก้ไข

รายวิชา 4263702

เคมีวิเคราะห์สารมลพิษ

3 (2-2-5)

 

Chemical Analysis of Pollutants

 

        ศึกษาหลักการวิเคราะห์ทางเคมี การใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ทางปริมาณและคุณภาพของสารพิษตกค้างพวกโลหะหนัก ยาฆ่าแมลงและสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่ปนเปื้อนและเจือปนในอาหารและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4264421

วัตถุมีพิษและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Toxic Substance and Environmental Impact

 

        ความหมาย ประเภท ชนิดและโครงสร้างของวัตถุมีพิษ พิษของวัตถุมีพิษแต่ละชนิด การแพร่กระจายของวัตถุมีพิษในสิ่งแวดล้อม พิษตกค้าง อันตรายและผลกระทบของวัตถุมีพิษที่มีต่อมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม การเลือกใช้และวิธีการใช้วัตถุมีพิษชนิดต่างๆ ให้เหมาะสม

 

                        4.3 แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263434

การควบคุมมลพิษ และการจัดการแหล่งมลพิษ

2 (1-2-3)

 

Pollution Control and Management

 

        การควบคุม และการจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม มาตรการควบคุมและกำจัดมลพิษแต่ละประเภท ได้แก่ มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียงและความสั่นสะเทือน ขยะและสิ่งปฏิกูล การควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ค่ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมชองไทยและสากล

รายวิชา 4263532

หลักการบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Principle for Environmental Administration and Management

 

        หลักในการบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า แหล่งน้ำ เป็นต้น ให้สามารถมีใช้ได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน โดยส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมให้น้อยที่สุด

รายวิชา 4263631

ปฏิบัติการการจัดการทรัพยากร

1 (0-2-1)

 

Resource Management Laboratory

 

        ศึกษาและปฏิบัติการเบื้องต้น ด้านการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรต่าง ๆ การสำรวจข้อมูล วิธีการออกแบบสอบถามด้านการจัดการทรัพยากร เป็นต้น

รายวิชา 4263703

สารสนเทศทางภูมิศาสตร์สำหรับงานสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Geographic Information System for Environmental Working

 

        ศึกษาความรู้พื้นฐานและแนวความคิดทางด้านระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ โครงสร้างของข้อมูล การนำเข้าข้อมูล การจัดเก็บและจัดการฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่และการแสดงผล ปฏิบัติการซอฟต์แวร์ทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อนำมาใช้ในงานสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263708

การสำรวจข้อมูลระยะไกลเบื้องต้นสำหรับงานสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Introduction to Remote Sensing for Environmental Working

 

        ศึกษาประวัติและหลักการเบื้องต้นของการสำรวจข้อมูลระยะไกล การสำรวจข้อมูลธรรมชาติด้วยดาวเทียม สัญญาณภาพดาวเทียม การใช้ประโยชน์จากภาพดาวเทียมในงานด้านภูมิศาสตร์ ฝึกปฏิบัติการและตรวจสอบข้อมูลในภาคสนามสำหรับงานสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4264531

การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

3 (2-2-5)

 

Land Use Planning

 

        ความหมาย ความสำคัญของการใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพการใช้ที่ดินในประเทศไทย การจำแนกและหลักการจำแนกสมรรถนะที่ดิน หลักการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การป่าไม้ เมือง ชุมชน และอื่น ๆ การวางแผนการใช้ที่ดิน เน้นกิจกรรมการใช้ที่ดินในประเทศไทยเป็นสำคัญ

 

                        4.4 แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

รายวิชา 4263541

หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

Principle of Urban Environmental Management

 

        หลักการเบื้องต้นของการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน วิธีผสมผสานการจัดการทรัพยากรอย่างเป็นระบบ การสร้างนโยบาย มาตรการ แผนงาน โครงการ และกิจกรรมการจัดการทรัพยากรเฉพาะอย่างและแบบผสมผสาน เพื่อการพัฒนาสุขภาพ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของคนในชุมชน เพื่อการวางแผนแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการจัดการและพัฒนาแบบยั่งยืน

รายวิชา 4263542

การจัดการทรัพยากรน้ำ

2 (1-2-3)

 

Water Resource and Management

 

        ชนิดและการกระจายของแหล่งน้ำธรรมชาติ แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น ประโยชน์และสภาพปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ การสำรวจและวางแผนพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อจุดมุ่งหมายต่างๆ โดยเน้นประเทศไทย

รายวิชา 4263543

การจัดการผังเมือง

3 (2-2-5)

 

Urban Planning

 

        การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการวางผังเมือง โครงสร้างและการกระจายตัวของประชากร การ-วางแผนการใช้ที่ดินในเขตเมืองและในเขตชนบท การกำหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Zoning) กฎหมายผังเมือง นโยบายการพัฒนาเมือง การวางผังจราจร การวางผังเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263641

ปฏิบัติการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

1 (0-2-1)

 

Urban Environmental Management Laboratory

 

        ศึกษาและปฏิบัติการเบื้องต้น ด้านการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรต่าง ๆ การสำรวจข้อมูล วิธีการออกแบบสอบถามด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน เป็นต้น

รายวิชา 4263844

การวางแผนและการนิเทศงานสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

Urban Environmental Health Planning and Supervision

 

        ศึกษาหลักเกณฑ์ในการประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน การบริหารและดำเนินการ หลักการวางแผนและโครงการ การประเมินโครงการ หลักการและวิธีการที่จะนำมาใช้ในนิเทศงานการพัฒนาบุคลากร

รายวิชา 4264441

การสำรวจและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมชุมชน

3 (2-2-5)

 

Urban Environmental Survey and Monitoring

 

        ศึกษาวิธีการ และเครื่องมือในการสำรวจคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน เช่น คุณภาพน้ำ คุณภาพอากาศ คุณภาพชีวิต การวางแผนสำรวจข้อมูล การเก็บตัวอย่าง การรักษาตัวอย่าง การวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมในภาคสนาม การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลจากการสำรวจ

 

                        4.5 แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4263351

เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย

3 (2-2-5)

Technology for Wastewater Treatment

        ศึกษาองค์ประกอบของน้ำเสีย ลักษณะเฉพาะของระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่าง ๆ การเลือกระบบบำบัดน้ำเสียให้เหมาะกับสภาพพื้นที่และลักษณะน้ำทิ้ง มาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชน การวางแผนจัดการคุณภาพ การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียพื้นฐาน

รายวิชา 4263352

เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศ

3 (2-2-5)

 

Technology for Air Pollution Control

 

        แหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ สารมลพิษ การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ มาตรฐานคุณภาพอากาศ เทคโนโลยีในการควบคุมสารมลพิษทางอากาศจากยวดยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารต่าง ๆ

รายวิชา 4263354

หลักการเกี่ยวกับแบบจำลองทางสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Principle of Environmental Modeling

 

        ศึกษาหลักการเกี่ยวกับแบบจำลองทางสิ่งแวดล้อม และศึกษาตัวอย่างแบบจำลองทางสิ่งแวดล้อมของโครงการต่างๆ และนำแบบจำลองมาทดลองใช้กับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น

รายวิชา 4263651

ปฏิบัติการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

1 (0-2-1)

 

Laboratory for Environmental Technology

 

        ศึกษาและปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องมือในการควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีควบคุมและกำจัดมลพิษแต่ละประเภท ได้แก่ มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียงและความสั่นสะเทือน ขยะและสิ่งปฏิกูล การควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ค่ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของไทยและสากล

รายวิชา 4263704

เทคโนโลยีในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Technology for Environmental Quality Survey

 

        การใช้เทคโนโลยี และวิธีการในการติดตามตรวจสอบ เฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทั้งดิน น้ำ อากาศ ประเมินสภาวะเสี่ยงเมื่อมีปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4264355

เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการสิ่งแวดล้อม

3 (3-0-6)

 

Technology for Environmental Management

 

        การเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งทางดิน น้ำ และอากาศ โดยการใช้เทคโนโลยีและวิธีการแบบผสมผสาน เพื่อที่จะสามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างยั่งยืน

 

                        4.6 แขนงวิชาสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ

รายวิชา 4263167

ทรัพยากรประมงและการจัดการ

3 (3-0-6)

 

Fishery Resource and Management

 

        ความหมายและขอบเขตของทรัพยากรประมงน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม ความสำคัญ และบทบาทของทรัพยากรประมง ปริมาณและคุณภาพน้ำต่อความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรประมง การสำรวจและประเมินคุณค่าของทรัพยากรประมง การฟื้นฟูแหล่งน้ำธรรมชาติ การสืบพันธุ์ตามธรรมชาติกับผลผลิตยั่งยืน การเก็บเกี่ยวผลผลิต การเพาะเลี้ยงและการวางแผนการจัดการทรัพยากรประมง

รายวิชา 4263168

การวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

3 (3-0-6)

 

Human Resource Development Planning

 

        มนุษย์และการตั้งถิ่นฐานในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก กลุ่มเชื้อชาติ ศาสนา วิถีชีวิตและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน ความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนการพัฒนาคุณภาพทรัพยากรมนุษย์

รายวิชา 4263705

สมุทรศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3 (2-2-5)

 

Environmental Oceanography

 

        ศึกษาองค์ประกอบของชายฝั่ง ลักษณะทางกายภาพ สัณฐานวิทยาการพังทลายของชายฝั่ง ลักษณะกระแสน้ำ การศึกษารูปแบบของกระแสน้ำ ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิกับกระแสน้ำ ความสัมพันธ์ของกระแสน้ำกับมลพิษทางทะเล รูปแบบกระแสน้ำในทะเลไทย

รายวิชา 4263706

สารฆ่าแมลง

3 (2-2-5)

 

Insecticides

 

        ศึกษาประเภทของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ การเลือกใช้ อันตรายที่มีต่อมนุษย์ วิธีใช้สารฆ่าแมลงด้วยเครื่องมือชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการใช้สารฆ่าแมลงเพื่อควบคุมแมลงนำโรคที่สำคัญ ๆ และต้องคำนึงถึงผลที่จะกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย

รายวิชา 4263707

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเบื้องต้น

2 (2-0-4)

 

Introduction to Public Health Economics

 

        ศึกษาการประยุกต์วิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อนำมาใช้ในงานด้านสาธารณสุขและสุขภาพอนามัย โดยเน้นถึงความสำคัญของการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้ได้ประโยชน์สูงสุด และเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในเรื่องการให้บริการสาธารณสุขและการบริการการรักษาพยาบาล การจัดสรรงบประมาณและการประเมินโครงการสาธารณสุข ตลอดจนความสัมพันธ์ของงานสาธารณสุขกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

รายวิชา 4264161

การบำบัดน้ำทิ้งจากชุมชน

3 (2-2-5)

 

Domestic Wastewater Treatment

 

        ศึกษาแหล่งกำเนิด คุณสมบัติ ปริมาณน้ำทิ้งจากชุมชน มาตรฐานน้ำทิ้งจากชุมชน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการบำบัดน้ำโสโครก การควบคุมและแก้ไขระบบบำบัดน้ำเสียของชุมชน

รายวิชา 4264162

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 2

3 (2-2-5)

 

Water Analysis 2

 

        การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ เพื่อหาปริมาณโลหะหนัก สารพิษ สารฆ่าแมลง และจุลชีพในน้ำ การประเมินค่าความสกปรกของน้ำ และผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต

รายวิชา 4264169

น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและการควบคุม

2 (1-2-3)

 

Industrial Wastewater and Control

 

        ศึกษาคุณสมบัติและอันตรายของน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ที่มีต่อสภาวะแวดล้อมและการสาธารณสุข ระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่าง ๆที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม การเลือกใช้ การควบคุม และการรักษาระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพ

 

            5. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

                    วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 7 หน่วยกิต

รายวิชา 4263801

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

2(90)

 

Preparation for Professional Experience in Environment

 

        จัดเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ สถานประกอบการ และหน่วยงานราชการ ทั้งทางด้านบุคลิกภาพ การจัดเอกสาร คอมพิวเตอร์ และการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ ด้านสิ่งแวดล้อม

รายวิชา 4264802

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสิ่งแวดล้อม

5(450)

 

Training for Professional Experience in Environment

 

        การฝึกงานในโรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงานราชการ หรือ องค์การรัฐวิสาหกิจต่างๆ ไม่น้อยกว่า 450 ชั่วโมง ในช่วงเวลาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ระหว่างภาคฤดูร้อนและภาคเรียนสุดท้าย พร้อมทั้งส่งรายงานต่อภาควิชาและจัดสัมมนาเผยแพร่

 

            6. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

รายวิชา 4265471

การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรนันทนาการ

2 (1-2-3)

 

Conservation and Management of Recreation Resources

 

        ชนิด และแหล่งทรัพยากรนันทนาการในประเทศไทย สภาพปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ และวางแผนเพื่อการพัฒนา และอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรนันทนาการทั้งที่มีอยู่เดิมและแหล่งใหม่

รายวิชา 4265472

การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า

2 (1-2-3)

 

Conservation and Management of Wildlife

 

        ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ปัจจัยในการดำเนินชีวิต สาเหตุที่สัตว์ป่าลด จำนวน พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า หลักการจัดการสัตว์ป่า นโยบายการอนุรักษ์และการจัดการสัตว์ป่าในประเทศไทย

รายวิชา 4265473

ป่าไม้และการอนุรักษ์

2 (1-2-3)

 

Forest and Conservation

 

        ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของป่าไม้ การจำแนกป่าไม้ของประเทศไทย ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรป่าไม้ กฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้ การอนุรักษ์และการจัดการป่าไม้

รายวิชา 4265474

กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

2 (1-2-3)

 

Environmental Conservation Activity

 

        ปลูกจิตสำนึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยกระบวนการการจัดกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วางแผนการดำเนินงาน และลงมือปฏิบัติจริง โดยนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้กับท้องถิ่น

รายวิชา 4265475

นิเวศวิทยาพรรณไม้น้ำ

2 (1-2-3)

 

Aquatic Plant Ecology

 

        ศึกษาพรรณไม้น้ำถึงวงศ์และสกุลที่มีในทะเลไทย โดยเฉพาะไม้ดอก รวมถึงวิธีการจัดจำแนกต้น-กำเนิด สภาพนิเวศวิทยา วัชพืชและความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ

รายวิชา 4265476

การอนุรักษ์และการจัดการลุ่มน้ำ

2 (1-2-3)

 

Watershed Conservation and Management

 

        ลุ่มน้ำและความคิดรวบยอดเกี่ยวกับลุ่มน้ำ โครงสร้างของทรัพยากรลุ่มน้ำและสมดุลทางนิเวศวิทยา หลักการจัดการลุ่มน้ำ เพื่อควบคุมปริมาณ คุณภาพและอัตราการไหลของน้ำ การควบคุมและป้องกันการ-พังทลายของดิน อุทกภัย ความแห้งแล้ง และมลพิษในพื้นที่ลุ่มน้ำ การพัฒนาแหล่งเสื่อมโทรมของพื้นที่ลุ่ม-น้ำ ความรู้เบื้องต้นในการสำรวจ และวิเคราะห์ลุ่มน้ำ เพื่อวางแผนจัดการลุ่มน้ำ

รายวิชา 4265477

การอนุรักษ์ธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม

2 (2-0-4)

 

Nature and Cultural Heritage Conservation

 

        ความสำคัญของการอนุรักษ์ธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม ประเภทของธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรแก่การอนุรักษ์ สภาพปัจจุบันของการอนุรักษ์ธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม นโยบายและแผนการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม ปัญหาและอุปสรรคในการอนุรักษ์ วิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ ดังนี้

        18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี   

        18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

        18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

        18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการ ดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี

        19.2 การประเมินหลักสูตร

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดยผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

**************

 

ภาคผนวก

1. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม พุทธศักราช 2549

        ตารางแสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรปรับปรุง

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

คงเดิม

จัดเป็น 5 แขนงวิชา(หรือวิชาเอก)

2

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

คงเดิม

คงเดิม

3

ปรัชญาของหลักสูตร

มี

มี

 

4

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

4 ข้อ

4 ข้อ

คงเดิม

5

หลักสูตร

     

5.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต

133 หน่วยกิต

 

5.2 โครงสร้างของหลักสูตร

     

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

(107 หน่วยกิต)

(93 หน่วยกิต)

 

2.1 วิชาแกน

ไม่มี

30 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

72 หน่วยกิต

41 หน่วยกิต

 

2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

13 หน่วยกิต

15 หน่วยกิต

 

2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

7 หน่วยกิต

 

2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

(2) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

5.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ใช้ระบบเลข 7 หลัก จัดเลขหลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 

5.4 คำอธิบายวิชา

เดิมมี 142 รายวิชา

ปรับปรุงคำอธิบายใหม่ 16 รายวิชา

ตัดออก 80 รายวิชา
เพิ่มใหม่ 21 รายวิชา

6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

5 คน

6 คน

 

7

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

มีจำนวน 6 คน

 

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

        1. ศาสตราจารย์ ดร.เกษม จันทร์แก้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Ph.D. (Forestry Hydrology)

        2. ดร.พรทิพย์ โภไคยอุดม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค.ด. (การศึกษานอกระบบโรงเรียน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        3. อ.วาสนา วราภักต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี  ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล

        4. นายธีระ เก่งเขตกรณ์ สาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ วศ.ม. (สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

        5. ดร.สุภาวรรณ วงศ์คำจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วท.ด. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

        6. นางถิรนันท์ สุพรรณคำ องค์การบริหารส่วนตำบลระบำ จ.อุทัยธานี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

        7. ศิริพร กอผจญ หัวหน้าผู้จัดการ บ.เอสซีลอร์ เมนูแฟ็คเจอริ่ง(ประเทศไทย) วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

        8. อ.อุรา บุบผาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล

        9. อ.พิมรา ทองแสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศษ.ม. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล

        10. อ.ทินพันธุ์ เนตรแพ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยนเรศวร

        11. อ.สุมนา มณีพิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วท.ม. (เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหิดล

        12. อ.อนุวัตน์ แสงอ่อน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        13. อ.ฤทัยรัตน์ โพธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยนเรศวร

3. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

        1. มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวะพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์ แกรนด์รีสอร์ท จ.พิษณุโลก เมื่อวันที่ 28 – 30 ตุลาคม 2545 ได้มาตรฐานหลักสูตรชื่อหลักสูตรวิชาแกน วิชาบังคับและบางส่วนของวิชาเลือก

        3. การดำเนินการประชุมโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เพื่อจัดทำร่างหลักสูตร เมื่อเดือนมกราคม 2547

        4. เดินทางไปศึกษาการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการหลักสูตร ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2547

        5. การสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2547

        6. การประชุมกำหนดวิสัยทัศน์และปรัชญาของหลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2548

        7. นำเสนอสภาวิชาการ และสภาวิชาการเห็นชอบหลักสูตรเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2548

        8. ประชุมปฏิบัติการวิพากษ์หลักสูตร ณ ห้วยป่าปกรีสอร์ท

        9. ประชุมปรับปรุง แก้ไขหลักสูตร ตามที่คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรเสนอ

        10. นำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2548

        11. นำเสนอหลักสูตรต่อคณะอนุกรรมการวิชาการ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2548

        12. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของสภาวิชาการและอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ

        13. นำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2548 สภามหาวิทยาลัย โดยมีมติอนุมัติหลักสูตรนี้

4. การแก้ไขปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา

        มีการแก้ไขชื่อวิชาบางวิชาและแก้ไขคำอธิบายรายวิชาสำหรับบางวิชา อีกทั้งมีการเพิ่มเติมบางวิชา ดังตัวอย่างต่อไปนี้

        4.1 ตัวอย่างรายวิชาที่มีการแก้ไขชื่อวิชา

ชื่อวิชาภาษาไทย การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรนันทนาการ / ภาษาอังกฤษ Conservation and Management of Recreation Resources

รหัสวิชาใหม่ 4265471 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 4062504 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ชนิด และแหล่งทรัพยากรนันทนาการในประเทศไทย สภาพปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ และวางแผนเพื่อการพัฒนา และอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรนันทนาการทั้งที่มีอยู่เดิม
และแหล่งใหม่

    ชนิดและแหล่งของทรัพยากรนันทนาการในประเทศไทย สภาพปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์และการวางแผนเพื่อการพัฒนาและอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรนันทนาการทั้งที่มีอยู่เดิมและแหล่งใหม่

    เปลี่ยนชื่อให้เข้าใจง่ายตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

        4.2 ตัวอย่างรายวิชาที่มีการแก้ไขคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชาภาษาไทย พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม / ภาษาอังกฤษ Fundamental of Environmental Science

รหัสวิชาใหม่ 4261101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 4061101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมาย และขอบเขตของสิ่งแวดล้อม สมดุลธรรมชาติ โลกทั้งระบบ (Earth as System) ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมกับการแก้ไขปัญหา การป้องกัน การพัฒนาเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่ง
แวดล้อมต่างๆโดยทั่วไป และเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆโดยทั่วไป และเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมในแต่ละภาคที่กำลังประสบปัญหาในสภาวะปัจจุบัน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษาความสัมพันธ์ในระบบสิ่งแวดล้อม

    ความหมาย และขอบเขตของสิ่งแวดล้อม สมดุลธรรมชาติ ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมกับการแก้ปัญหาการป้องกัน การพัฒนาเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆโดยทั่วไป และเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆโดยทั่วไป และเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมในแต่ละภาคที่กำลังประสบปัญหาในปัจจุบัน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษาความสัมพันธ์ในระบบสิ่งแวดล้อม

    เพื่อให้เนื้อหาทันสมัย ก้าวทันเทคโนโลยี

ชื่อวิชาภาษาไทย นิเวศวิทยากับสิ่งแวดล้อม / ภาษาอังกฤษ Ecology and Environment

รหัสวิชาใหม่ 4261701  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 4061102 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบนิเวศแต่ละระบบและความสัมพันธ์ระหว่างระบบนิเวศแต่ละระบบกับสิ่งแวดล้อม ผลการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

    ความหมายของประชากร ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ปัญหาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมกับการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับระบบนิเวศ ศึกษาปัญหาวิธีการแก้ปัญหาของมนุษย์ มลภาวะในสังคมมนุษย์ ผลกระทบของวิกฤตการณ์ด้านพลังงาน การเมือง ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม ต่อระบบนิเวศของมนุษย์ สาเหตุและผลกระทบของความเสื่อมโทรม คุณภาพสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

    เนื้อหาวิชามากไม่สามารถดำเนินการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

        1. มหาวิทยาลัยจัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจากผู้ทรงคุณวุฒิศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวะพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์ แกรนด์รีสอร์ท จ.พิษณุโลก เมื่อวันที่ 28 – 30 ตุลาคม 2545 ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตรวิชาแกน วิชาบังคับและบางส่วนของวิชาเลือก

        3. การดำเนินการประชุมโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เพื่อจัดทำร่างหลักสูตร เมื่อเดือน มกราคม 2547

        4. เดินทางไปศึกษาการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการหลักสูตร ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2547

        5. การสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2547

        6. การประชุมกำหนดวิสัยทัศน์และปรัชญาของหลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์ฯมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2548

        7. นำเสนอสภาวิชาการ และสภาวิชาการเห็นชอบหลักสูตรเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2548

        8. ประชุมปฏิบัติการวิพากษ์หลักสูตร ณ ห้วยป่าปกรีสอร์ท

        9. ประชุมปรับปรุง แก้ไขหลักสูตร ตามที่คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรเสนอ

6. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

        1. ศ.ดร.เกษม จันทร์แก้ว วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

        2. ดร.พรทิพย์ โภไคยอุดม สำนักงานจัดการศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        3. อ.วาสนา วราภักต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี

        4. นายธีระ เก่งเขตกรณ์ สาธารณสุข จังหวัดนครสวรรค์

7. มาตรฐานด้านคุณลักษณะบัณฑิต

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการกำหนดมาตรฐานด้านคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามประเด็นของการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้เพิ่มเติม โดยภาควิชาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม จะดำเนินการตรวจสอบคุณลักษณะของบัณฑิตโดยใช้แบบประเมินคุณลักษณะบัณฑิตทั้ง 3 ด้าน ได้แก่

                1. ด้านความรู้
                2. ด้านทักษะการปฏิบัติ
                3. ด้านคุณลักษณะ

        ทั้งนี้จะมีการประเมินเป็นระยะๆ และนำผลมาปรับปรุงพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต เพื่อให้เกิดคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของภาควิชาชีววิทยา และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ต่อไปนี้

            1. คุณลักษณะบัณฑิตด้านความรู้

                1.1 มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ ของนักวิทยาศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ทฤษฎี และปฏิบัติการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมอย่างลึกซึ้ง จนสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
                1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
                1.3 มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ของวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และสาขาที่เกี่ยวข้อง
                1.4 มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
                1.5 มีความรู้ความเข้าใจทางด้านสังคมและวิชาการใหม่ๆ โดยเฉพาะความเข้าใจระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การเมือง การ-ปกครองของไทย ตลอดจนมีความรู้ ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้า
                     ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

            2. คุณลักษณะบัณฑิตด้านทักษะปฏิบัติ

                2.1 สามารถประยุกต์ทฤษฎีและปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
                2.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และทักษะการปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
                2.3 มีทักษะวิธีการแสวงหาองค์ความรู้ใหม่โดยวิธีการวิจัย และสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
                2.4 มีทักษะการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคอมพิวเตอร์ ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ดี
                2.5 มีทักษะในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง สามารถคิดอย่างมีเหตุผล และวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้
                2.6 มีทักษะด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

        3. คุณลักษณะบัณฑิตด้านคุณลักษณะ

                3.1 มีความสนใจ ใฝ่รู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ
                3.2 มีความอดทน ประหยัด ขยันหมั่นเพียร สู้งาน ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา มีความเป็นธรรมและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
                3.3 มีบุคลิกภาพที่ดี มีภาวะผู้นำ (Leadership) และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
                3.4 มีความสุภาพ อ่อนโยน รู้จักกาลเทศะในการพูด การแต่งกายที่เหมาะสม
                3.5 มีนิสัยของความเป็นระเบียบ มีความละเอียดรอบคอบ และยึดหลักปฏิบัติของ 5 ส (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย)
                3.6 มีคุณธรรม จริยธรรม และยึดมั่นในจรรยาบรรณของวิชาชีพ
                3.7 มีจิตใจเป็นประชาธิปไตย กระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
                3.8 มีจิตสำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น มีความซาบซึ้งในศิลปะและวัฒนธรรมไทย
                3.9 มีจิตสำนึกในการพัฒนาสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
                3.10 มีความซาบซึ้งในคุณค่าของสัจธรรม ความดี ความงาม และการดำรงตนให้มีคุณค่าต่อสังคม
                3.11 มีความตระหนักในคุณค่าของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                3.12 มีสุขนิสัยที่ส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจ ทั้งส่วนตนและส่วนรวม

 

 

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์