หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2549
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

 

1

ชื่อหลักสูตร

2

ชื่อปริญญา

3

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

4

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

5

กำหนดการเปิดสอน

6

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

8

ระบบการศึกษา

9

ระยะเวลาการศึกษา

10

การลงทะเบียนเรียน

11

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

12

อาจารย์

13

จำนวนนักศึกษา

14

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

15

ห้องสมุด

16

งบประมาณ

17

หลักสูตร

 

17.1 จำนวนหน่วยกิต

 

17.2 โครงสร้างหลักสูตร

 

17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

 

17.4 แผนการศึกษา

 

17.5 คำอธิบายรายวิชา

18

การประกันคุณภาพของหลักสูตร

19

การพัฒนาหลักสูตร

 

ภาคผนวก

 

สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต( เกษตรศาสตร์ )

 

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

 

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสาขาวิชาการเกษตร

  ข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
  การแก้ไข - ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรปรับปรุง
พุทธศักราช 2549

.....................................

 

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Agriculture

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ )
  Bachelor of Science (Agriculture)
ชื่อย่อ : วท.บ. (เกษตรศาสตร์)
  B.Sc. (Agriculture)

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

        คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

        4.1 ปรัชญาของหลักสูตร

                มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ และมีทักษะวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยีการเกษตร พร้อมทั้งมีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้พัฒนาชีวิตและเศรษฐกิจของท้องถิ่น

        4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                1. มีความรู้และทักษะทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร
                2. มีความคิดสร้างสรรค์สามารถวิเคราะห์งานด้านเทคโนโลยีการเกษตรได้อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
                3. มีความสามารถในการสื่อสารและใช้ความรู้ ผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ดี
                4. มีความใฝ่รู้ สามารถพึ่งพาตนเองได้และดำรงตนเป็นพลเมืองดี
                5. มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคมได้

5. กำหนดการเปิดสอน

        เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

        จะต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

        ตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป

8. ระบบการศึกษา

        ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค (Semester) ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ หากมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูร้อน (Summer Session) จะต้องมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

        การคิดหน่วยกิต

                รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
                การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำโครงงาน หรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา

        ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร รวมทั้งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาประเภทเต็มเวลาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน

        การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาปกตินักศึกษาจะต้องลงทะเบียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต แต่จะต้องไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนในภาคฤดูร้อนจะลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

        11.1 การวัดผลการศึกษา

        11.2 การสำเร็จการศึกษา

12. อาจารย์

        12.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่จัดให้สอน

1

นายสาวิตโพธิ์แก้ว

    -  วท.ม.(เกษตรศาสตร์) สาขาโรคพืช  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
       ในปีพ.ศ.2516
    -  วท.บ.(เกษตรศาสตร์) สาขากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
       ในปีพ.ศ.2513

เอกสารประกอบการสอน

    -  การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
    -  การขยายพันธุ์พืช
    -  การเพาะเลี้ยงเห็ด
    -  งานวิจัยประมาณ 10 เรื่อง

ตำแหน่งหน้าที่

    -  คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
    -  การขยายพันธุ์พืช
    -  เห็ดและการผลิตเห็ด
    -  แมลงสำคัญทางการเกษตร
    -  โรคพืชสำคัญทางการเกษตร
    -  โครงการตามพระราชดำริ
    -  การส่งเสริมการเกษตร
    -  การจัดการฟาร์ม
    -  การสหกรณ์การเกษตร

2

นายสุกิตติ กำแพงเศรษฐ

    - วท.ม.(เกษตรศาสตร์)สาขาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    - วท.บ.(พืชศาสตร์)  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลบางพระ

เอกสารประกอบการสอน

    -  อนุรักษ์ดินและน้ำ
    -  พืชประเภทผัก
    -  งานวิจัยประมาณ 5 เรื่อง

รายวิชาที่จัดสอน

    -  อนุรักษ์ดินและน้ำ
    -  ช่างเกษตร
    -  การขยายพันธุ์พืช
    -  การวางแผนการทดลองและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
    -  หลักการผลิตผัก
    -  ปฐพีวิทยา

3

นางสาวสุกัญญา สุจริยา

    -  วท.ม. (พืชไร่) การปรับปรุงพันธุ์พืช มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปีพ.ศ.2547
    -  วท.บ. (เกษตรศาสตร์) สาขาพืชไร่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปีพ.ศ.2544

ประสบการณ์ทำงาน

    -  ผู้ช่วยวิจัยโครงการถั่วลิสง ในส่วนการปรับปรุงพันธุ์
       คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

งานวิจัย

    -  วันปลูกที่เหมาะสมสำหรับการหาค่าสัมประสิทธิ์พันธุกรรมของถั่วลิสงใน
       แบบจำลองการเจริญ เติบโตCROPGRO-Peanut

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร และเทคโนโลยี
       อุตสาหกรรม

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การปรับปรุงพันธุ์พืช
    -  การขยายพันธุ์พืช
    -  หลักการควบคุมและกำจัดวัชพืช
    -  การผลิตพืชไร่เศรษฐกิจ

4

นายธันวา ไวยบท

    -  วท.ม. (สัตวศาสตร์) สาขาโภชนศาสตร์สัตว์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
       ในปีพ.ศ.2547
    -  วท.บ. (การผลิตสัตว์)  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในปีพ.ศ.2544

เอกสารและบทความวิชาการ

    -  การผลิตสัตว์เล็ก (Active Learning)
    -  คู่มือทำสัมมนาสัตวบาล
    -  เอกสารประกอบการประชุม สัมมนาวิชาการสัตวบาลครั้งที่1 และ2
    -  โรคสุนัขและการรักษาเบื้องต้น
    -  การเลี้ยงปลาช่อนในกระชัง : วารสารศูนย์บางพระ
    -  มะนาวนอกฤดู : เมืองไม้ผล

งานวิจัย

    -  การศึกษาสมรรถภาพการผลิตโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชียนในจังหวัดนครสวรรค์
    -  ผลการใช้แสงสีเขียวต่อประสิทธิภาพการผลิตไก่เนื้อ

รายวิชาที่จัดสอน

    -  การผลิตโคนม
    -  การผลิตโคเนื้อ
    -  โภชนศาสตร์สัตว์
    -  อาหารและการให้อาหารสัตว์
    -  ปัญหาพิเศษ
    -  สัมนาการเกษตร
    -  การตรวจและการวิเคราะห์อาหารสัตว์
    -  เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
    -  การผลิตสัตว์เล็ก
    -  การผลิตสัตว์ปีก
    -  การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก
    -  การผลิตสุกร
    -  การการวางแผนและวิเตราะห์ทางสถิติ

5

นายสมชาย ศรีพูล

    -  วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
       ในปีพ.ศ.2535
    -  ทษ.ม. (สัตวศาสตร์) สัตว์ปีก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในปีพ.ศ.2531
    -  สส.บ. (ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
       ในปีพ.ศ.2538

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

    -  หลักการส่งเสริมการเกษตร
    -  หลักการเลี้ยงสัตว์
    -  การผลิตสัตว์ปีก
    -  การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
    -  สารพิษในอาหารสัตว์

งานวิจัย

    -  การใช้สมุนไพรในไก่เนื้อ
    -  ไก่ไข่
    -  การผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากมูลสัตว์
    -  ปุ๋ยชีวภาพ
    -  ปุ๋ยอินทรีย์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
    -  ผู้จัดการฟาร์มมหาวิทยาลัยฯ

รายวิชาที่จัดสอน

    -  หลักการเลี้ยงสัตว์
    -  การผลิตสัตว์ปีก
    -  โรคและสุขาภิบาลสัตว์
    -  พืชอาหารสัตว์
    -  หลักการส่งเสริมการเกษตร
    -  การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
    -  โครงการเกษตรสารพิษในอาหารสัตว์

        12.2 อาจารย์ ผู้สอน

ที่

ชื่อ-สกุล/วุฒิการศึกษา

ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการ

ตำแหน่งหน้าที่/รายวิชาที่จัดให้สอน

1

นายทัศนุพันธุ์ กุศลสถิตย์

    -  วท.ด. (พืชสวน) สรีรวิทยาการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
       ในปีพ.ศ.2545
    -  วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปีพ.ศ.2531
    -  วท.บ. (เกษตรศาสตร์) สาขาปฐพีและอนุรักษ์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
       ในปีพ.ศ.2525

เอกสารประกบการสอน

    -  การปลูกพืชไร้ดิน(Hydroponics) เบื้องต้น
    -  การดูแลและการจัดการในระบบปลูกพืชไร้ดิน
    -  หลักการไม้ผล
    -  สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

งานวิจัย

    -  สมดุลแลกเปลี่ยนประจุบวกของดินชุดสันทราย
    -  ผลของอุณหภูมิรากต่อการเจริญเติบโตของส้มโอ ปลูกด้วยระบบ
       sand culture
    -  ผลของอุณหภูมิและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อการเก็บรักษาดอกมะลิลา
    -  ความเป็นไปได้การใช้เม็ดดินเผาเป็นวัสดุปลูกพืชในภาชนะ
    -  ผลของความเครียดขาดน้ำต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและการออกดอกของ
       ส้มโชกุน
    -  การเจริญเติบโตของผักสลัดในระบบปลูกพืชไร้ดินแบบ NFT
    -  ผลของสัดส่วน N/K ต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดในระบบปลูกพืชไร้ดิน
       แบบ NFT
    -  การเพิ่มประสิทธิภาพแปลงผักไร้ดินในเชิงอุตสาหกรรมโดยดัชนีชี้วัด และ
       การคาดการณ์ผลผลิต (ร่วม)
    -  ผลการทดลองใช้สารจุลินทรีย์ ชีวภาพในการผลิตผักคะน้า
    -  ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา
       ม.ราชภัฏนครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

รายวิชาที่จัดสอน

    -  เทคโนโลยีการผลิตพืช
    -  หลักการไม้ผล
    -  สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
    -  วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
    -  สรีรวิทยาของพืช
    -  หลักการขยายพันธุ์พืช
    -  การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้
    -  เทคโนโลยีการปลูกพืชไม่ใช้ดิน

2

นายธาตรี จีราพันธุ์

    -  Ph.D.(Animal Science) Central Luzon State University ในปีพ.ศ.2534
    -  M.S.(Animal Science) Central Luzon State University ในปีพ.ศ.2530
    -  วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง
       ในปีพ.ศ.2524

เอกสารประกอบการสอน

    -  อาหารและการให้อาหารสัตว์
    -  หลักการผลิตสัตว์
    -  การเลี้ยงสัตว์เล็ก
    -  กายวิภาคและสรีรวิทยาสัตว์
    -  การตรวจวิเคราะห์อาหารสัตว์

งานวิจัย

    -  การใช้อาหารหยาบทดแทนในโคเนื้อลูกผสมในฤดูแล้ง
    -  การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารพลังงานหลักในอาหารไก่กระทง
    -  ชุดการสอนวิชาหลักการเลี้ยงสัตว์ในหลักสูตร ป.ตรี ของสถาบัน -
       ราชภัฏนครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  กรรมการสภามหาวิทยาลัย

รายวิชาที่จัดสอน

    -  หลักการผลิตสัตว์
    -  กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์
    -  การจัดการของเสียจากฟาร์มสัตว์
    -  เภสัชวิทยาเบื้องต้น
    -  ไร่นาสวนผสมอาหารและการให้อาหารสัตว์

3

ผศ. จงดี ศรีนพรัตน์วัฒน

    -  วท.ม.(วิทยาศาสตร์ประมง) สาขาโรคสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
       ในปีพ.ศ.2530
    -  วท.บ.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยบูรพา ในปีพ.ศ.2527
    -  (กำลังศึกษาต่อปริญญาเอก)

เอกสารประกอบการสอน

    -  โรคปลา
    -  การเลี้ยงและเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม

งานวิจัย

    -  โปรโตซัวที่เป็นปรสิตภายนอกของปลาน้ำจืดบางชนิด
    -  การเพาะขยายพันธุ์ไดอะตอมที่เป็นอาหารในการอนุบาลลูกกุ้งวัยอ่อน
    -  การศึกษาเปรียบเทียบการเกิดอวัยวะและลักษณะทางเนื้อเยื่อระหว่างปลาดุก
       ลูกผสม และปลาดุกอัฟริกัน
    -  การศึกษาการต้านทานโรคในลูกปลาดุกอุยที่เกิดจากพ่อแม่ปลาที่ได้รับการฉีด
       วัคซีน
    -  ความหลากหลาย ความชุกชุม การแพร่กระจายของสัตว์หน้าดินในบึงบอระเพ็ด
       จ. นครสวรรค์
    -  การเจริญเติบโตและผลผลิตของกุ้งก้ามกรามในบึงบอระเพ็ด จ. นครสวรรค์

ตำแหน่งหน้าที่

    -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

รายวิชาที่จัดสอน

    -  หลักการประมง
    -  หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
    -  มีนวิทยา
    -  การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม
    -  โรคและปรสิตสัตว์น้ำ
    -  ฯลฯ

13. จำนวนนักศึกษา

        แผนการรับนักศึกษาและจำนวนนักศึกษาที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา แสดงดังตาราง

นักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าและสำเร็จการศึกษา แต่ละปีการศึกษา

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ชั้นปีที่ 1

120

120

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 2

-

120

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 3

-

-

120

120

120

120

ชั้นปีที่ 4

-

-

-

120

120

120

รวม

120

140

360

480

480

480

จำนวนที่คาดว่าสำเร็จการศึกษา

-

-

-

120

120

240

14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

        14.1 สถานที่

ที่

อาคารสถานที่

จำนวนที่มีอยู่แล้ว

จำนวนที่ต้องการเพิ่ม

1

อาคารสำนักงานคณบดี ม.ราชภัฏนครสวรรค์

1

-

2

อาคารสำนักงานวิทยาเขตย่านมัทรี

1

 

3

อาคารโปรแกรมวิทยาศาสตร์การอาหาร ม.ราชภัฏนครสวรรค์

1

1

4

อาคารเรียนและปฏิบัติการด้านการเกษตร วิทยาเขตเขาแรด

1

1

5

อาคารเก็บอุปกรณ์การเกษตร

1

-

6

อาคารเอนกประสงค์

1

2

7

ลานปั้นเม็ดปุ๋ย

1

-

8

อาคารปฏิบัติการด้านการเกษตร วิทยาเขตย่านมัทรี

1

-

9

ไฮโดรโพนิกส์

3

-

10

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

1

1

11

ห้องปฏิบัติการด้านอาหาร

2

-

12

ห้องวิจัยโปรแกรมวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

1

-

13

อาคารเพาะเห็ด เขาแรด

1

-

14

อาคารเพาะเห็ด ย่านมัทรี

1

-

15

โรงเรือนผักกางมุ้ง

1

-

16

โรงเพาะชำต้นไม้ และกล้วยไม้ (หลังคามุงกระเบื้อง)

1

1

17

โรงเพาะชำต้นไม้ และกล้วยไม้ (หลังคามุงซาแลน)

1

-

18

โรงเลี้ยงไก่ วิทยาเขตเขาแรด

1

1

19

โรงเลี้ยงไก่ วิทยาเขตย่านมัทรี

2

-

20

โรงเลี้ยงหมู วิทยาเขตเขาแรด

1

1

21

โรงเลี้ยงหมู วิทยาเขตย่านมัทรี

1

2

        14..2 อุปกรณ์ครุภัณฑ์

ลำดับที่

รายการ

จำนวน

1

เครื่องวัดการเปิด – ปิดปากใบของพืชแบบ Dynamic

1 เครื่อง

2

ตู้ควบคุมความชื้น

1 ตู้

3

เครื่องวัดศักย์น้ำในใบพืช

1 เครื่อง

4

เครื่องแบ่งตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

2 เครื่อง

5

เครื่องบดและวัดขนาดตัวอย่าง

1 เครื่อง

6

เครื่องอบไล่ความชื้นแบบแห้ง

2 เครื่อง

7

เครื่องเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม (PCR)

1 เครื่อง

8

ชุดอิเลคโตรโฟริซิสชนิดแนวตั้ง

1 ชุด

9

เครื่องวิเคราะห์การเจริญเติบโตของพืช

1 เครื่อง

10

เครื่องวิเคราะห์อาหารสัตว์

1 เครื่อง

11

เครื่องวิเคราะห์อาหารสัตว์ชุดเยื่อใย

1 เครื่อง

12

เครื่องวิเคราะห์อาหารสัตว์ชุดไขมัน

1 เครื่อง

13

เครื่องล้างปิเปตแบบอุลตร้าโซนิก

1 เครื่อง

14

เครื่องกลั่นน้ำชนิดกลั่นซ้ำ

1 เครื่อง

15

กล้องจุลทรรศน์ชนิดแสงอนันต์

4 ตัว

16

กล้องจุลทรรศน์ชนิดสามมิติ (stereo microscope)

2 ตัว

17

ตู้อบความชื้น

1 เครื่อง

18

เครื่องเขย่า

2 เครื่อง

19

เครื่องปั่นดิน

1 เครื่อง

20

เครื่องผสมปุ๋ย-ดิน พร้อมเครื่องบดอัด

1 เครื่อง

21

เครื่องบด-อัดเม็ดปุ๋ยอินทรีย์

1 เครื่อง

22

เครื่องตีกาบมะพร้าว

1 เครื่อง

23

เครื่องสับกาบมะพร้าว

1 เครื่อง

24

เครื่องย่อยดิน

1 เครื่อง

25

เครื่องย่อยใบไม้

1 เครื่อง

26

เครื่องย่อยกิ่งไม้และใบไม้

1 เครื่อง

27

เครื่องร่อนตัวอย่างอัตโนมัติ

1 เครื่อง

28

เครื่องบดเนื้อ-ทำไส้กรอก

1 เครื่อง

29

เครื่องปั่นทำไอสกรีมพร้อมถัง

2 เครื่อง

30

เครื่องผสมอาหารสัตว์ ชนิดตั้งขนาด 1 ตัน

1 เครื่อง

31

เครื่องผสมวิตามินและแร่ธาตุ

1 เครื่อง

32

เครื่องบดอัดอาหาร

1 เครื่อง

33

เครื่องบดย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์

1 เครื่อง

34

เครื่องเย็บกระสอบอาหาร

1 เครื่อง

35

เครื่องชั่ง (2 ตำแหน่ง)

2 เครื่อง

36

เครื่องชั่ง (3 ตำแหน่ง)

1 เครื่อง

37

เครื่องชั่ง (4 ตำแหน่ง)

1 เครื่อง

38

เครื่องปั่นเหวี่ยง

1 เครื่อง

39

หม้อนึ่งความดัน

1 เครื่อง

40

Hot plate stirrer

2 ชุด

41

Water-bath

2 ชุด

42

ตู้ปลอดเชื้อ

2 ตู้

43

สว่านแท่น

2 ชุด

44

ปั๊มลม

2 ชุด

45

เครื่องเชื่อมแก๊ส

1 เครื่อง

46

เครื่องเชื่อมไฟฟ้า

2 เครื่อง

47

เครื่องขัดกระดาษทราย

1 เครื่อง

48

กบไฟฟ้าไสปรับระดับ

1 ตัว

49

เลื่อยฉลุ

1 ตัว

50

เลื่อยวงเดือน

1 ตัว

51

กบไฟฟ้าไสอัตโนมัติ

1 ตัว

52

เครื่องเจีย

1 ตัว

53

เครื่องดัดเหล็ก

1 เครื่อง

54

เครื่องพ่นยาแบบเครื่องยนต์

2 เครื่อง

55

เครื่องตัดหญ้าแบบล้อรถเข็น

2 เครื่อง

56

เครื่องตัดหญ้าแบบสพาย

4 เครื่อง

57

เครื่องพ่นยาแบบสพาย

3 เครื่อง

58

เครื่องตัดหญ้าแบบร่อนไม่มีล้อ

1 เครื่อง

59

เครื่องตัดหญ้าแบบเครื่องยนต์ 4 ล้อ

3 เครื่อง

60

เครื่องพรวนดิน

2 เครื่อง

61

รถแทรคเตอร์

1 เครื่อง

62

รถไถนาเดินตาม

1 คัน

63

เลื่อยตัดอลูมิเนียม

1 ตัว

64

เครื่องสูบน้ำแบบใช้เครื่องยนต์ดีเซล

1 เครื่อง

65

เครื่องตัดหญ้าติดท้ายรถแทรคเตอร์

1 เครื่อง

66

เครื่องกลึงไม้

1 เครื่อง

67

External Modem

1 ตัว

68

เครื่องคอมพิวเตอร์คำนวณสูตรอาหาร

2 เครื่อง

69

เครื่องพิมพ์เลเซอร์

2 เครื่อง

70

Growth chamber

3 ชุด

71

เครื่องปรับอากาศ

6 เครื่อง

72

โต๊ะปฏิบัติการ

20 ตัว

73

โต๊ะล้างอุปกรณ์

1 ชุด

74

โต๊ะวางคอมพิวเตอร์พร้อมเก้าอี้

10 ชุด

75

โต๊ะวางคอมพิวเตอร์พร้อมเก้าอี้

2 ชุด

76

ตู้เก็บอุปกรณ์ยี่ห้อลุกซ์ รุ่น 024

20 หลัง

77

เครื่อง Visualizer

1 ชุด

78

เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา (Notebook)

1 เครื่อง

79

เครื่องเล่นชนิด 5 แผ่น

1 เครื่อง

80

เครื่องคอมพิวเตอร์

10 เครื่อง

81

เครื่องฉาย LCD Projector

1 เครื่อง

82

กล้องถ่ายภาพระบบดิจิตอล

1 เครื่อง

83

เครื่องขยายเสียง

1 คู่

84

ตู้แร็ค 19 นิ้ว

1 ตู้

85

เครื่องสำรองไฟ

10 ชุด

86

เครื่องสำรองไฟ

2 เครื่อง

87

Swich ขนาด 24 Port

1 ชุด

88

เครื่องเก็บไฟฟ้าสำรอง

2 เครื่อง

15. ห้องสมุด

    15.1 จำนวนหนังสือและตำราเรียน

ชื่อหนังสือ

ชื่อผู้แต่ง

ปีที่พิมพ์

1. กฤษณา ไม้หอม ไม้มหาเศรษฐี : สมุนไพรที่แพงที่สุดในโลก

องอาจ คล้ามไพบูลย์.

2546

2. กะหล่ำ

มณีฉัตร นิกรพันธุ์.

2545

3. กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืช

สมภพ ประธานธุรารักษ์.

2543

4. การเก็บรักษาตัวอย่างพืชและสัตว์

สาธิต โกวิทวที.

2542

5. การขยายพันธุ์พืช

นันทิยา สมานนท์.

2526

6. การจัดการศัตรูพืช

สืบศักดิ์ สนธิรัตน.

2543

7. การจัดกิจกรรมกรรมเสริมหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องพืชสมุนไพร : การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

ยุพา พิริยะชัยวรกุล.

2543

8. การจำแนกพืชสวน (Classification of horticultural plants)

วิจิตร วังใน.

2537

9. การเจริญและการเติบโตของพืช

วันทนี สว่างอารมณ์.

2542

10. การประกวดและตัดสินพืช

พิชัย สราญรมย์.

2535

11. การประชุมสัมมนา พืชสารฆ่าแมลงในการทำการเกษตร ครั้งที่ 2

วิชาการเกษตร, กรม. สถาบันวิจัยการทำฟาร์ม.

2532

12. การปรับปรุงพันธุ์พืช

สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์.

2528

13. การปลูกผัก

วสันต์ กฤษฎารักษ์.

2544

14. การป้องกันกำจัดโรคพืชโดยชีววิธี (Biological control of plant diseases)

สมคิด ดิสถาพร.

2540

15. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเพื่อการเกษตร (Plant tissue culture in agriculture)

มานี เตื้อสกุล.

2542

16. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture)

คำนูณ กาญจนภูมิ.

2544

17. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช (Tissue culture for crop improvement)

อารีย์ วรัญญูวัฒก์.

2541

18. การวิเคราะห์ดินและพืชทางเคมี (Soil and plant chemical analysis)

ถวิล ครุฑกุล.

2530

19. การวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช

ศรีสม สุวรรณวงศ์.

2544

20. การสังเคราะห์ด้วยแสง

ศิวพงศ์ จำรัสพันธุ์.

2542

21. การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ความก้าวหน้าของการปรับปรุงพันธุ์พืชแนวใหม่ (Non – conventional)

สมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย

2536

22. เกษตรดีที่เหมาะสม

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร.

2545

23. ความหลากหลายทางชีวภาพ (หนังสือชุดพัฒนาสังคมตามแนวพระราชดำริ)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

2544

24. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและศัตรูพืช ปี 2545

กรมวิชาการเกษตร กองกีฏและสัตววิทยา.

2545

25. คำบรรยายวิชาพืชไร่นา : หลักการกสิกรรม

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2522

26. คุณรู้เรื่องกาแฟดีแค่ไหน

กาญจน์มุนี ศรีวิศาลภพ.

2546

27. คู่มือจำแนกพรรณไม้

ก่องกานดา ชยามฤต.

2541

28. คู่มือปฏิบัติการสรีรวิทยาของพืช

มนตรี เพ็ชรทองคำ.

2520

29. คู่มือประกอบคำบรรยาย พืชไร่ 211 (พืชเศรษฐกิจ)

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2516

30. คู่มือเมล็ดพันธุ์ (Seeds catalogue)

บริษัท เอ เอฟ เอ็ม ฟลาวเวอร์ ซีด.

2544

31. คู่มือสารเคมีควบคุมโรคพืชสำหรับประชาชน

ธรรมศักดิ์ สมมาตย์.

2535

32. โครงสร้างของพืชมีดอก

จิตนา ราชรองเมือง.

2536

33. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช

นพพร สายัมพล.

2543

34. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

ละออ เส็งประชา.

2542

35. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

อรดี สหวัชรินทร์.

2526

36. เทคนิคการเพิ่มผลผลิตการเกษตร : พืชและสัตว์

ดิเรก ฤกษ์หร่าย.

2532

37. เทคโนโลยีการเกษตร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรมวิชาการเกษตร.

2544

38. เทคโนโลยีการผลิตสารสกัดสะเดา

อัญชลี สงวนพงษ์.

2543

39. เทคโนโลยีการให้น้ำแก่พืช (Irrigation technology)

บุญลือ เอี่ยวพานิช.

2542

40. เทคโนโลยีโพรโทพลาสต์ของพืช (Plant protoplast technology)

คำนูณ กาญจนภูมิ.

2545

41. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่

วันชัย จันทร์ประเสริฐ.

2542

42. ธาตุอาหารพืช

ยงยุทธ โอสถสภา.

2543

43. บทปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก

สมปอง เตชะโต.

2536

44. บทปฏิบัติการสรีรวิทยาของพืช (Plant physiology laboratory)

มนตรี เพ็ชรทองคำ.

2531

45. ปฏิบัติการสรีรวิทยาของพืช (Plant physiology laboratory)

นันทนา อังกินันทน์.

2540

46. ประเทศไทยกับงานพืชสวนโลก 1992

กรมส่งเสริมการเกษตร.

2536

47. ปรับปรุงพันธุ์พืช

กฤษฎา สัมพันธารักษ์.

2528

48. หลักการปรับปรุงพันธุ์ปศุสัตว์

จรัญ จันทลักขณา

2516

49. การบำบัดน้ำเสีย

เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์

2539

30. รวมเรื่องโคเนื้อ

คณาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2547

31. ผลการวิเคราะห์อาหารสัตว์

กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์

2540

32. โรคและการรักษาสัตว์ปีก

จันทนา เดชกุลชร ณ อยุธยา

2529

33. อาหารสัตว์เศรษฐกิจ

จารุรัตน์ เศรษฐภักดี

2528

34. การขุนโค – กระบือ

จีรสิทธิ์ สงค์ประเสริฐ

2531

35. พยาธิวิทยาทั่วไปทางสัตวแพทย์

เจริญ ทองมา

2526

36. การสุขาภิบาลและโรคสัตว์ทั่วไป

ดำรง กิตติชัยศรี

2542

37. การจัดการฟาร์มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกรพันธุ์

ถวัลย์ วรรณกุล

2530

38. โภชนศาสตร์สัตว์

ถาวร ฉิมเลี้ยง

2542

39. พันธุศาสตร์

ไพศาล เหล่าสุวรรณ

2523

40. การตรวจสุขภาพสัตว์เบื้องต้น

ภาวิณี วงศ์สนสุนีย์

2534

41. หญ้าและถั่วอาหารสัตว์เมืองร้อน

เฉลิมพล แสนเพชร

2530

42. หลักการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป

ชวนิศนดากร วรวรรณ และคณะ

2528

ฯลฯ

   

        15.2 จำนวนวารสาร

                1. สัตวบาล
                2. ดินและปุ๋ย
                3. เคหะการเกษตร
                4. เทคโนโลยีชาวบ้าน
                5. เกษตรอินทรีย์
                6. วารสารพืชสาวน
                7. วิทยาศาสตร์เกษตร

        15.3 รายชื่อสื่ออิเล็กทรอนิคส์

                การสืบค้นจากเว็บไซต์ http://127.0.0.1:5432/HWWMDS/Main.nsp ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สามารถสืบค้น วารสาร (Journal) ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ทั่วโลก

16. งบประมาณ

หมวดเงิน

2549

2550

2551

2552

2553

2554

งบดำเนินการ            

    -  ค่าตอบแทน

    -  ค่าใช้สอย

    -  ค่าวัสดุ

115,200

172,800

576,000

115,200

172,800

576,000

115,200

172,800

576,000

115,200

172,800

576,000

115,200

172,800

576,000

115,200

172,800

576,000

รวม

864,000

864,000

864,000

864,000

864,000

864,000

งบลงทุน

    -  ค่าครุภัณฑ์

576,000

576,000

576,000

576,000

576,000

576,000

รวมงบลงทุน

200,000

200,000

200,000

200,000

200,000

200,000

รวมทั้งหมด

1,440,000

1,440,000

1,440,000

1,440,000

1,440,000

1,440,000

17. หลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) จัดเป็น 3 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ และแขนงวิชาเทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

        17.1 จำนวนหน่วยกิต

                จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 130 หน่วยกิต

        17.2 โครงสร้างของหลักสูตร

โครงสร้างของหลักสูตร

แบบปกติ

แบบสหกิจศึกษา

หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา

จำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

31

31

 

1. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9

9

 

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

8

8

 

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6

6

 

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

8

8

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

93

93

 

1. วิชาแกน

39

39

 

2. วิชาเฉพาะด้าน บังคับ

34

34

 

3. วิชาเฉพาะด้านเลือก

13

9

 

4. วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

7

11

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

6

6

รวมทั้งหมด

130

130

        17.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต

            รายวิชาตามหลักสูตรกำหนดด้วยรหัสวิชาโดยใช้ระบบตัวเลข 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

                เลขตัวแรก แทนคณะ

                เลขตัวที่ 2,3 แทนหมู่วิชา

                เลขตัวที่ 4 บ่งบอกถึงระดับความยากง่ายหรือชั้นปี

                เลขตัวที่ 5 บ่งบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา

                เลขตัวที่ 6,7 บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของวิชา

1

2 3 4 5 6 7

คณะ

หมู่วิชา ชั้นปี ลักษณะวิชา ลำดับก่อนหลังของวิชา

            รหัสตัวเลขตัวแรกแทนคณะที่เปิดสอนดังนี้

                1 หมายถึง คณะครุศาสตร์ 2 หมายถึง คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

                3 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ 4 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                5 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาเกษตรศาสตร์

                6 หมายถึง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กลุ่มวิชาอุตสาหกรรม

                ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาด้วยตนเอง) โดย

                บรรยาย หมายถึง จำนวนชั่วโมงบรรยาย = จำนวนหน่วยกิตบรรยาย

                ปฏิบัติ หมายถึง จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ = จำนวนหน่วยกิตปฏิบัติ

                จำนวนหน่วยกิต x 3 = จำนวนชั่วโมงทฤษฎี+จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ+จำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง

       ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

        ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 93 หน่วยกิต แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้

            (1) วิชาแกน ทั้งแบบปกติและแบบสหกิจศึกษา 39 หน่วยกิต รายวิชาที่กำหนดให้เรียนมีดังนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3(3-0-6)

 

English for Science

 

4211303

ฟิสิกส์มูลฐาน

3(2-3-4)

 

Fundamental Physics

 

4221103

เคมีมูลฐาน

3(2-3-4)

 

Fundamental Chemistry

 

4222301

เคมีอินทรีย์ 1

3(2-3-4)

 

Organic Chemistry 1

 

4223501

ชีวเคมี 1

3(2-3-4)

 

Biochemistry 1

 

4231103

ชีววิทยามูลฐาน

3(2-3-4)

 

Fundamental Biology

 

4232401

พันธุศาสตร์

3(2-3-4)

 

Genetics

 

4232601

จุลชีววิทยา

3(2-3-4)

 

Microbiology

 

4303101

หลักสถิติ

3(3-0-6)

 

Principles of Statistical

 

2313704

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

3 (3-0-6)

 

English for Technology

 

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Economics

 

            (2) วิชาเฉพาะด้าน บังคับ แบ่งออกเป็น 3 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ และแขนงวิชาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ แต่ละแขนงวิชาบังคับให้เรียน 34 หน่วยกิต ทั้งแบบปกติและแบบสหกิจศึกษา รายวิชาที่กำหนดให้เรียนแต่ละแขนงวิชามีดังนี้

                    2.1 แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4232201

พฤกษศาสตร์

3(2-3-4)

 

Botany

 

5001101

หลักการผลิตพืช

3(2-3-4)

 

Principle of Corp Production

 

5003103

สรีรวิทยาการผลิตพืช

3(2-3-4)

 

Physiology of Crop Production

 

5004101

การปรับปรุงพันธุ์พืช

3(2-3-4)

 

Plant Breeding

 

5004901

ปัญหาพิเศษทางการเกษตร

3(0-3-6)

 

Special Problems in Agriculture

 

5004902

สัมมนาทางการเกษตร

1(1-0-2)

 

Seminar in Agriculture

 

5004903

การวางแผนการทดลองและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

3(2-3-4)

 

Experimental Design in Agriculture

 

5211101

ปฐพีวิทยา

3(2-3-4)

 

Soil Science

 

5233502

หลักการขยายพันธุ์พืช

3(2-3-4)

 

Principles of Plant Propagation

 

5241501

หลักการผลิตสัตว์

3(1-0-2)

 

Principle of Animal Production

 

5282101

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด

3(2-3-4)

 

Plant Pest Control

 

5333101

การส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

3(2-3-4)

 

Agricultural Extension and Co-operatives

 

                    2.2 แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4231301

สัตววิทยา

3(2-3-4)

 

Zoology

 

5004901

ปัญหาพิเศษทางการเกษตร

3(3-0-6)

 

Special Problems in Agriculture

 

5004902

สัมมนาทางการเกษตร

1(1-0-2)

 

Seminar in Agriculture

 

5004903

การวางแผนการทดลองและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

3(2-3-4)

 

Experimental Design in Agriculture

 

5241101

เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก

3(2-3-4)

 

Poultry Production Technology

 

5241401

อาหารและการให้อาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Feeds and Feeding in Farm Animal

 

5241501

หลักการผลิตสัตว์

1(1-0-2)

 

Principle of Animal Production

 

5242201

เทคโนโลยีการผลิตสุกร

3(2-3-4)

 

Swine Production Technology

 

5242301

เทคโนโลยีการผลิตโคนม

3(2-3-4)

 

Dairy Production Tehnology

 

5242302

เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ-กระบือ

3(2-3-4)

 

Buffalo –Beef Production Tehnology

 

5244702

การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Breeding

 

5251102

หลักสุขศาสตร์สัตว์และมาตรฐานฟาร์ม

3(2-3-4)

 

Principle of Animal Hygiene and Farm Standard

 

                    2.3 แขนงวิชาเทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5004901

ปัญหาพิเศษทางการเกษตร

3(3-0-6)

 

Special Problems in Agriculture

 

5004902

สัมมนาทางการเกษตร

1(1-0-2)

 

Seminar in Agriculture

 

5004903

การวางแผนการทดลองและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

3(2-3-4)

 

Experimental Design in Agriculture

 

5261101

หลักการประมง

3(2-3-4)

 

Principles of Fisheries

 

5261102

หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Principles of Aquaculture

 

5261103

วิเคราะห์น้ำและคุณภาพน้ำทางการประมง

3(2-3-4)

 

Water Analysis and Water Quality for Fishery

 

5261104

นิเวศวิทยาแหล่งน้ำ

3(2-3-4)

 

Aquatic Ecology

 

5261201

มีนวิทยา

3(2-3-4)

 

Ichthyology

 

5262201

การเพาะพันธุ์ปลา

3(2-3-4)

 

Fish Breeding

 

5262401

โรคและพยาธิสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Diseases and Parasites of Aquatic Animals

 

5263101

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

3(2-3-4)

 

Coastal Aquaculture

 

5263203

อาหารและการให้อาหารปลา

3(2-3-4)

 

Feed and Feeding of Fish

 

            (3) วิชาเฉพาะด้าน เลือก แบ่งออกเป็น 3 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ และแขนงวิชาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ให้เลือกรายวิชาตรงตามแขนงวิชาบังคับ โดยแบบปกติให้เลือก 13 หน่วยกิต หรือ 12 หน่วยกิต และแบบสหกิจศึกษาให้เลือก 9 หน่วยกิต รายวิชาเลือกแต่ละแขนงวิชามีดังนี้

                    3.1 แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

4252301

อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร

2(2-0-4)

 

Agricultural for Meteorology

 

5001102

การจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

3(2-3-4)

 

Agricultural Resources and Environmental Management

 

5002701

ระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร

3(3-0-6)

 

Information System in Agriculture

 

5002702

ภูมิสารสนเทศเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Geomatics

 

5003101

การใช้สารเคมีเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Chemicals

 

5003102

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

3(2-3-4)

 

Plant Growth Regulator

 

5003104

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว

3(2-3-4)

 

Post Harvest Technology

 

5003105

เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์

3(2-3-4)

 

Seed Technology

 

5003106

ระบบการทำฟาร์มและการจัดการ

3(2-3-4)

 

Farming Systems and Management

 

5003107

การเกษตรเพื่อความยั่งยืน

3(2-3-4)

 

Agricultural Sustainability

 

5003108

การดำเนินธุรกิจฟาร์ม

2(1-2-3)

 

Management Farm

 

5003109

ระบบเกษตรกรรมและการพัฒนาการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Systems and Development

 

5003110

กฎหมายเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Law

 

5003301

การเกษตรเพื่องานอดิเรก

2(1-2-3)

 

Agriculture Hobbies

 

5003501

การเพิ่มมูลค่าผลิตผลการเกษตร

3(2-3-4)

 

Value Added in Agricultural Product

 

5004701

หัวข้อเฉพาะทางเทคโนโลยีการผลิตพืช

3(2-3-4)

 

Selected Topics in Crop Production Technology

 

5213101

ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำและพืช

3(2-3-4)

 

Soil Water and Plant Relationships

 

5213201

ความอุดมสมบูรณ์ของดินและธาตุอาหารพืช

3(2-3-4)

 

Soil Fertility and Plant Nutrition

 

5213202

การตรวจวิเคราะห์ดินและพืช

3(2-3-4)

 

Soil and Plant Analysis

 

5213301

การจัดการดินและน้ำ

3(2-3-4)

 

Soil and Water Management

 

5213501

การสำรวจและการจำแนกดิน

3(2-3-4)

 

Soil Survey and Classification

 

5213601

เทคโนโลยีการผลิตและการใช้ปุ๋ย

3(2-3-4)

 

Fertilizer Technology and Usage

 

5222501

การผลิตพืชไร่เศรษฐกิจ

3(2-3-4)

 

Economic Field Crops Production

 

5222601

เทคโนโลยีการผลิตพืชอาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Production Technology

 

5232201

หลักการผลิตผัก

3(2-3-4)

 

Principle of Vegetable Production

 

5232301

การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ

3(2-3-4)

 

Flower and Ornamental Plant Production

 

5232701

เห็ดและการผลิตเห็ด

3(2-3-4)

 

Mushroom and Mushroom Production

 

5233301

การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้

3(2-3-4)

 

Orchid Culture

 

5233401

หลักการผลิตไม้ผล

3(2-3-4)

 

Principles of Fruit Production

 

5233501

การจัดสวนและตกแต่งสถานที่

3(2-3-4)

 

Landscape Gardening

 

5233601

พืชเครื่องเทศและสมุนไพร

3(2-3-4)

 

Spices and Medicinal Plants

 

5233701

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเพื่อการเกษตร

3(2-3-4)

 

Plant Tissue Culture in Agriculture

 

5233702

เทคโนโลยีการปลูกพืชไม่ใช้ดิน

3(2-3-4)

 

Soiless Culture

 

5272301

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

2(1-2-3)

 

Introduction to Food Science and Technology

 

5273302

การแปรรูปอาหาร 1

3(2-3-4)

 

Food Processing 1

 

5273303

การแปรรูปอาหาร 2

3(2-3-4)

 

Food Processing 2

 

5273304

หลักการควบคุมคุณภาพอาหารและการประกันคุณภาพ

3(2-3-4)

 

Principle of Food Quality Control and Quality Assurance

 

5283101

แมลงสำคัญทางการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Insect Pest

 

5283201

โรคพืชสำคัญทางการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Plant Pathology

 

5283301

หลักการควบคุมวัชพืช

3(2-3-4)

 

Principle of Weed Control

 

5312101

หลักการชลประทาน

3(2-3-4)

 

Irrigation and Drainage

 

5312401

เทคโนโลยีการให้น้ำแก่พืช

2(1-2-3)

 

Irrigation Technology

 

5322101

งานช่างเกษตร

3(2-3-4)

 

Farmshop in Agricultural

 

                    3.2 แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5002201

การประกวดและตัดสินสัตว์

1(0-2-0)

 

Animal Restraint and Animals Contest

 

5003110

กฎหมายการเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Law

 

5004904

ปศุสัตว์อินทรีย์

3(2-3-4)

 

Organic Livestock

 

5222601

เทคโนโลยีการผลิตพืชอาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Production Technology

 

5242202

เทคโนโลยีการผลิตแพะ - แกะ

3(2-3-4)

 

Sheep and Goat Production Technology

 

5242401

โภชนศาสตร์สัตว์

3(3-0-6)

 

Animal Nutrition

 

5242501

เทคโนโลยีการผลิตสัตว์เลี้ยงและสัตว์อื่น

3(2-3-4)

 

Companion and Non-conventional Animals ProductionTechnology

5243401

โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง

3(2-3-4)

 

Non-Ruminant Nutrition

 

5243402

โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง

3(2-3-4)

Ruminant Nutrition

5243403

เทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Technology of Feed Production

 

5243501

การสืบพันธุ์และการผสมเทียมสัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Reproduction and Artificial Insemination

 

5243502

การจัดการฝูงพ่อแม่พันธุ์และโรงฟัก

3(2-3-4)

 

Poultry Breeder and Hatchery Management

 

5243503

โรงเรือนและอุปกรณ์เลี้ยงสัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Housing and Equipment

 

5243504

การจัดการของเสียจากสัตว์

3(3-0-6)

 

Animal Waste Management

 

5243701

การใช้สมุนไพรในการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

Herbs Utilization in Animal Production

 

5244101

การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก

3(2-3-4)

 

Poultry Farm Management

 

5244102

การเลี้ยงไก่ชนเพื่อการค้า

3(2-3-4)

 

Fighting Cock for Commercial

 

5244301

การจัดการฟาร์มโคเนื้อและโคนม

3(2-3-4)

 

Beef and Dairy Farm Management

 

5244402

การตรวจและการวิเคราะห์อาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Feed Analysis

 

5244404

เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อ

3(3-0-6)

 

Meat and Meat Products Technology

 

5244405

เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม

3(2-3-4)

 

Milk and Milk Products Technology

 

5244406

เทคโนโลยีไข่และเนื้อไก่

3(2-3-4)

 

Egg and Chicken Meat Technology

 

5244410

ภาษาอังกฤษเพื่อการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

English for Animal Production

 

5244501

เทคโนโลยีจุลชีพเพื่อการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

Microbiological Technology for Animal Production

 

5244701

โภชนศาสตร์ประยุกต์

3(2-3-4)

 

Applied Animal Nutrition

 

5244703

การจัดการฟาร์มปศุสัตว์

3(2-3-4)

 

Livestock Farm Management

 

5244704

เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตสัตว์

3(3-0-6)

 

Biotechnology for Animal Production

 

5244705

การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

Applied Computer for Animal Product

 

5251101

ปรสิตวิทยา

3(2-3-4)

 

Parasitology

 

5252201

กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Anatomy and Physiology

 

5252202

กายวิภาคศาสตร์สัตว์

3(2-3-4)

 

Anatomy of Domestic Animal

 

5252203

สรีรวิทยาของสัตว์

3(2-3-4)

 

Physiology of Domestic Animal

 

5252301

การใช้ยาในฟาร์มปศุสัตว์

3(2-3-4)

 

Drug Use in Farm Animals

 

5253701

อาหารปลอดภัยและมาตรฐานฟาร์ม

3(3-0-6)

 

Livestock Food Safety and Farm standard

 

5264201

การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม

3(2-3-4)

 

Fancy Fish Culture

 

5264102

การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Aquafarm Management

 

5322101

งานช่างเกษตร

3(2-3-4)

 

Farmshop in Agricultural

 

5322201

เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงทางการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Machinery

 

5333101

การส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

3(2-3-4)

 

Agricultural Extension and Co-operatives

 

                    3.3 แขนงวิชาเทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5001102

การจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

3(2-3-4)

 

Agricultural Resources and Environmental Management

 

5002701

ระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร

3(3-0-6)

 

Information System in Agriculture

 

5002702

ภูมิสารสนเทศเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Geomatics

 

5003107

การเกษตรเพื่อความยั่งยืน

3(2-3-4)

 

Agricultural Sustainability

 

5261105

เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Fish Breeding Technology

 

5262101

การสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Fish Pond Construction

 

5263102

หลักเทคโนโลยีทางผลิตภัณฑ์ประมง

3(2-3-4)

 

Principle of Technology in Fishery Products

 

5263103

วิทยาศาสตร์ทางทะเลเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Marine Science

 

5263201

การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน

3(2-3-4)

 

Integrated Fish Culture

 

5263202

การเลี้ยงปลาน้ำจืด

3(2-3-4)

 

Fresh Water Fish Culture

 

5263203

อาหารและการให้อาหารปลา

3(2-3-4)

 

Feed and Feeding of Fish

 

5263301

การเลี้ยงกุ้ง

3(2-3-4)

 

Shrimp Culture

 

5263701

หลักเศรษฐศาสตร์ประมง

3(3-0-6)

 

Principles of Fishery Economics

 

5264101

การอนุรักษ์สัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Aquatic Animal Conservation

 

5264102

การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Aquafarm Management

 

5264103

พันธุศาสตร์สัตว์น้ำ

3(3-0-6)

 

Genetic of Aquatic Animals

 

5264201

การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม

3(2-3-4)

 

Fancy Fish Culture

 

5264701

การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมง

3(2-3-4)

 

Quality Control of Fishery Products

 

5264901

กรณีศึกษาโครงการพระราชดำริที่เกี่ยวข้องกับการประมง

3(2-3-4)

 

Case Study in His Majesty the King , s Fisheries Project

 

            (4) วิชาประสบการณ์วิชาชีพ

                    4.1 แบบปกติ 7 หน่วยกิต รายวิชาที่กำหนดให้เรียนดังนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5002801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2(180)

 

Preparation for Professional Experience

5004801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

 

Cooperative Education

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5002801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

                    4.2 แบบสหกิจศึกษา 11 หน่วยกิต รายวิชาที่กำหนดให้เรียนดังนี้

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

5002801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2(180)

 

Field Experience

 

5004802

สหกิจศึกษา

9(720)

 

Field Experience of Cooperative Education

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5002801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

        ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

                ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาใด ๆ ในระดับปริญญาตรีที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ

        17.4 แผนการศึกษา

                แบบปกติ จำนวนทั้งสิ้น 8 ภาคการศึกษา จำนวน 132 หน่วยกิต

แบบปกติ ชั้นปีที่1 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

2310101

4000103

2400101

2000101

2000103

xxxxxxx

4231103

4221301

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

การใช้สารสนเทศ

วิถีไทย

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

รายวิชาแขนงบังคับ

ชีววิทยามูลฐาน

เคมีมูลฐาน

3(3-0-6)

2(1-2-3)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(x-x-x)

3(2-3-4)

3(2-3-4)

 

รวม

20

แบบปกติ ชั้นปีที่1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

2210101

2310102

1000101

2000105

2000106

2000107

2000102

xxxxxxx

xxxxxxx

4211303

การพัฒนาทักษะภาษาไทย

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

ชีวิตกับดนตรี หรือ

ชีวิตกับศิลปะ หรือ

ชีวิตกับนาฎการ

วิถีโลก

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

ฟิสิกส์มูลฐาน

3(2-2-5)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

 

 

2(2-0-4)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(2-3-4)

 

รวม

21

แบบปกติ ชั้นปีที่2 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

4000101

4000102

2000104

4000104

1000102

xxxxxxx

423x6xx

4232601

3501101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

คณิตศาสตร์ทั่วไป

บัณฑิตอุดมคติไทย

สุขภาพเพื่อชีวิต หรือ

กีฬาและนันทนาการ

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

จุลชีววิทยา

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(1-2-3)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(2-3-4)

3(3-0-6)

 

รวม

20

แบบปกติ ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

xxxxxxx

2312704

4311701

4222301

3201101

รายวิชาแขนงบังคับ

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

เคมีอินทรีย์ 1

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(x-x-x)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-3-4)

3(3-0-6)

 

รวม

15

แบบปกติ ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

2313704

4303101

4223501

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

หลักสถิติ

ชีวเคมี 1

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(2-3-4)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

1(x-x-x)

 

รวม

16

แบบปกติ ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

4232401

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

5002801

พันธุศาสตร์

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

วิชาเอกเลือก

วิชาเลือกเสรี

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3(2-3-4)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

2(180)

 

รวม

20

แบบปกติ ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

รายวิชาแขนงบังคับ

วิชาเอกเลือก

วิชาเอกเลือก

วิชาเอกเลือก

วิชาเลือกเสรี

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

 

รวม

15

แบบปกติ ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

5004801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

 

รวม

8

        แบบสหกิจศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 8 ภาคการศึกษา จำนวน 133หน่วยกิต

แบบสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

2310101

4000103

2400101

2000101

2000103

xxxxxxx

4231103

4211303

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

การใช้สารสนเทศ

วิถีไทย

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

รายวิชาแขนงบังคับ

ชีววิทยามูลฐาน

เคมีมูลฐาน

3(3-0-6)

2(1-2-3)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(x-x-x)

3(2-3-4)

3(2-3-4)

 

รวม

20

แบบสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

2210101

2310102

1000101

2000105

2000106

2000107

2000102

xxxxxxx

xxxxxxx

4211303

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ชีวิตกับศิลปะ

ชีวิตกับนาฎการ

วิถีโลก

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

ฟิสิกส์มูลฐาน

3(2-2-5)

3(3-0-6)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(2-3-4)

 

รวม

21

แบบสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

4000101

4000102

2000104

4000104

1000102

423x6xx

4232601

3501101

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อชีวิตและสังคม

คณิตศาสตร์ทั่วไป

บัณฑิตอุดมคติไทย

สุขภาพเพื่อชีวิต หรือ

กีฬาและนันทนาการ

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

จุลชีววิทยา

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(2-0-4)

2(1-2-3)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

 

รวม

20

แบบสหกิจศึกษาชั้นปีที่2 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

Xxxxxxx

2312704

4311701

4222301

3201101

รายวิชาแขนงบังคับ

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

เคมีอินทรีย์ 1

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3(x-x-x)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

 

รวม

15

แบบสหกิจศึกษา ชั้นปีที่3 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

2313704

4303101

4223501

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยี

หลักสถิติ

ชีวเคมี 1

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(2-3-4)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

1(x-x-x)

 

รวม

16

แบบสหกิจศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

4232401

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

5002801

พันธุศาสตร์

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

รายวิชาแขนงบังคับ

วิชาเลือกเสรี

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3(2-3-4)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

2(180)

 

รวม

17

แบบสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

xxxxxxx

รายวิชาแขนงบังคับ

วิชาแขนงเลือก

วิชาแขนงเลือก

วิชาแขนงเลือก

วิชาเลือกเสรี

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

 

รวม

15

แบบสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

รหัสวิชา

รายวิชา

หน่วยกิต

5004802

สหกิจศึกษา

9(720)

 

รวม

9

        17.5 คำอธิบายรายวิชา

            1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 

            2. คำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะด้าน (บังคับ)

รายวิชา 2312704

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์

3 (3-0-6)

 

English for Science

 

        ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานวิทยาศาสตร์ จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มือการใช้เครื่องมือ การใช้อุปกรณ์ ฝึกการใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการทักษะสัมพันธ์ทางภาษา

รายวิชา 3201101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

3 (3-0-6)

 

Introduction to Business Operation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารบุคคล การบริหารสำนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ แนวทางการประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนจรรยาบรรณของนักธุรกิจ

รายวิชา 3501101

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

3 (3-0-6)

 

General Economics

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และกลไกทำงานของระบบราคา สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในชีวิตประจำวันเพื่อการประกอบธุรกิจ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตลาด สถาบันการเงิน การภาษีอากร การค้า การลงทุน ปัญหาเศรษฐกิจและแนวทางการแก้ไขปัญหา

4211303

ฟิสิกส์มูลฐาน

3 (2-3-5)

 

Fundamental Physics

 

        การวัดความแม่นยำในการวัด กฎการเคลื่อนที่ งานและพลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงานและโมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบสั่น การเคลื่อนที่แบบหมุน คลื่น กลศาสตร์ของไหลสมบัติของสารความร้อน อุณหพลศาสตร์ ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส สนามไฟฟ้าสนามแม่เหล็ก แสง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ฟิสิกส์ยุคใหม่เบื้องต้น กัมมันตภาพรังสี

4221103

เคมีมูลฐาน

3(2-3-4)

 

Fundamental Chemistry

 

        หลักเคมีมูลฐาน การจำแนกสาร สมบัติของธาตุ สารประกอบ ของผสม สารละลาย วิธีแยกโดยการกลั่น การกรอง การตกผลึก การใช้ตัวทำละลายและโครมาโทกราฟี ระบบเปิดระบบปิด ปริมาณสารสัมพันธ์ ความเข้มข้นของสารละลาย อะตอม โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีมูลฐานปฏิกิริยาเคมี องค์ประกอบที่มีผลต่ออัตราของปฏิกิริยา กรด-เบส เกลือ อินดิเคเตอร์ สมบัติของแก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดันและอุณหภูมิ ทฤษฎีจลน์ โมเลกุลของแก๊ส การแพร่ของแก๊ส

4222301

เคมีอินทรีย์ 1

2(3-3-4)

 

Organic Chemistry 1

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์ ไฮบริไดเซชันของคาร์บอน พันธในสารประกอบอินทรีย์ การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ สเตอริโอเคมี ชนิดและกลไกของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ สมบัติทางกายภาพ การเตรียม ปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารประกอบอะโรมาติกและสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันชนิดต่างๆ ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำสารให้บริสุทธิ์ การแยกสารผสม การวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบในสารอินทรีย์ ทดสอบหมู่ฟังก์ชัน การเตรียมอนุพันธ์สารอินทรีย์ ปฏิกิริยาชนิดต่าง ๆ ของสารอินทรีย์

4223501

ชีวเคมี 1

3(3-3-3)

 

Biochemistry 1

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4222301 เคมีอินทรีย์ 1

        ศึกษาความสำคัญของบัฟเฟอร์ในสิ่งมีชีวิต เทคนิคการทำสารชีวโมเลกุลให้บริสุทธิ์โดยวิธีต่าง ๆ เช่น การตกตะกอน การกรอง วิธีโครมาโทกราฟี การเคลื่อนย้ายสู่ขั้วไฟฟ้า(electrophoresis) การหมุนเหวี่ยง (centrifugation) ศึกษาองค์ประกอบของเซลล์โครงสร้างสมบัติทางเคมี หน้าที่ทางชีวภาพของคาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน เอนไซม์ กรดนิวคลีอิก ฮอร์โมน วิตามิน เกลือแร่ และให้ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำให้ชีวโมเลกุลบริสุทธิ์ การทดสอบสมบัติทางเคมีของคาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน เอนไซม์ กรดนิวคลีอิกและวิตามินบางชนิดและเกลือแร่

4231103

ชีววิทยามูลฐาน

3(2-3-4)

 

Fundamental Biology

 

        ศึกษาสารประกอบเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์ เนื้อเยื่อ พลังงานในสิ่งมีชีวิต การสังเคราะห์ด้วยแสงการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบการทำงานของสิ่งมีชีวิตและชีวิตกับสภาพแวดล้อม ปฏิบัติการเรื่องสารประกอบทางเคมีในสิ่งมีชีวิต การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการแบ่งเซลล์เนื้อเยื้อ การสืบพันธุ์ การจำแนกสิ่งมีชีวิต การแลกเปลี่ยนสาร การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การทำงานของระบบต่างๆในสัตว์ ฮอร์โมนพืช และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4232401

พันธุศาสตร์

3(2-3-4)

 

Genetics

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4231103 ชีววิทยามูลฐาน

        ความรู้พื้นฐานทางพันธุศาสตร์ หลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการคาดคะเน ผลลัพธ์ที่เกิดในลูก-ผสม ความน่าจะเป็นและการทดสอบทางสถิติ ยีนและโครโมโซม การจำลองของสารพันธุกรรม จีนเชื่อมโยงและรึคอมบิเนชัน (Gene Lingkage and Recombination) เพศ การกำหนดเพศ มัลติเปิลแผลลีส การควบคุมของ จีนเชิงปริมาณและคุณภาพ ความแปรปรวนของลูกผสม การกลายระดับจีนและระดับโครโมโซม พันธุวิศวกรรม พันธุศาสตร์ประชากร การถ่ายทอดพันธุกรรมนอกส่วนนิวเคลียส

4232601

จุลชีววิทยา

3(2-3-4)

 

Microbiology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4231103 ชีววิทยามูลฐาน

        ศึกษา ค้นคว้า ความรู้พื้นฐานของจุลชีววิทยา ศึกษาเปรียบเทียบโพรคาริโอตและยูคาริโอตการจำแนกประเภทสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ การควบคุมและการจำแนกจุลินทรีย์ความสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ต่ออาหาร น้ำ ดิน อากาศ การอุตสาหกรรม การสุขาภิบาลโรคติดต่อและภูมิต้านทาน การศึกษาภาคสนาม

4232201

พฤกษศาสตร์

3(2-3-4)

 

Botany

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4231103 ชีววิทยามูลฐาน

ชีววิทยาของพืช เซลล์ เนื้อเยื่อ สัณฐานวิทยา กายวิภาคของพืชมีดอก สรีรวิทยานิเวศวิทยาของพืช วิวัฒนาการ การจำแนกประเภท การรวบรวมเก็บตัวอย่างพืช การศึกษาภาคสนาม

4231301

สัตววิทยา

3(2-3-4)

 

Zoology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4231103 ชีววิทยามูลฐาน

        ชีววิทยาของสัตว์ เซลล์ เนื้อเยื่อ การจำแนกประเภท การศึกษาด้านสัณฐานวิทยา กายวิภาค สรีรวิทยา การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต นิเวศวิทยาของสัตว์ วิวัฒนาการ การรวบรวมและเก็บตัวอย่างสัตว์ การศึกษาภาคสนาม

4252301

อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร

2(2-0-4)

 

Agricultural for Meteorology

 

        หลักการเบื้องต้นของอุตุนิยมวิทยา การใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ทางการเพาะปลูก การชลประทาน การพยากรณ์อากาศ

4303101

หลักสถิติ

3(3-0-6)

 

Principles of Statistical

 

        ความหมายของสถิติ ขอบเขตและประโยชน์ของสถิติ สถิติที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ขั้นตอในการใช้สถิติเพื่อการตัดสินใจ หลักเบื้องต้นของความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบทวินาม แบบปัวร์ซอง และแบบปกติ โมเมนต์ การแจกแจงค่าที่ได้จาตัวอย่าง หลักการประมาณค่า การทดสอบสมมุติฐาน การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปการพยากรณ์ วิชานี้เน้นถึงตัวอย่างและแบบประยุกต์ของวิธีการให้เหมาะสมกับแต่ละวิชาเอก

4311701

คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์

3 (2-2-5)

 

Computer for Science

 

        ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ การนำเสนอสารสนเทศ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหรือเขียนโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ การแก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เรียน

5001101

หลักการผลิตพืช

3(2-3-4)

 

Principle of Corp Production

 

        บทบาท ความสำคัญ ปัญหาและแนวทางในการแก้ไขเกี่ยวกับการผลิตพืชในสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การใช้เทคโนโลยีเกี่ยวกับการจัดการดิน น้ำ ปุ๋ย การขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการต่าง ๆ การปลูก และการปฏิบัติดูแลรักษา ตลอดทั้งวิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิต และการเก็บรักษาผลผลิตพืชหลังการเก็บเกี่ยว

5001102

การจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

3(2-3-4)

 

Agricultural Resources and Environmental Management

 

        ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมผลกระทบจากกิจกรรมการเกษตร หลักการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตนิเวศเกษตร วิธีป้องกันและควบคุมภัยอันตรายจากการประกอบอาชีพทางเกษตร

5002201

การประกวดและตัดสินสัตว์

1 (0-2-0)

 

Animal Restraint and Animals Contest

 

        พื้นฐานพฤติกรรมสัตว์ การบังคับ ความผิดปกติ และวิธีการแก้ไขพฤติกรรมของโค และสัตว์ปีก ผลจากความเครียดของสัตว์ต่อพฤติกรรม สวัสดิภาพของสัตว์ ความสำคัญและประโยชน์ของการประกวดสัตว์ ลักษณะและคุณสมบัติ ประจำพันธุ์ ลักษณะที่ดีของสัตว์เลี้ยง การเตรียมสัตว์เข้าประกวด หลักเกณฑ์ พิจารณาการ ตัดสินสัตว์ชนิดต่างๆ ข้อควรคำนึงในการจัดการประกวดสัตว์

5002701

ระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร

3(3-0-6)

 

Information System in Agriculture

 

        ระบบสารสนเทศพื้นฐาน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร การประยุกต์ใช้ สารสนเทศในธุรกิจการเกษตร

5002702

ภูมิสารสนเทศเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Geomatics

 

        ทฤษฎีและหลักการได้มาซึ่งข้อมูลเชิงพื้นที่ทางการเกษตร จากการสำรวจข้อมูลระยะไกล ระบบพิกัดตำแหน่งพื้นพิภพ ทั้งพิกัดภูมิศาสตร์และยูทีเอ็ม การประยุกต์ใช้ข้อมูลระยะไกลในการวางแผนและการจัดการทรัพยากรเกษตร การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลดาวเทียมด้วยสายตาและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทฤษฎีและหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดทำและประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกับข้อมูลระยะไกลในการเกษตร

5002801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2(180)

 

Preparation for Professional Experience

 

        จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนออกฝึกงานนอกสถานที่พัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพโดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่างๆ วึ่งเกี่ยวข่องกับงานในวิชาชีพ

5003101

การใช้สารเคมีเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Chemicals

 

        ศึกษาถึงประเภทและชนิดต่าง ๆ ของสารเคมีการเกษตร กลไกการเข้าทำลายของสาร ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้สารเคมีการเกษตร การเลือกชนิดของเครื่องพ่นสารเคมี และเทคนิคการพ่นสารเคมี การป้องกันอันตรายจากสารเคมี

5003102

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

3(2-3-4)

 

Plant Growth Regulator

 

        ประโยชน์และความสำคัญของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ประเภทและชนิดของสารควบคุมการเจริญเติบโต วิธีการเตรียมและการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตแบบต่าง ๆ การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตในพืช และผลของสารที่มีต่อสภาวะแวดล้อม

5003103

สรีรวิทยาการผลิตพืช

3(2-3-4)

 

Physiology of Crop Production

 

        ศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาของพืช ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของพืช กระบวนการต่างๆ เช่นการดูดน้ำ แร่ธาตุ การขนส่ง การสังเคราะห์แสง การหายใจ เป็นต้น ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการดังกล่าว เน้นการประยุกต์ เพื่อการจัดการผลิตพืชปลูก

5003104

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว

3(2-3-4)

 

Post Harvest Technology

 

        ความสำคัญปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยวสรีรวิทยา หลังการเก็บเกี่ยว ปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยว คุณภาพและมาตรฐานโรคและแมลงหลังเก็บเกี่ยวและการป้องกันกำจัด

5003105

เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์

3(2-3-4)

 

Seed Technology

 

        ความหมายของเมล็ด กำเนิด รูปร่างลักษณะสรีรวิทยาและการพัฒนาเมล็ด ความสำคัญของเมล็ดต่อการเกษตรกรรม ความมีชีวิตและความยาวนานของการมีชีวิตองค์ประกอบทางเคมี การงอก การพักตัว และวิธีแก้การพักตัว เทคนิคในการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดด้านความบริสุทธิ์ ความงอก ความแข็งแรง ความชื้นองค์ประกอบทางเคมี สภาพที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ด การรับรองคุณภาพของเมล็ด

5003106

ระบบการทำฟาร์มและการจัดการ

3(2-3-4)

 

Farming Systems and Management

 

        การจัดระบบการทำฟาร์ม การจัดการปัจจัยที่มีผลต่อระบบการทำฟาร์ม การวิจัยและพัฒนาในระบบการปลูกพืช การจัดการผลิตอย่างยั่งยืน การอนุรักษ์และการจัดการดิน การบริหารจัดการศัตรูพืชในระบบการทำฟาร์มแบบผสมผสาน ศึกษาดูงานนอกสถานที่

5003107

การเกษตรเพื่อความยั่งยืน

3(2-3-4)

 

Agricultural Sustainability

 

        ความสำคัญ หลักการ แนวคิดและวิธีดำเนินการเกี่ยวกับเกษตรยั่งยืนและเกษตรทางเลือกแบบต่าง ๆ รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติ และระบบเศรษฐกิจระดับครัวเรือน ระดับชุมชน

5003108

การดำเนินธุรกิจฟาร์ม

2(1-2-3)

 

Management Farm

 

        ศึกษาลักษณะและคุณสมบัติของธุรกิจฟาร์ม การบริหารงานและปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ การเริ่มต้นประกอบธุรกิจ การลงทุน การจัดหาเงินทุน การจัดองค์การ การปฏิบัติงาน รวมไปถึงการวางแผนเชิงกลยุทธ การประเมินผลการดำเนินงาน แนวโน้มและบทบาทของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ในประเทศไทย

5003109

ระบบเกษตรกรรมและการพัฒนาการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Systems and Development

 

        ระบบเกษตรกรรมและการวิเคราะห์เขตนิเวศวิทยาการเกษตร การวินิจฉัยระบบเกษตรกรรมเพื่อการพัฒนาการเกษตร หลังจากวางแผนที่สอดคล้องกับสภาพการพัฒนาการเกษตรและชุมชน ยุทธวิธีในการพัฒนาชนบทเกษตรแบบผสมผสาน การจัดการเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด

5003110

กฎหมายเกษตร

3(3-0-6)

 

Agricultural Law

 

        กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้ผลิตและผู้บริโภค นิติกรรมทั่วไป ภาษีอากร มรดก สินเชื่อและค่าเช่าโรงงาน โรคระบาดสัตว์ วัตถุมีพิษและการควบคุม สหกรณ์ กลุ่มชาวนาและกลุ่มเกษตรกร และกฎหมายอื่นที่จำเป็นต่อเกษตรกร ตลอดจนองค์กรที่มีบทบาทกำหนดมาตรฐานของสินค้าเกษตรทั้งของไทยและสากล การกำหนดและใช้มาตรฐานโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5003301

การเกษตรเพื่องานอดิเรก

2(1-2-3)

 

Agriculture Hobbies

 

        หลักการเกษตรทั่วไปที่เน้นในงานอดิเรก เพื่อความเพลิดเพลินและการนำวัสดุเหลือใช้ในทางเกษตรมาใช้ประโยชน์ ความเพลิดเพลิน และอาชีพ

5003501

การเพิ่มมูลค่าผลิตผลการเกษตร

3(2-3-4)

 

Value Added in Agricultural Product

 

        ความสำคัญของการเพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตร ประเภทของผลิตผลการเกษตร วิธีการเพิ่มมูลค่าผลิตผลการเกษตร มาตรฐานของผลิตผลการเกษตร การบรรจุภัณฑ์ การทำตลาด

5004101

การปรับปรุงพันธุ์พืช

3(2-3-4)

 

Plant Breeding

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4231103 ชีววิทยามูลฐาน และ 4032401 พันธุศาสตร์

        ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์พืช การถ่ายทอดลักษณะและอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อการแสดงออกของพืช หลักวิธีการต่าง ๆ ในการปรับปรุงพันธุ์พืชทั้งชนิดผสมตัวเอง และผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์พืชให้มีความต้านทานต่อโรคและแมลง การปรับปรุงพันธุ์พืชให้มีความต้านทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาประยุกต์ใช้ในงานปรับปรุงพันธุ์พืช

5004701

หัวข้อเฉพาะทางเทคโนโลยีการผลิตพืช

3(2-3-4)

 

Selected Topics in Crop Production Technology

 

        เรื่องที่น่าสนใจทางวิทยาศาสตร์การเกษตร หัวข้อเรื่องจะเปลี่ยนไปแต่ละภาคการศึกษา

5004801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(450)

 

Cooperative Education

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5001801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

        การฝึกงานสาขาเกษตรศาสตร์ในสถาบันของรัฐหรือเอกชนเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 450 ชั่วโมง เพื่อให้นักศึกษาเกิดความชำนาญและมีประสบการณ์จนสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ ทั้งนี้โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและสาขาวิชา

5004802

สหกิจศึกษา

9(720)

 

Field Experience of Cooperative Education

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5001801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

        ต้องปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา (ประมาณ 16 สัปดาห์) โดยจะต้องมีระยะเวลาปฏิบัติงานตามที่กำหนดเป็นการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบระหว่างการศึกษาในสถานศึกษากับสภาพของการทำงานจริง เรียนรู้ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานและมีคุณภาพตรงตามที่สถานประกอบการต้องการมากที่สุด

5004901

ปัญหาพิเศษทางการเกษตร

3(0-3-6)

 

Special Problems in Agriculture

 

        ศึกษา ค้นคว้า ปัญหาการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับงานที่เรียน รายงานการค้นคว้าของนักศึกษาจากการทดลองด้านต่างๆ หรือทดลองจากสิ่งประดิษฐ์ รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ ดำเนินการวิจัยหรือการออกบบสอบถามบุคคลต่าง ๆ

5004902

สัมมนาทางการเกษตร

1(1-0-2)

 

Seminar in Agriculture

 

การอภิปรายกลุ่ม การเสนอรายงานเกี่ยวกับวิทยาการใหม่ ๆ การรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานของประเทศไทย และ/หรือของต่างประเทศ

5004903

การวางแผนการทดลองและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

3(2-3-4)

 

Experimental Design in Agriculture

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4303101 หลักสถิติ

        หลักการวางแผนการทดลองที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการวางแผน การทดลองแบบต่าง ๆ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการวางแผนการทดลอง และวิเคราะห์ผลการทดลองทางการเกษตร

5004904

ปศุสัตว์อินทรีย์

3(2-3-4)

 

Organic Livestock

 

        ศึกษาความหมายและความสำคัญของปศุสัตว์อินทรีย์ ให้สามารถผลิตอาหารและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพศึกษาระบบการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์และสัตว์เลี้ยง ระบบการจัดการที่เหมาะสมและเป็นไปตามความต้องการสรีระวิทยาและพฤติกรรมของสัตว์ ประกอบด้วยวัตถุดิบอาหารสัตว์การจัดการฝูงสัตว์ ระบบการจัดการฟาร์ม โดยเน้นการป้องกันโรค และหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี ยา และยาปฏิชีวนะ คำนึงถึงสุขอนามัยของสินค้า พิจารณาเป็นเกษตรทางเลือก เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตร และใช้ประโยชน์จากการหลากหลายทางชีวภาพที่ยั่งยืน เพื่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหารและการกระจายอาหารอย่างทั่วถึง

5211101

ปฐพีวิทยา

3(2-3-4)

 

Soil Science

 

        ความสำคัญของดิน การกำเนิดดิน คุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของดิน ธาตุอาหารพืช ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การปฏิบัติบำรุงรักษาดินและน้ำสำหรับปลูกพืช การพังทลายของดิน การอนุรักษ์ดินและน้ำ ชนิดของดินในประเทศไทย

5213101

ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำและพืช

3(2-3-4)

 

Soil Water and Plant Relationships

 

        ศึกษาคุณสมบัติของดินที่เกี่ยวข้องกับความเป็นประโยชน์ของน้ำในดินและการเจริญเติบโตของพืช น้ำและคุณสมบัติของน้ำในดิน และพืช ความสำคัญของน้ำในดินต่อการเจริญเติบโตของพืช การเคลื่อนที่ของน้ำในดิน พืชและออกสู่บรรยากาศ ความต้องการใช้น้ำของพืชเพื่อวางแผนการให้น้ำกับการผลิตพืชอย่างมีประสิทธิภาพ

5213201

ความอุดมสมบูรณ์ของดินและธาตุอาหารพืช

3(2-3-4)

 

Soil Fertility and Plant Nutrition

 

        ปัจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ธาตุอาหารและความเป็นประโยชน์ ความสัมพันธ์ของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของพืช ชนิดและคุณสมบัติของดินการปรับปรุงดิน ปัญหาเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของดินในประเทศไทย และการแก้ปัญหาอาการขาดธาตุอาหารพืช และการแก้ไข ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตของพืชต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน

5213202

การตรวจวิเคราะห์ดินและพืช

3(2-3-4)

 

Soil and Plant Analysis

 

        ศึกษา วิเคราะห์ค่า พี-เอช(pH) ของดิน และวิเคราะห์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุในดินและพืช

5213301

การจัดการดินและน้ำ

3(2-3-4)

 

Soil and Water Management

 

        วัฏจักรของน้ำ ความต้องการน้ำของพืช ความเสื่อมโทรมของดินและการควบคุม การรักษาและปรับปรุง ความอุดมสมบูรณ์ และความสามารถในการให้ผลผลิตของดิน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพังทลายของดิน มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ำความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการน้ำกับการอนุรักษ์ดินและน้ำ

5213501

การสำรวจและการจำแนกดิน

3(2-3-4)

 

Soil Survey and Classification

 

        การสำรวจและการจำแนกดิน โดยอาศัยพื้นฐานทางสัณฐานวิทยา การกำเนิดและคุณสมบัติของดิน ประโยชน์ของการสำรวจและการจำแนกดิน การศึกษาชุดดินที่มีความสำคัญทางการเกษตร

5213601

เทคโนโลยีการผลิตและการใช้ปุ๋ย

3(2-3-4)

 

Fertilizer Technology and Usage

 

        บทบาทของปุ๋ยในการพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร แหล่งที่มาของปุ๋ย กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมปุ๋ย การใช้ประโยชน์ของปุ๋ยเคมี ปัญหาและความเสียหายเกี่ยวกับสภาพล้อมเนื่องจากการใช้ปุ๋ยและวิธีการแก้ปัญหา

5222501

การผลิตพืชไร่เศรษฐกิจ

3(2-3-4)

 

Economic Field Crops Production

 

        ความสำคัญของพืชไร่เศรษฐกิจ หลักการปฏิบัติบำรุงพืชไร่เศรษฐกิจ การปลูกข้าวและพืชไร่ชนิดอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ตัวอย่างพืชที่ควรส่งเสริมให้ปลูกเพื่อเศรษฐกิจ ประโยชน์และหลักการพิจารณาทำไร่นาสวนผสมเพื่อเพิ่มรายได้ของเกษตรกร

5222601

เทคโนโลยีการผลิตพืชอาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Production Technology

 

        การจำแนกประเภทและชนิดของพืชอาหารสัตว์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ คุณค่าของพืชอาหารสัตว์ การปลูกสร้างและการจัดการทุ่งหญ้าและถั่วพืชอาหารสัตว์ การเก็บรักษา วิธีการถนอมพืชอาหารสัตว์ การเก็บและการรวบรวมตัวอย่างพืชอาหารสัตว์ การแปรรูปและการใช้ประโยชน์จากพืชอาหารสัตว์

5232201

หลักการผลิตผัก

3(2-3-4)

 

Principle of Vegetable Production

 

        ประโยชน์และความสำคัญของพืชผัก การจำแนกและการแบ่งชนิดของพืชผัก ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต การปลูกและการดูแลรักษา การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยวและการตลาดผัก

5232301

การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ

3(2-3-4)

 

Flower and Ornamental Plant Production

 

        ความสำคัญและประโยชน์ของไม้ดอก การจำแนกและการแบ่งประเภทของไม้ดอก ปัจจัยที่เกี่ยวกับการผลิตไม้ดอก วิธีการปลูก การปฏิบัติดูแลรักษา และการป้องกันจำกัดศัตรูไม้ดอก การเก็บเกี่ยว การตลาดและการจัดจำหน่าย

5232701

เห็ดและการผลิตเห็ด

3(2-3-4)

 

Mushroom and Mushroom Production

 

        ประวัติความเป็นมาของการเพาะเห็ด ประโยชน์และความสำคัญของเห็ด ชีววิทยาของเห็ด การจัดแบ่งประเภทเห็ด สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเห็ด วิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อเห็ด ศัตรูเห็ด เห็ดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของไทย แหล่งผลิตเห็ดในประเทศไทย เห็ดพิษ การถนอมและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด

5233301

การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้

3(2-3-4)

 

Orchid Culture

 

        ความสำคัญของกล้วยไม้ การจำแนกประเภทของกล้วยไม้ สกุลของกล้วยไม้ที่นิยมเลี้ยง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ การขยายพันธุ์ การปลูกและการดูแลรักษา ปัญหาและอุปสรรคในการปลูกกล้วยไม้ การบรรจุหีบห่อและการจัดจำหน่าย

5233401

หลักการผลิตไม้ผล

3(2-3-4)

 

Principles of Fruit Production

 

        ไม้ผลและการแยกประเภทของไม้ผล ส่วนประกอบต่าง ๆ ของไม้ผล การออกดอกและการติดผล การเลือกพื้นที่ปลูก การเตรียมพื้นที่ปลูกไม้ผล การปฏิบัติดูแลรักษา การขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว และการจำหน่ายผลิตผล

5233501

การจัดสวนและตกแต่งสถานที่

3(2-3-4)

 

Landscape Gardening

 

        ความสำคัญและประโยชน์ของการจัดสวนและตกแต่งสถานที่ ทฤษฎีและองค์ประกอบทางศิลป์ การเขียนแบบและการออกแบบจัดสวน ประเภทของการจัดสวนและหลักการจัดสวน ประเภทต่าง ๆ องค์ประกอบของการจัดสวน การดำเนินงานจัดสวน การเลือกวัสดุและพันธุ์ไม้ วิธีการปลูกหญ้าและพันธุ์ไม้ในสวน การบำรุงรักษาสวน การคำนวณค่าใช้จ่ายในการจัดสวน

5233502

หลักการขยายพันธุ์พืช

3(2-3-4)

 

Principles of Plant Propagation

 

        ประโยชน์และความสำคัญเกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืช ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืช การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการต่าง ๆ การดูแลรักษา การใช้สารเคมีและเทคนิคต่าง ๆ ในการขยายพันธุ์พืช

5233601

พืชเครื่องเทศและสมุนไพร

3(2-3-4)

 

Spices and Medicinal Plants

 

        ความหมายของพืชเครื่องเทศและสมุนไพร ประโยชน์ของพืชเครื่องเทศและสมุนไพร พืชเครื่องเทศและสมุนไพรที่สำคัญ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม วิธีการปลูก การปฏิบัติดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจำหน่าย

5233701

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเพื่อการเกษตร

3(2-3-4)

 

Plant Tissue Culture in Agriculture

 

        ความหมายและประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมห้อง และเครื่องมือในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ อาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมชิ้นส่วนพืชสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะของพืช

5233702

เทคโนโลยีการปลูกพืชไม่ใช้ดิน

3(2-3-4)

 

Soiless Culture

 

        ความหมายและความสำคัญ ระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช วัสดุและอุปกรณ์ สำหรับการปลูกพืช ธาตุอาหารและการเตรียมธาตุอาหารพืช การปลูก การดูแลและการจัดการ การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

5241101

เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก

3(2-3-4)

 

Poultry Production Technology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5041101 หลักการผลิตสัตว์

        ประโยชน์และความสำคัญของสัตว์ปีก ประเภทและพันธุ์สัตว์ปีก พันธุศาสตร์สัตว์ปีก การคัดเลือก การผสมพันธุ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ วิธีการเลี้ยงดู อาหารและการให้อาหาร โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ปีก ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการผลิตสัตว์ปีก กรณีศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีกเพื่อการค้า มาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก

5241401

อาหารและการให้อาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Feeds and Feeding in Farm Animal

 

        ความสำคัญและประโยชน์ของอาหารสัตว์ ประเภทอาหารสัตว์ วัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหารสัตว์ ส่วนประกอบและคุณค่าของอาหารสัตว์ มาตรฐานของอาหารสัตว์ การคำนวณ และการผลิตอาหารสัตว์ให้ถูกสัดส่วน อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ พ.ร.บ. อาหารสัตว์โรคขาดสารอาหารสัตว์

5241501

หลักการผลิตสัตว์

1(1-0-2)

 

Principle of Animal Production

 

        ประโยชน์และความสำคัญของการเลี้ยงสัตว์ ความเหมาะสมของการเลี้ยงสัตว์กับสภาพแวดล้อม พันธุ์สัตว์และลักษณะประจำพันธุ์ ประเภทและชนิดของการเลี้ยงสัตว์ พื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงดูและบำรุงรักษาสัตว์ในระยะต่างๆ อาหารและการให้อาหารสัตว์ การป้องกันและควบคุมรักษาโรคสัตว์ การจัดการฟาร์มสัตว์เพื่อการให้ผลผลิตสัตว์ การจัดจำหน่ายและการทำผลิตภัณฑ์จากสัตว์ บัญชีที่จำเป็นในการเลี้ยงสัตว์

5242201

เทคโนโลยีการผลิตสุกร

3(2-3-4)

 

Swine Production Technology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        ประโยชน์และความสำคัญในการเลี้ยงสุกร รูปแบบการเลี้ยงสุกรในประเทศไทย ประเภทและพันธุ์สุกรที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงในประเทศไทย โรงเรือน และเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับโรงเรือนสุกร อาหาร และการใช้อาหาร การจัดการ และการเลี้ยงดูสุกรในระยะต่างๆ โรคและการสุขาภิบาล การบันทึกข้อมูลและการใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสุกร การทำบัญชีฟาร์ม มาตรฐานฟาร์มสุกร

5242202

เทคโนโลยีการผลิตแพะ-แกะ

3(2-3-4)

 

Sheep and Goat Production Technology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        พันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ การเลี้ยงและการจัดการพฤติกรรม อาหารและการให้อาหารสุขภาพและสุขาภิบาล การตลาดและการจัดการผลผลิต

5242301

เทคโนโลยีการผลิตโคนม

3(2-3-4)

 

Dairy Production Tehnology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคนม พันธุ์โคนม หลักและวิธีการคัดเลือกและการผสมพันธุ์โคนม โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยงดูโคนม การจัดการฝูงโคนม อาหารและการจัดการโคนม อาหารและการทำบัญชี การจัดการสุขภาพโคนม การให้คะแนนความสมบูรณ์ร่างกายของโคนม มาตรฐานโคนม

5242302

เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ-กระบือ

3(2-3-4)

 

Buffalo –Beef Production Tehnology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือ พันธุ์โคเนื้อ กระบือ หลักและวิธีการคัดเลือกและการผสมพันธุ์ระบบการจัดการฟาร์มโคเนื้อ โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การจัดการฝูงสัตว์ โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ระเบียบบันทึกต่างๆ การตลาดและการจำหน่าย กรณีศึกษาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตโคเนื้อ-กระบือ

5242401

โภชนศาสตร์สัตว์

3(3-0-6)

 

Animal Nutrition

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4223501 ชีวเคมี 1

        หน้าที่และความสำคัญของโภชนาการต่อการผลิตสัตว์ คุณสมบัติของโภชนะหรือสารอาหาร การจำแนกชนิดของสารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหารการนำสารอาหารไปใช้ประโยชน์ต่อร่างกาย ผลกระทบต่อสัตว์ที่ได้รับสารอาหารไม่สมดุลย์ กระบวนการย่อยและการดูดซึมอาหารของสัตว์

5242501

เทคโนโลยีการผลิตสัตว์เลี้ยงและสัตว์อื่น

3(2-3-4)

 

Companion and Non-conventional Animals ProductionTechnology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        พันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ อาหารและการให้อาหาร สุขภาพและการจัดการของสุขาภิบาลนกกระจอกเทศ กวาง และสัตว์อื่นๆ มีการศึกษานอกสถานที่

5243401

โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง

3(2-3-4)

 

Non-Ruminant Nutrition

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4223501 ชีวเคมี 1

        ระบบการย่อยอาหารของสัตว์กระเพาะเดี่ยว การศึกษาเรื่องความต้องการทางพลังงาน โปรตีนคาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ และไวตามิน เพื่อการดำรงชีวิต การเจริญเติบโต และการให้ผลผลิต การย่อยอาหารและการดูดซึมอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมันกรดอะมิโน การคิดคำนวณสูตรอาหารสำหรับสัตว์กระเพาะเดี่ยว เช่น สุกร

5243402

โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง

3(2-3-4)

 

Ruminant Nutrition

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4223501 ชีวเคมี 1

        ระบบการย่อยอาหารสำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง กระบวนการทางสรีรวิทยา ระบบความสมดุลภายในระบบทางเดินอาหารของสัตว์ กระบวนการทางเคมีและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับการใช้อาหารให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ประเภทของอาหาร วิธีตรวจสอบและประเมินคุณค่าอาหาร ความต้องการเทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในการศึกษาการย่อยได้ของสัตว์ การคิดคำนวณสูตรอาหารสำหรับสัตว์ใหญ่ชนิดต่าง ๆ

5243403

เทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Technology of Feed Production

 

        ความสำคัญของเทคโนโลยีผลิตอาหารสัตว์ การวางแผนการผลิตอาหารสัตว์ การตรวจและวิเคราะห์คุณภาพวัตถุอาหารสัตว์ การทำสูตรอาหารสัตว์ด้วยคอมพิวเตอร์ การผลิตอาหารเม็ด การทำสูตรอาหาร การจัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ การจัดเก็บสำรองเพื่อผลิตอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการผลิตอาหารสัตว์ การจัดเก็บสำรองเพื่อเผื่อผลิตอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการผลิตอาหารสัตว์ การเพิ่มคุณภาพอาหารสัตว์ การลดสารพิษในอาหารสัตว์

5243501

การสืบพันธุ์และการผสมเทียมสัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Reproduction and Artificial Insemination

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5252202 กายวิภาคศาสตร์สัตว์ และ5252203 สรีรวิทยาของสัตว์

        ประโยชน์และความสำคัญของการผสมเทียม กายวิภาคและสรีรวิทยา ระบบสืบพันธุ์สัตว์ การรีดน้ำเชื้อ การตรวจคุณภาพน้ำเชื้อ การเจือจางและการเก็บรักษาน้ำเชื้อ เทคนิคการผสมเทียม การปฏิสนธิ การตั้งท้อง ขบวนการคลอด การแก้ไขการคลอดยาก การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ โรคและปัญหาระบบสืบพันธุ์

5243502

การจัดการฝูงพ่อแม่พันธุ์และโรงฟัก

3(2-3-4)

 

Poultry Breeder and Hatchery Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        การจัดการพ่อแม่พันธุ์ไก่เนื้อและไก่ไข่ การผลิตไข่ฟักพัฒนาการของตัวอ่อนฟัก การอบลูกไก่ การจัดการโรงฟัก มีการศึกษานอกสถานที่

5243503

โรงเรือนและอุปกรณ์เลี้ยงสัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Housing and Equipment

 

        สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อมของสัตว์ พฤติกรรมสัตว์ หลักการสร้างโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ระบายอากาศ การกำจัดของเสีย การออกแบบคอกและอุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ ประมาณราคา

รายวิชา 5243504

การจัดการของเสียจากสัตว์

3(3-0-6)

 

Animal Waste Management

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4223501 เคมีมูลฐาน และ 4232601 จุลชีววิทยา

        ของเสียและสิ่งเหลือใช้จากการเลี้ยงสัตว์ การนำเอาของเสียและสิ่งเหลือใช้มาดัดแปลงให้เป็นประโยชน์

5243701

การใช้สมุนไพรในการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

Herbs Utilization in Animal Production

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์  และ 5251102 หลักสุขศาสตร์สัตว์และมาตรฐานฟาร์ม

        ศึกษาทดลองวิเคราะห์ จัดประเภทสมุนไพรในการผลิตสัตว์ เกี่ยวกับโครงสร้างสมุนไพร การสกัด วิธีการคัดเลือก การใช้สมุนไพรที่เหมาะสม และข้อจำกัดในการใช้สมุนไพรและประยุกต์สมุนไพรท้องถิ่นในการผลิตสัตว์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการใช้สรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่างๆ โดยมีทักษะในการใช้สมุนไพรสำหรับกระบวนการผลิตสัตว์ และมีความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนมีความตระหนักถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการผลิตสัตว์

5244101

การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก

3(2-3-4)

 

Poultry Farm Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241101 การผลิตสัตว์ปีก

        ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การวิเคราะห์แผนการผลิตสัตว์ปีกชนิดต่างๆการวางแผนทำฟาร์มสัตว์ปีก การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์ปีก หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร กรณีศึกษาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีกเพื่อการค้า การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม

5244102

การเลี้ยงไก่ชนเพื่อการค้า

3(2-3-4)

 

Fighting Cock for Commercial

 

        ประวัติและความสำคัญทางไก่ชน การพัฒนาการเลี้ยงไก่ชนในประเทศไทย พันธุ์และลักษณะประจำพันธุ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ การเลี้ยงดูไก่ชน ระยะต่างๆ อาหารและการให้อาหารการเตรียมไก่สำหรับชน กฎกติกา การชนไก่ โรคและการป้องกันโรคไก่ชน การตลาดไก่ชน

5244201

การจัดการฟาร์มสุกร

3(2-3-4)

 

Swine Farm Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5242201 การผลิตสุกร

        การวางแผนการผลิตสุกร การเลือกสถานที่ และการสร้างฟาร์ม การวางแผนการผลิตสุกร พ่อแม่พันธุ์ ลูกสุกร สุกรรุ่น สุกรขุน การจัดการการอาหาร และการให้อาหาร การจัดกลุ่มผสมพันธุ์ การจัดการด้านสุขาภิบาลฟาร์ม การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม การวิเคราะห์โครงการ ต้นทุนการผลิตสุกร รายได้ และผลตอบแทน

5244301

การจัดการฟาร์มโคเนื้อ-โคนม

3(2-3-4)

 

Beef and Dairy Farm Management

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5242301 การผลิตโคนม หรือ 5242302 การผลิตโคเนื้อ-กระบือ

        การวางแผนระบบการผลิตโคเนื้อ โคนม การเลือกสถานที่ และการสร้างฟาร์ม แปลงหญ้า และการจัดการแปแปลงหญ้า อาหาร และการให้อาหาร การจัดการสืบพันธุ์การจัดการระบบสุขาภิบาลฝูงโคนม การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม การวิเคราะห์โครงการ ต้นทุนการผลิต รายได้ และผลตอบแทนการผลิตโคเนื้อ-โคนม

5244402

การตรวจและการวิเคราะห์อาหารสัตว์

3(2-3-4)

 

Feed Analysis

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5041401 อาหารและการให้อาหารสัตว์

        ปัญหาของการใช้อาหารสัตว์ในประเทศไทย การตรวจและการวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ และการวิเคราะห์คุณภาพของอาหารแบบต่าง ๆ ประเภทของสารพิษในอาหารสัตว์ การเกิดสารพิษและการทำลายสารพิษในอาหารสัตว์ มาตรฐานอาหารสัตว์

5244404

เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อ

3(3-0-6)

 

Meat and Meat Products Technology

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5041101 หลักการผลิตสัตว์ และ 4232601 จุลชีววิทยา

        โครงสร้างและองค์ประกอบของเนื้อสัตว์ การเก็บรักษาเนื้อสัตว์ การแปรรูปเนื้อสัตว์ การบรรจุหีบห่อ การจัดการตลาด

5244405

เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม

3(2-3-4)

 

Milk and Milk Products Technology

 

        โครงสร้างและองค์ประกอบของน้ำนม การตรวจสอบคุณภาพน้ำนม การเก็บรักษาน้ำนม การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ การบรรจุหีบห่อ การตลาด

5244406

เทคโนโลยีไข่และเนื้อไก่

3(2-3-4)

 

Egg and Chicken Meat Technology

 

        โครงสร้างและองค์ประกอบของไข่และเนื้อไก่ การเก็บรักษาไข่และเนื้อไก่ การแปรรูปไข่และเนื้อไก่ การตลาด

5244410

ภาษาอังกฤษเพื่อการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

English for Animal Production

 

        ศึกษา ชื่อศัพท์เทคนิคของสัตว์เลี้ยงชนิดต่างๆในการผลิตสัตว์ รวมถึง พันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ อาหารและการให้อาหารสัตว์ ระบบสืบพันธุ์ของสัตว์ สุขภาพสัตว์และการป้องกัน โรคในสัตว์ และสามารถสรุป แปลผลงานวิจัย ศัพท์เทคนิคต่างๆ ในการทดลองของสัตว์

5244501

เทคโนโลยีจุลชีพ เพื่อการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

Microbiological Technology for Animal Production

 

        ชนิดของจุลินทรีย์ โครงสร้าง การสืบพันธุ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ การผลิตจุลินทรีย์แห้ง การใช้จุลินทรีย์ในอาหารสัตว์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาหาร การบำบัดกลิ่นและลดกลิ่นในฟาร์มปศุสัตว์ สัตว์ปีก สุกร โคนม การใช้จุลินทรีย์ในการเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา และสัตว์น้ำอื่น

5244701

โภชนศาสตร์ประยุกต์

3(2-3-4)

 

Applied Animal Nutrition

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4223501 ชีวเคมี 1

        การประยุกต์ใช้วัตถุดิบเพื่อเป็นอาหารสัตว์ ข้อดี ข้อเสียของวัตถุดิบแต่ละชนิดเมื่อใช้เลี้ยงสัตว์ วิธีการปรับปรุงวัตถุดิบ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์เบื้องต้น ความต้องการอาหารสัตว์ชนิดต่างๆ ความแตกต่างของระบบการย่อยอาหารของสัตว์

5244702

การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Breeding

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4032401 พันธุศาสตร์

        หลักพื้นฐานและการใช้หลักทางพันธุกรรมในการปรับปรุง ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจของสัตว์ โดยเน้นการคัดเลือก ความแปรผัน ประมาณค่าอัตราพันธุกรรม ระบบการผสมพันธุ์และประมาณค่าของพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโดยใช้หลักพันธุศาสตร์

5244703

การจัดการฟาร์มปศุสัตว์

3(2-3-4)

 

Livestock Farm Management

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5241501 หลักการผลิตสัตว์

        ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มปศุสัตว์ การวางแผนทำฟาร์มปศุสัตว์ การวิเคราะห์แผนการผลิตปศุสัตว์ชนิดต่าง ๆ การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อต้นทุน และรายได้ในการทำฟาร์มปศุสัตว์ หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม

5244704

เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตสัตว์

3(3-0-6)

 

Biotechnology for Animal Production

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4032401 พันธุศาสตร์

        พื้นฐานเทคโนโลยีชีวภาพ การย้ายฝากตัวอ่อน การปฏิสนธินอกร่างกายการโคลนนิ่ง การคัดเพศ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อทางสัตว์ การจำลองพันธุกรรม

5244705

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสัตว์

3(2-3-4)

 

Applied Computer for Animal Product

 

        ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผลิตสัตว์ ความรู้เบื้องต้นของการใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน ความสำคัญของการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิตสัตว์ ความรู้เบื้องต้นในการค้นคว้าข้อมูลทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการคำนวณสูตรอาหาร ข้อมูลทางสถิติ การนำเทคโนโลยีทางสมัยใหม่มาใช้ในการนำเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ การสืบค้นข้อมูลที่เกี้ยวกับการผลิต

5251101

ปรสิตวิทยา

3(2-3-4)

 

Parasitology

 

        ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรสิต ลักษณะวงจรชีวิต การแบ่งหมวดหมู่และสรีรวิทยาของปรสิต ความเสียหายของสัตว์ที่เกิดจากปรสิต การตรวจวินิจฉัยการป้องกันและการกำจัดปรสิต

5251102

หลักสุขศาสตร์สัตว์และมาตรฐานฟาร์ม

3(2-3-4)

 

Principle of Animal Hygiene and Farm Standard

 

        ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคสัตว์ สาเหตุ การติดต่อ อาการ การควบคุมและป้องกัน การจัดการสุขภาพสัตว์ป่วยในฟาร์มปศุสัตว์ หลักการสุขาภิบาลในฟาร์มปศุสัตว์ การผ่าซากเพื่อชันสูตรโรค การเก็บตัวอย่างเพื่อการวินิจฉัยโรค อุปกรณ์และวิธีการทางศัลยกรรมอย่างง่าย มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์

5252201

กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์

3(2-3-4)

 

Animal Anatomy and Physiology

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4031301 สัตววิทยา

        ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ในร่างกายสัตว์ ระบบโครงร่าง ระบบกล้ามเนื้อหัวใจ ระบบไหลเวียนโลหิต การย่อยอาหาร การหายใจ ไตและระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบประสาท ต่อมไร้ท่อ และหน้าที่ของฮอร์โมน การสืบพันธุ์ การสร้างน้ำมัน การสร้างไข่ในสัตว์ปีก

5252202

กายวิภาคศาสตร์สัตว์

3(2-3-4)

 

Anatomy of Domestic Animal

 

        โครงสร้าง และส่วนประกอบทางกายวิภาคของร่างกายสัตว์ ระบบโครงร่าง ระบบกล้ามเนื้อหัวใจและการไหลเวียนโลหิต ระบบการย่อยอาหาร ระบบประสาท ระบบขับถ่าย การหายใจ ส่วนปกคลุมร่างกาย อวัยวะสืบพันธุ์สัตว์ โครงสร้างเต้านม

5252203

สรีรวิทยาของสัตว์

3(2-3-4)

 

Physiology of Domestic Animal

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5051202 กายวิภาคศาสตร์สัตว์

        การศึกษาการทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกายสัตว์ ระบบโครงร่าง ระบบกล้ามเนื้อ หัวใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบการย่อยอาหาร การหายใจ ไต และระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบประสาท ต่อมไร้ท่อ และหน้าที่ของฮอร์โมน การสืบพันธุ์ การสร้างน้ำนม การสร้างไข่ในสัตว์ปีก

5252301

การใช้ยาในฟาร์มปศุสัตว์

3(2-3-4)

 

Drug Use in Farm Animals

 

        เภสัชวิทยาทั่วไป การเลือกใช้ยาในฟาร์มปศุสัตว์ การตกค้างของยาสัตว์ ผลกระทบต่อการผลิตสัตว์ และสาธารณสุข การตรวจวิเคราะห์สารตกค้าง การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผล

5253701

อาหารปลอดภัยและมาตรฐานฟาร์ม

3(3-0-6)

 

Livestock Food Safety and Farm standard

 

        ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการปศุสัตว์ และสัตว์ในประเทศไทย มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหาร มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์และหลักเกณฑ์การจัดตั้งฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อส่งออก

5261101

หลักการประมง

3(2-3-4)

 

Principles of Fisheries

 

        ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการประมงต่อสังคมและเศรษฐกิจ สภาพการใช้ทรัพยากรประมงในประเทศ หลักและวิธีการทำประมงเครื่องมือประมง หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำและการแปรรูป หลักการอนุรักษ์และการบำรุงรักษาพันธุ์สัตว์น้ำ การตลาดและการจัดจำหน่ายสัตว์น้ำ กฎหมายเกี่ยวกับการประมงและคุ้มครองสภาพแวดล้อมทางการประมง

5261102

หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Principles of Aquaculture

 

        ศึกษาเกี่ยวกับประวัติและพัฒนาการของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ขอบเขตของงานเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิธีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจำแนกตามประเภทและชนิด การจัดการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

5261103

การวิเคราะห์น้ำและคุณภาพน้ำทางการประมง

3(2-3-4)

 

Water Analysis and Water Quality for Fishery

 

        ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อการวิเคราะห์ การวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ เคมีและชีวภาพ คุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพน้ำ การปรับปรุงคุณภาพน้ำให้เหมาะสมกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

5261104

นิเวศวิทยาแหล่งน้ำ

3(2-3-4)

 

Aquatic Ecology

 

        ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศน์ของแหล่งน้ำ ประชาคมสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์สิ่งมีชีวิตในประชาคม วัฏจักรแร่ธาตุและปัจจัยจำกัดพลังงานในระบบนิเวศน์และการถ่ายทอดพลังงาน สมดุลและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์ ประเภทของระบบนิเวศวิทยาแหล่งน้ำ มลพิษทางน้ำและผลกระทบ

5261105

เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Fish Breeding Technology

 

        ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ เทคโนโลยีอาหารสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำ เทคโนโลยีเกี่ยวกับระบบโรงเพาะฟักและระบบฟาร์มสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้ำในทะเล

5261201

มีนวิทยา

3(2-3-4)

 

Ichthyology

 

        ศึกษา รวบรวมข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ โครงสร้างและระบบต่าง ๆ ของปลากาวิภาค และสรีรวิทยา พื้นฐานของปลา อนุกรมวิทยาของปลา ปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ

5262101

การสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Fish Pond Construction

 

        ศึกษาหลักการ และวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลือกทำเลสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การสำรวจรังวัดและทำแผนที่ การออกแบบบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การวางระบบน้ำ

5262201

การเพาะพันธุ์ปลา

3(2-3-4)

 

Fish Breeding

 

        ศึกษาหลักการ วิธีการและดำเนินการคัดเลือก และเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลา การเพาะพันธุ์ปลาด้วยวิธีต่างๆ การจัดการในการดำเนินการเพาะพันธุ์และอนุบาลลูกปลา

5262401

โรคและพยาธิสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Diseases and Parasites of Aquatic Animals

 

        ศึกษาเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของเชื้อโรคและปรสิตของสัตว์น้ำ ทั้งที่พบในธรรมชาติและที่พบในบ่อเลี้ยง ลักษณะ และอาการของสัตว์น้ำที่เป็นโรค การป้องกันการกำจัดและการรักษา ตลอดจนผลกระทบต่อผู้บริโภค

5263101

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

3(2-3-4)

 

Coastal Aquaculture

 

        ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ นิเวศวิทยาของแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจจำแนกตามประเภทและชนิด การจัดการการเพาะเลี้ยงชายฝั่งที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5263102

หลักเทคโนโลยีทางผลิตภัณฑ์ประมง

3(2-3-4)

 

Principle of Technology in Fishery Products

 

        องค์ประกอบของปลาและสัตว์น้ำ การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบต่าง ๆ ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ประมง หลักการเบื้องต้นและเทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ประมง มาตรฐานและหลักควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ประมง

5263103

วิทยาศาสตร์ทางทะเลเบื้องต้น

3(3-0-6)

 

Introduction to Marine Science

 

        ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทร การใช้ประโยชน์ทรัพยากรการบริหารและการวางแผน เพื่อการใช้ประโยชน์จากทะเลและมหาสมุทร

5263201

การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน

3(2-3-4)

 

Integrated Fish Culture

 

        หลักการเลี้ยงปลาร่วมกับการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่าง ๆ วิธีการเลี้ยง อัตราในการเลี้ยง ต้นทุนการผลิต การให้อาหารสมทบ ผลผลิตและการจำหน่ายศึกษาหลักการเลี้ยงปลาแบบบูรณาการ สภาพแวดล้อมของบ่อเลี้ยงปลาผสมผสานหลักการเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน การเลี้ยงปลาผสมผสานรูปแบบต่าง ๆ การประเมินคุณค่าทางเศรษฐกิจและการใช้ทรัพยากร การออกแบบและการสร้างฟาร์มเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน การเลี้ยงปลาร่วมกับสัตว์ชนิดต่างๆ การคิดต้นทุนการผลิต การจัดการผลผลิตและการจำหน่าย

5263202

การเลี้ยงปลาน้ำจืด

3(2-3-4)

 

Fresh Water Fish Culture

 

        ศึกษาเกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงปลา ฟาร์มเลี้ยงปลาน้ำจืด รูปแบบการเลี้ยงเช่นการเลี้ยงปลาในนาข้าว การเลี้ยงปลาในบ่อ การเลี้ยงปลาในกระชัง สภาพน้ำที่ปลอดภัยการจัดการระหว่างการเลี้ยง เช่นขนาด และอัตราการปล่อย การเจริญเติบโตของปลาในบ่อและการเพิ่มผลผลิต วิธีการและเครื่องมือสำหรับใช้เลี้ยงปลาในบ่อดิน อาหารธรรมชาติอาหารสมทบ สุขภาพของปลาในบ่อเลี้ยงและการควบคุมโรค การคำนวณต้นทุนการผลิตการตลาด

5263203

อาหารและการให้อาหารปลา

3(2-3-4)

 

Feed and Feeding of Fish

 

        ศึกษาเกี่ยวกับ องค์ประกอบของอาหาร สารอาหารที่ปลาต้องการ การสร้างสูตรอาหารปลา การผลิตอาหาร ปัจจัยควบคุมการกินอาหารของปลา แหล่งของอาหาร การกระตุ้นให้เกิดอาหารธรรมชาติในบ่อ การเตรียมอาหารและวิธีการให้อาหาร

5263301

การเลี้ยงกุ้ง

3(2-3-4)

 

Shrimp Culture

 

        ศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของกุ้งที่มีค่าทางเศรษฐกิจ การเลือกสถานที่ การเตรียมบ่อเลี้ยง การเลี้ยง วิธีการเลี้ยง เช่น การให้อาหาร การป้องกันและกำจัดศัตรู การดูแลรักษาการตลาดของกุ้งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ

5263701

หลักเศรษฐศาสตร์ประมง

3(3-0-6)

 

Principles of Fishery Economics

 

        ศึกษาเกี่ยวกับ หลักเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน ทฤษฎีและแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ของการประมง การใช้ทรัพยากรประมงที่สอดคล้องกับผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการทำประมงมากเกินควร การวิเคราะห์แบบจำลองเศรษฐศาสตร์ประมงสำหรับใช้จัดการประมง

5264101

การอนุรักษ์สัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Aquatic Animal Conservation

 

        ศึกษาเกี่ยวกับชีววิทยาทางด้านการสืบพันธุ์ การกินอาหาร การเติบโต การแพร่กระจายของสัตว์น้ำในแหล่งน้ำ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเพิ่มจำนวนสัตว์น้ำ อิทธิพลที่มีผลต่อการลดจำนวนสัตว์น้ำ ผลกระทบของการประมงต่อการลดจำนวนสัตว์น้ำ หลักการเบื้องต้นของการอนุรักษ์ ปัจจัยควบคุมการผลิตและการแพร่กระจาย การปกป้องระบบนิเวศของแหล่งอาศัย การบูรณะแหล่งน้ำเพื่อฟื้นฟูสต๊อคสัตว์น้ำ มาตรการควบคุมและอนุรักษ์สัตว์น้ำ ปัญหาเกี่ยวกับด้านการอนุรักษ์สัตว์น้ำ

5264102

การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ

3(2-3-4)

 

Aquafarm Management

 

        ศึกษาเกี่ยวกับฟาร์มสัตว์น้ำและการจัดการ ตัวชี้วัดแสดงผลของการจัดการ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ใช้ตัดสินใจระดับการผลิต ต้นทุนการผลิต อุปทานผลผลิตและราคาผลผลิตการจัดรูปองค์กรฟาร์มสัตว์น้ำ การวางแผนการผลิตของธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ สินเชื่อและการลงทุน การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน การวิเคราะห์และวินิจฉัยฟาร์มสัตว์น้ำ

5264103

พันธุศาสตร์สัตว์น้ำ

3(3-0-6)

 

Genetic of Aquatic Animals

 

        หลักการทางพันธุศาสตร์สัตว์น้ำ การศึกษาโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทั้งคุณภาพและปริมาณการใช้ประโยชน์พันธุศาสตร์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

5264201

การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม

3(2-3-4)

 

Fancy Fish Culture

 

        ศึกษาเกี่ยวกับชนิด ของปลาสวยงามทั้งที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการและเทคนิคในการเพาะพันธุ์ การคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ การเพาะพันธุ์ การอนุบาล รูปแบบการเลี้ยง อาหารสัตว์น้ำ โรค ปรสิตและการป้องกันรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาสวยงาม

5264701

การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมง

3(2-3-4)

 

Quality Control of Fishery Products

 

        หลักการควบคุมคุณภาพ วิธีการวัดค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ประมง การควบคุมการผลิต การใช้วิธีทางสถิติในการประเมินผล

5264901

กรณีศึกษาโครงการพระราชดำริที่เกี่ยวข้องกับการประมง

3(2-3-4)

 

Case Study in His Majesty the King , s Fisheries Project

 

        ศึกษาแนวโครงการที่เกี่ยวข้องกับโครงการพระราชดำริทางการประมง และการเรียนรู้วิธีที่จะนำมาปรับใช้กับเกษตรกรประมง

5272301

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเบื้องต้น

2(1-2-3)

 

Introduction to Food Science and Technology

 

        สถานการณ์อาหารโลก แหล่งอาหารมนุษย์ ลักษณะทางอุตสาหกรรม องค์ประกอบของอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอาหาร การเสื่อมเสียของอาหารและการควบคุม หลักเบื้องต้นของการแปรรูปอาหารชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์อาหารชนิดต่างๆเช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อ ผลิตภัณฑ์นม อาหารทะเล ไขมันและน้ำมันธัญชาติ ผักผลไม้ เครื่องมือ ผลิตภัณฑ์หมัก การบรรจุภัณฑ์อาหารและความปลอดภัยในอาหาร

5273302

การแปรรูปอาหาร 1

3(2-3-4)

 

Food Processing 1

 

        หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณลักษณะทางประสาทสัมผัสและคุณสมบัติทางโภชนาการของอาหาร คุณลักษณะทั่วไปของวัตถุดิบอาหาร การจัดการและการเตรียมวัตถุดิบเพื่อการแปรรูปในอุตสาหกรรม กรรมวิธีการแปรรูปอาหารโดยใช้ความร้อน กระบวนการเอ๊กซ์ทรูชั่น การทำแห้ง การทำให้อาหารเข้มข้น การใช้ไมโครเวฟ การศึกษาดูงานนอกสถานที่

5273303

การแปรรูปอาหาร 2

3(2-3-4)

 

Food Processing 2

 

        กรรมวิธีการแปรรูปอาหารโดยการแช่เย็น การแช่เยือกแข็ง การหมัก การใช้สารเคมี การฉายรังสี หลักเกณฑ์ทั่วไปของการปฏิบัติการที่ดีในการผลิตอาหาร การบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ อาหารแปรรูป น้ำและการจัดการของเสีย ผลิตผลพลอยได้และการใช้ประโยชน์จากของเสีย การศึกษาดูงานนอกสถานที่

5273304

หลักการควบคุมคุณภาพอาหารและการประกันคุณภาพ

3(2-3-4)

 

Principle of Food Quality Control and Quality Assurance

 

        หลักการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร การวัดค่าและควบคุมคุณภาพทางกายภาพ เคมีจุลินทรีย์ และประสาทสัมผัสในกระบวนการแปรรูปอาหาร เทคนิค วิชาการสุ่มตัวอย่างอาหารโดยใช้ หลักการทางสถิติ เพื่อสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพอาหาร การจัดระบบประกันคุณภาพอาหารมาตรฐานระบบคุณภาพในระดับประเทศและระดับสากล เทคนิคการนำระบบคุณภาพมาใช้ในการประกันคุณภาพอาหาร เช่น GMP, HACCP, ISO9000, ISO17025 เป็นต้น การศึกษาดูงานนอกสถานที่

5282101

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด

3(2-3-4)

 

Plant Pest Control

 

        ความสำคัญของศัตรูพืช ประเภทของความเสียหาย การจำแนกประเภทของศัตรูพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแพร่ระบาด การประเมินระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ หลักการและวิธีการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและผลกระทบต่อระบบนิเวศ

5283101

แมลงสำคัญทางการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Insect Pest

 

        ศึกษาชีววิทยา การควบคุมแมลงศัตรูที่สำคัญทางเศรษฐกิจของพืชผลทางการเกษตรที่สำคัญ และการใช้ประโยชน์จากแมลงที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ แมลงที่ให้ผลผลิต แมลงที่ช่วยผสมเกสร และแมลงที่เป็นศัตรูธรรมชาติ

5283201

โรคพืชสำคัญทางการเกษตร

3(2-3-4)

 

Agricultural Plant Pathology

 

        ประวัติและความสำคัญของโรคพืช ลักษณะอาการและสาเหตุของโรคพืช การแพร่ระบาด หลักการป้องกันกำจัดโรคพืชด้วยการปฏิบัติทางการเพาะปลูก ทางฟิสิกส์ เคมี และชีววิธีการใช้พันธุ์ต้านทาน ตัวอย่างโรคพืชที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด การเก็บรักษาพืชที่เป็นโรคด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษา

5283301

หลักการควบคุมวัชพืช

3(2-3-4)

 

Principle of Weed Control

 

        ประเภทของวัชพืช ความเสียหาย และการใช้ประโยชน์ที่เกิดจากวัชพืชทางพฤกษศาสตร์และวัชพืช ลักษณะทางชีววิทยา การขยายพันธุ์และการแพร่กระจายพันธุ์ การป้องกันและการกำจัดด้วยสารเคมีและวิธีอื่น ๆ ประเภทและชนิดต่าง ของยากำจัดวัชพืช ลักษณะเฉพาะอย่างของยากำจัดวัชพืชกลุ่มต่าง ๆ ข้อปฏิบัติต่าง ๆ ในความปลอดภัยในการใช้ยากำจักวัชพืช การเก็บและรักษาตัวอย่างวัชพืชเพื่อการศึกษา

5312101

หลักการชลประทาน

3(2-3-4)

 

Irrigation and Drainage

 

        ความสัมพันธ์ของดินน้ำและพืช หลักและวิธีการให้น้ำ การจัดประสิทธิภาพ ในการให้น้ำ การวางแผนผังในการให้น้ำ ระบบการส่งน้ำ การควบคุมระดับน้ำ และการระบายน้ำบนดินและใต้ดิน

5312401

เทคโนโลยีการให้น้ำแก่พืช

2(1-2-3)

 

Irrigation Technology

 

        ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ พืช หลักการและเทคนิคการให้น้ำแก่พืช แหล่งน้ำการวางแผนผังการให้น้ำ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการให้น้ำกับพืช ความก้าวหน้าของการให้น้ำแก่พืช

5322101

งานช่างเกษตร

3(2-3-4)

 

Farmshop in Agricultural

 

        ความรู้พื้นฐานทั้งหลักการและการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานช่างเครื่องยนต์ ช่างโลหะ ช่างไม้ ช่างปูน ไฟฟ้า ชลประทาน ท่อ ก่อสร้าง และเครื่องจักรกลโรงงาน การบำรุงรักษา ความปลอดภัยในโรงงาน การจัดการโรงงาน

5322201

เครื่องจักรกล และเครื่องทุ่นแรงทางการเกษตร

3(2-3-4)

 

MachineryAAgricultural

 

วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 5322101 งานช่างเกษตร

        ชนิดและประเภทของเครื่องจักรกล และเครื่องทุ่นแรง ระบบการทำงานของเครื่องจักรกล ส่วนประกอบ และหน้าที่ๆมีความสัมพันธ์ในเครื่องจักรกล การซ่อมบำรุงรักษาแก้ไขข้อขัดข้อง การใช้เครื่องจักรกลที่เหมาะสมกับงาน อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับเครื่องจักรกล การประเมินผลการทำงาน การประมาณการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเครื่องจักรกล

5333101

การส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

3(2-3-4)

 

Agricultural Extension and Co-operatives

 

        หลักการ ความมุ่งหมายและปรัชญาในงานส่งเสริม ศึกษาถึงโครงสร้างงานส่งเสริม ซึ่งรวมทั้งงานด้านการเกษตรสหกรณ์ คหกรรมศาสตร์ และกลุ่มเกษตรกร ศึกษาและวิเคราะห์การดำเนินงานส่งเสริมในรูปแบบต่าง ๆ ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้น

18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

        หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต เกษตรศาสตร์ กำหนดประเด็นการประกันคุณภาพหลักสูตรไว้ดังนี้

            18.1 การบริหารหลักสูตร

                1. กำหนดเกณฑ์และระบบในการคัดเลือกนักศึกษาที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
                2. แต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงและ/หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
                3. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning)
                4. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมอย่างหลากหลาย
                5. มีแผนการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                6. จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาให้บังเกิดประสิทธิผล
                7. มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตก่อนสำเร็จการศึกษา
                8. มีระบบการประเมินอาจารย์ชัดเจนและแจ้งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
                9. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกภาคเรียน
                10. จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาทุกปี

            18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

                1. จัดให้มีวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ
                2. จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้เข้าเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชา
                3. จัดห้องปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะวิชาชีพให้แก่นักศึกษา
                4. ร่วมมือกับสถาบันวิทยบริการจัดหาหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำเป็น
                5. มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศสำหรับสืบค้นข้อมูลเพียงพอกับจำนวน นักศึกษา
                6. มีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน

            18.3 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา

                1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพหลักตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย
                3. จัดหาแหล่งทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาทั้งประเภททุนให้เปล่าและทุนกู้ยืม
                4. ส่งเสริมให้นักศึกษามีงานทำระหว่างเรียน
                5. จัดระบบสารสนเทศในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

            18.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                1. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมก่อนพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้ง
                2. สำรวจความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมทุก 2 ปี เพื่อนำมาปรับเป้าหมายการผลิตบัณฑิต
                3. สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทุก 2 ปี
                4. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทุก ๆ ปี

19. การพัฒนาหลักสูตร

        19.1 การพัฒนาหลักสูตร       

            ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีกระบวนการดังนี้

                1. มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่มาจากผู้เกี่ยวข้อง มีคุณวุฒิตรงตามสาขาและ/หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
                2. มีการสำรวจความต้องการของสังคมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
                3. มีการวิพากษ์การจัดทำหลักสูตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
                4. มีรายงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และรายงานการประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                5. มีนโยบายในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก ๆ ปี
                6. มีแผนงานในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา ทุก ๆ 5 ปี   

        19.2 การประเมินหลักสูตร   

            กำหนดแนวทางการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้

                1. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนทุกภาคการศึกษา และประเมินโดย ผู้สอนปีละครั้ง
                2. ประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้รวบยอดก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง
                3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Performance Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                4. ประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา (Impact Evaluation) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ทุก 4 ปี
                5. มีการประเมินหลักสูตรทั้งระบบทุกรอบ 4 ปี

 

***************

 

ภาคผนวก

 

1. สรุปรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) พุทธศักราช 2549

        ตาราง แสดงรายการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2549

ที่

รายการปรับปรุง

หลักสูตรเดิม

หลักสูตรใหม่

คำชี้แจงเพิ่มเติม

1

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)

จัดเป็น 3 แขนงวิชา(หรือวิชาเอก)

2

ชื่อแขนงวิชา

พืชศาสตร์
สัตวบาล
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

เทคโนโลยีการผลิตพืช
เทคโนโลยีการผลิตสัตว์
เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

 

3

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)

วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)

คงเดิม

4

ปรัชญาของหลักสูตร

ไม่มี

มี

 

5

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

2 ข้อ

5 ข้อ

เน้นการผสานความรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
และการพึ่งพาตนเอง พร้อมเป็นคนดีที่สังคมยอมรับ

6

หลักสูตร

 

เรียนคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 5 นก. เรียนภาษาอังกฤษ
อย่างน้อย 12 นก.

ภาษาอังกฤษจัดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 น.ก.
และหมวดวิชาเฉพาะ 6 น.ก.

6.1 จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 138 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 130 หน่วยกิต

 

6.2 โครงสร้างของหลักสูตรแบ่งเป็น 2 แบบคือแบบปกติ
      และแบบสหกิจ

     

    - แบบปกติ

     

       (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

33 หน่วยกิต

31 หน่วยกิต

 

       (2) หมวดวิชาเฉพาะ

(95 หน่วยกิต)

(93 หน่วยกิต)

 

            2.1 วิชาแกน

-

39 หน่วยกิต

 

            2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

40 หน่วยกิต

34 หน่วยกิต

 

            2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

33 หน่วยกิต

13 หน่วยกิต

 

            2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

7 หน่วยกิต

7 หน่วยกิต

 

            2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

15 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

       (3) หมวดวิชาเลือกเสรี

ให้เลือกเรียน 10 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 

    - แบบสหกิจ

   

เดิมไม่มีแบบสหกิจ

       (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

 

31 หน่วยกิต

 

       (2) หมวดวิชาเฉพาะ

 

(93 หน่วยกิต)

 

            2.1 วิชาแกน

 

39 หน่วยกิต

 

            2.2 วิชาเฉพาะด้านบังคับ

 

34 หน่วยกิต

 

            2.3 วิชาเฉพาะด้านเลือก

 

9 หน่วยกิต

 

            2.4 วิชาประสบการณ์ฯ

 

11 หน่วยกิต

 

            2.5 วิชาวิทยาการจัดการ

 

6 หน่วยกิต

จัดรวมไว้กับวิชาแกน

       (3) หมวดวิชาเลือกเสรี

 

ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต

 
 

6.3 ระบบรหัสวิชา

จัดตามระบบ ISCED

ยึดระบบ ISCED แต่ปรับเลข 2หลักแรกให้ตรงกับรหัสคณะ
เพื่อความสะดวกในการบริหารหลักสูตร

 
 

5.4 คำอธิบายวิชา

140 รายวิชา

308 รายวิชา

ตัดออก 194รายวิชา เพิ่มใหม่ 26 รายวิชา

2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิ

        2.1 รศ.ดร.วิทยา สุริยาภณานนท์  Ph.D. (Horticulture) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

        2.2 ผศ.ดร. สมเกียรติ ประสานพานิชย์ วท.ด. (สัตวบาล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

        2.3 ผศ. สมชาย พลานนท์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร

        2.4 ผศ. จงดี ศรีนพรัตน์วัฒนมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วท.ม. (วิทยาศาสตร์ประมง) สาขาโรคสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.5 ดร. เสนาะ กาศเกษม วท.ด. (สัตวบาล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยอำนวยการ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรลพบุรี

        2.6 ดร. ธาตรี จีราพันธุ์ Ph.D. (Animal Science) Central Luzon State University, Philippines มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.7 ดร. ธีระพล ศิลกุล Doc.of Tech. Asian Institute of Technology, Thailandศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท กรมวิชาการเกษตร

        2.8 ดร. บุญแสน เตียวนุกูลธรรม วท.ด. (ปฐพีวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.9 ดร. ทัศนุพันธุ์ กุศลสถิตย์ วท.ด. (พืชสวน) สรีวิทยาการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.10 นายสาวิต โพธิ์แก้ว วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สาขาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรฯ หาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.11 นายสมชาย ศรีพูล วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.12 นายธันวา ไวยบท วท.ม.(สัตวศาสตร์) สาขาโภชนศาสตร์สัตว์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.13 นางสาวสุกัญญา สุจริยา วท.ม. (พืชไร่) สาขาการปรับปรุงพันธุ์พืช มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

        2.14 นายเกรียงไกร สังข์น้อย นักศึกษา ป.โท สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

3. ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)

        1. มหาวิทยาลัยฯ จัดประชุมรับฟังวิสัยทัศน์หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ และพลเอกศิริ ทิวพันธ์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545

        2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ โรงแรมทรัพย์ไพรวัลย์แกรนด์รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 28-30 ตุลาคม 2545 ทำให้ได้มาตรฐานหลักสูตร ชื่อหลักสูตร วิชาแกน วิชาบังคับ และวิชาเลือกบางส่วน

        3. เข้าร่วมประชุมของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การ ปฎิบัติ ณ โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์2000 จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2548

        4. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฯ ณ ภาควิชาฯ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2548

        5. เข้าร่วมการวิพากษ์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร เมื่อวันที่ 1-2 สิงหาคม 2548

        6. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฯ ณ ภาควิชาฯ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2548

        7. เข้าร่วมการวิพากษ์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืชและเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2548

        8. ประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงวิชาศึกษาทั่วไป (ตามประกาศมหาวิทยาลัย) และกลุ่มวิทยาการจัดการ ในวันที่ 25 สิงหาคม 2548 และเตรียมงานการจัดวิพากษ์หลักสูตรเมื่อวันที่ 5 –13 กันยายน 2548

        9.จัดวิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ณ ห้องดุสิตา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2548

        10. ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ เมื่อวันที่ 1-15 ตุลาคม 2548

        11. นำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2548

        12. นำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ครั้งที่2 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2548

        13. นำเสนอหลักสูตรต่อคณะอนุกรรมการวิชาการ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2548

        14. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของสภาวิชาการและอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ

        15. นำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2548 สภามหาวิทยาลัย โดยมีมติอนุมัติหลักสูตรนี้

4. ข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) แบ่งเป็นกลุ่มย่อยดังนี้

        4.1 กลุ่มวิพากษ์ในสาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์   

                ในรายวิชาเอกเลือก เช่นวิชาอาหารและการให้อาหารสัตว์ ควรมีการรวมหรือตัดเพราะ อาหารและการให้อาหารจะมีรายละเอียดในรายวิชาต่าง ๆ ของการผลิตสัตว์ชนิดต่าง ๆ และวิชาการจัดการฟาร์มปศุสัตว์อาจจะซ้ำกับการจัดการฟาร์มโคเนื้อโคนม

                - ข้อเสนอแนะของ ผศ.ดร.สมเกียรติ ประสานพานิชย์

                        การรับนักศึกษาที่ไม่จำกัดแค่เรียนด้านวิทยาศาสตร์มาเรียนนั้นสามารถทำได้ แต่ต้องให้นักศึกษามาเรียนเพิ่มเพื่อปรับพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และสามารถเรียนต่อได้ ส่วนวิชานั้นเป็นเรื่องเล็กน้อย ควรเน้นความรู้ให้แน่นนักศึกษาจะได้มาลงเก็บมากหรือเรียนเพิ่มมาก

                - ข้อเสนอแนะของ ดร.เสนาะ กาศเกษม

                        ราชภัฏควรมีจุดเด่นของตัวเอง เพื่อไม่ให้ซ้ำกับมหาวิทยาลัยและไม่ควรทำเพื่อแข่งกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยยึดปรัชญาและคุณลักษณะของบัณฑิต เพื่อชุมชน ส่วนการรับนักศึกษาสามารถรับทุกระดับได้ แต่จะต้องมีการพัฒนาแล้วส่งออกไปสามารถปฏิบัติงานได้ ตามตลาดแรงงาน ส่วนรายวิชาสหกิจศึกษา เห็นด้วยดีแต่เป็นห่วงด้านการหาที่ฝึกพร้อมกัน นอกจากนี้ยังเห็นด้วยกับ การสอบประมวลผลความรู้ทั้งหมดก่อนจบแต่ต้องระวังมาตรฐานของการสอบ

        4.2 กลุ่มวิพากษ์ในสาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช

                คำแนะนำและการแก้ไขโครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

                1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 31 หน่วยกิต

                        จำนวนหน่วยกิตหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มากสามารถจะลดหน่วยกิตลงได้ไหม โดยวิชาในหมวดนี้บางวิชา เช่น วิชาวิถีไทย วิถีโลก ฯลฯ นักศึกษาได้มีการเรียนมาในสมัยมัธยมแล้ว วิชาภาษาอังกฤษ 12 หน่วยกิต รศ.ดร.วิทยา สุริยาภณานนท์ ให้แนวคิดว่ามากเกินไป ซึ่งการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษมาก ๆ บางครั้งก็ไม่ได้เกิดประโยชน์เสมอไป แต่ทางด้าน ดร.ธีระพล ศิลกุล เห็นด้วยกับการที่จะต้องเรียนภาษาอังกฤษมาก ๆ หน่วยกิตแต่ทางอาจารย์ประจำหลักสูตรแนะว่าจำนวนหน่วยกิต รายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป เป็นมติของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ครั้งที่ 7/2548 (ตามเอกสารที่แนบมา) ที่ได้ตกลงกันไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้

                2. หมวดวิชาเฉพาะ

                        2.1.1 วิชาแกน ต้องการลดจำนวนหน่วยกิตวิชาแกนลงเพื่อให้สามารถเรียนในหมวดวิชาเอกได้มากขึ้น โดย ผศ.สุวรรณ์ คงมี แนะนำให้รวมวิชาบทปฏิบัติการกับวิชาหลักเข้าด้วยกันคือ วิชาปฏิบัติฟิสิกส์ทั่วไป 1 หน่วยกิต ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง รวมกับวิชาฟิสิกส์ทั่วไปที่เดิมเป็น 3 หน่วยกิตบรรยาย 3 ชั่วโมง ให้เป็นวิชาฟิสิกส์ทั่วไป 3 หน่วยกิต บรรยาย 2 ชั่วโมง และปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง วิชาปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1 หน่วยกิต ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง รวมกับวิชาเคมีทั่วไปที่เดิมเป็น 3 หน่วยกิต บรรยาย 3 ชั่วโมง ใช้เป็นวิชาเคมีทั่วไป 3 หน่วยกิตบรรยาย 2 ชั่วโมง และปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง และวิชาปฏิบัติชีววิทยาทั่วไป 1 หน่วยกิต ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง รวมกับวิชาชีววิทยาทั่วไป ที่เดิมเป็น 3 หน่วยกิต บรรยาย 3 ชั่วโมง ใช้เป็นวิชาชีววิทยาทั่วไป 3 หน่วยกิตบรรยาย 2 ชั่วโมง และปฏิบัติการ 3 ชั่วโมงทำให้จากหมวดวิชาเฉพาะทั้งหมด 27 หน่วยกิจ เหลือเป็น 24 หน่วยกิตและวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อวิทยาศาสตร์ ดร.ธีระพล ศิลกุล กล่าวว่า นอกจากที่จะสอนพื้นฐานและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับงานทางวิทยาศาสตร์แล้ว ควรเพิ่มโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรโดยตรงด้วย

                        2.1.2 วิชาเอกบังคับ ในรายวิชาปัญหาพิเศษ ดร.ธีระพล ศิลกุล วิชาปัญหาพิเศษควรลดหน่วยกิตจาก 3 หน่วยกิตเป็น 4 หน่วยกิตเพื่อให้สามารถเขียนวิชาอื่นได้อีกแต่ รศ.ดร.วิทยา สุริยาภณานนท์ แนะว่าน่าจะมองในแง่ของอาจารย์ผู้สอนที่ต้องให้ความเอาใจใส่นักศึกษามากเป็นพิเศษ ก็ควรจะมีหน่วยกิตมากเพื่อให้สามารถนับเป็นภาระงานให้กับอาจารย์ และวิชาหลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควรจะเป็นวิชาเลือกมากกว่าแต่ในการทำหลักสูตรครั้งนี้มีเพียง 1 หลักสูตร ซึ่งเป็นหลักสูตรเกษตรศาสตร์ที่รวม 3 สาขาวิชาไว้ด้วยเนื่องจากอาจารย์ที่ประจำหลักสูตรไม่พอ  ดังนั้นวิชาเอกบังคับ จึงต้องเหมือนกัน ซึ่งนักศึกษาจะต้องเรียนวิชาจาก 3 สาขาวิชา

                        2.1.3 วิชาเอกเลือก ควรเอาวิชาพฤกษศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์พืช สรีรวิทยาของพืช หลักการขยายพันธุ์พืชน่าจะเป็นวิชาเอกบังคับ ผศ.สมชาย พลานนท์ และ ดร.ธีระพล ศิลกุล แนะว่าควรเน้นวิชาพืชไร่ เช่นวิชาข้าว อ้อย มันสำปะหลัง หรือวิชาพืชสำคัญในท้องถิ่น ให้นักศึกษาได้เรียน เพื่อให้เข้าใจถึงกระบวนการผลิตพืชที่สำคัญในท้องถิ่น ทางอาจารย์ประจำหลักสูตรได้กำหนดวิชาหัวข้อเฉพาะทางเทคโนโลยีการผลิตพืช ซึ่งเป็นวิชาที่ผันแปรตามสถานการณ์หรือความนิยมในขณะนั้น

                3. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ทางสภามหาวิทยาลัยราชภัฏได้กำหนดให้มีการฝึกงาน 5

                        หน่วยกิตเป็นเวลา 450 ชั่วโมง ซึ่งวิทยากรแนะนำในส่วนของการฝึกแบบสหกิจศึกษาจะต้องหาแหล่งฝึกงานให้ดี มิฉะนั้นการออกฝึกงานของนักศึกษาจะไม่เกิดประโยชน์จะกลายเป็นการเสียเวลา และนายสมศักดิ์ ซึ่งเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สาขาพืชศาสตร์ ได้เล่าถึงประสบการณ์ในการสมัครงานว่าในการเข้าสอบในหน่วยงานราชการจะมีการนับหน่วยกิตวิชาเรียงของสาขาพืชให้เพียงพอ 35 หน่วยกิต ถ้าไม่พอจะไม่รับสมัคร ซึ่งปัจจุบันทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีปัญหาหน่วยกิตไม่พอ ดังนั้นในการกำหนดวิชาเรียน ควรระวังต้องให้วิชาด้านสาขาพืชมีหน่วยกิตพอ 35 หน่วยกิต

5. การแก้ไข - ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อเกษตร / ภาษาอังกฤษ English for Agriculture

รหัสวิชาใหม่ 23122702 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    อ่าน เขียน ตีความและวิเคราะห์ เอกสาร/วารสาร ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านการเกษตร

 

    เป็นวิชาใหม่ตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยฯ

ชื่อวิชาภาษาไทย สรีรวิทยาการผลิตพืช / ภาษาอังกฤษ Physiology of Crop Prodution

รหัสวิชาใหม่ 5003103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของพืช กระบวนการต่างๆ เช่นการดูดน้ำ แร่ธาตุ การขนส่ง การสังเคราะห์แสง การหายใจ เป็นต้น ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการดังกล่าว เน้นการประยุกต์ เพื่อการจัดการผลิตพืชปลูก

 

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ระบบการทำงานฟาร์มและการจัดการ / ภาษาอังกฤษ Farming Systems and Management

รหัสวิชาใหม่ 5003106 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การจัดระบบการทำฟาร์ม การจัดการปัจจัยที่มีผลต่อระบบการทำฟาร์ม การวิจัยและพัฒนา ในระบบการปลูกพืช การจัดการผลิตอย่างยั่งยืน การอนุรักษ์และการจัดการดิน การบริหารจัดการศัตรูพืชในระบบการทำฟาร์มแบบผสมผสาน

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การเกษตรเพื่อความยั่งยืน  / ภาษาอังกฤษ Agricultural Sustainability

รหัสวิชาใหม่ 5003107 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสำคัญ หลักการ แนวคิดและวิธีดำเนินการเกี่ยวกับเกษตรยั่งยืนและเกษตรทางเลือกแบบต่าง ๆ รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติ และระบบเศรษฐกิจระดับครัวเรือน ระดับชุมชน

 

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การดำเนินธุรกิจฟาร์ม / ภาษาอังกฤษ Farm Management

รหัสวิชาใหม่ 5003108  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาลักษณะและคุณสมบัติของธุรกิจฟาร์ม การบริหารงานและปัญหาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ การเริ่มต้นประกอบธุรกิจ การลงทุน การจัดหาเงินทุน การจัดองค์การ การปฏิบัติงาน รวมไปถึงการวางแผนเชิงกลยุทธ การประเมินผลการดำเนินงาน แนวโน้มและบทบาทของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ในประเทศไทย

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ระบบเกษตรกรรมและการพัฒนาการเกษตร / ภาษาอังกฤษ Agricultural Systems and Development

รหัสวิชาใหม่ 5003109  / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ระบบเกษตรกรรมและการวิเคราะห์เขตนิเวศวิทยาการเกษตร การวินิจฉัยระบบเกษตรกรรมเพื่อการพัฒนาการเกษตร หลังจากวางแผนที่สอดคล้องกับสภาพการพัฒนาการเกษตรและชุมชน ยุทธวิธีในการพัฒนาชนบทเกษตรแบบผสมผสาน การจัดการเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย หัวข้อเฉพาะทางเทคโนโลยีการผลิตพืช / ภาษาอังกฤษ Selected Topics in Crop Production Technology

รหัสวิชาใหม่ 5004701 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    เรื่องที่น่าสนใจทางวิทยาศาสตร์การเกษตร หัวข้อเรื่องจะเปลี่ยนไปแต่ละภาคการศึกษา

    เป็นวิชาใหม่ เพื่อให้ทันสมัย ก้าวทันเทคโนโลยี

ชื่อวิชาภาษาไทย ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำและพืช / ภาษาอังกฤษ Soil Water and Plant Relationships

รหัสวิชาใหม่ 5213101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาคุณสมบัติของดินที่เกี่ยวข้องกับความเป็นประโยชน์ของน้ำในดินและการเจริญเติบโตของพืช น้ำและคุณสมบัติของน้ำในดิน และพืช ความสำคัญของน้ำในดินต่อการเจริญเติบโตของพืช การเคลื่อนที่ของน้ำในดิน พืชและออกสู่บรรยากาศ ความต้องการใช้น้ำของพืชเพื่อวางแผนการให้น้ำกับการผลิตพืชอย่างมีประสิทธิภาพ

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย ความอุดมสมบูรณ์ของดินและธาตุอาหารพืช / ภาษาอังกฤษ Soil Fertility and Plant Nutrition

รหัสวิชาใหม่ 5213201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5013201  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ปัจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ธาตุอาหารและความเป็นประโยชน์ ความสัมพันธ์ของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของพืชชนิดและคุณสมบัติของดินการปรับปรุงดิน ปัญหาเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของดินในประเทศไทยและการแก้ปัญหา อาการขาดธาตุอาหารพืช และการแก้ไข ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตของพืชต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน

    ปัจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ธาตุอาหารและความเป็นประโยชน์ความสัมพันธ์ของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของพืช ชนิดและคุณสมบัติของดินการปรับปรุงดิน ปัญหาเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของดินในประเทศไทยและการแก้ปัญหา

    ปรับปรุงวิชาให้กำชับ ครอบคลุมและทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 5013202  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    ลักษณะและคุณสมบัติของธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช อาการขาดธาตุอาหารพืช และการแก้ไข ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตของพืชต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน

ชื่อวิชาภาษาไทย การตรวจวิเคราะห์ดินและพืช / ภาษาอังกฤษ Soil Fertility and Plant Nutrition

รหัสวิชาใหม่ 5213202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษา วิเคราะห์ค่า พี-เอช(pH) ของดิน และวิเคราะห์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุในดินและพืช

    เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการดินและน้ำ  / ภาษาอังกฤษ Soil and Water Management

รหัสวิชาใหม่ 5213301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5013301  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    วัฏจักรของน้ำ ความต้องการน้ำของพืช ความเสื่อมโทรมของดินและการควบคุม การรักษาและปรับปรุง ความอุดมสมบูรณ์ และความสามารถในการให้ผลผลิตของดิน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพังทลายของดิน มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ำความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการน้ำกับการอนุรักษ์ดินและน้ำ

    ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพังทลายของดิน มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ำ

    ปรับปรุงวิชาให้กำชับ ครอบคลุมและทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 50134  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    วัฏจักรของน้ำ ความต้องการน้ำของพืช ความเสื่อมโทรมของดินและการควบคุมการรักษาและปรับปรุง ความอุดมสมบูรณ์และความสามารถในการให้ผลผลิตของดิน

ชื่อวิชาภาษาไทย การผลิตพืชไร่เศรษฐกิจ / ภาษาอังกฤษ Economic Field Crop Production

รหัสวิชา 5222501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม -  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสำคัญของพืชไร่เศรษฐกิจ หลักการปฏิบัติบำรุงพืชไร่เศรษฐกิจ การปลูกข้าวและพืชไร่ชนิดอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ตัวอย่างพืชที่ควรส่งเสริมให้ปลูกเพื่อเศรษฐกิจประโยชน์และหลักการพิจารณาทำไร่นาสวนผสมเพื่อเพิ่มรายได้ของเกษตรกร

 

    ปรับปรุงวิชาให้กำชับ ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการปลูกพืชไม่ใช้ดิน / ภาษาอังกฤษ Soiless Culture

รหัสวิชา 5233702 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม -  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมายและความสำคัญ ระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช วัสดุและอุปกรณ์ สำหรับการปลูกพืช ธาตุอาหารและการเตรียมธาตุอาหารพืช การปลูก การดูแลและการจัดการ การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

 

    ปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันสมัย และให้ประโยชน์ได้จริง

ชื่อวิชาภาษาไทย แมลงสำคัญทางการเกษตร  / ภาษาอังกฤษ Agricultural Insect Pest

รหัสวิชา 5283101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5083101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาชีววิทยา การควบคุมแมลงศัตรูที่สำคัญทางเศรษฐกิจของพืชผลทางการเกษตรที่สำคัญ และการใช้ประโยชน์จากแมลงที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ แมลงที่ให้ผลผลิต แมลงที่ช่วยผสมเกสร และแมลงที่เป็นศัตรูธรรมชาติ

    ชนิดของแมลงที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ชีวประวัติและอุปนิสัย การแพร่กระจาย การสำรวจปริมาณ ลักษณะการทำลาย การเลือกใช้วิธีการต่างๆที่ใช้ในการป้องกันกำจัด การเขตกรรม วิธีกล ชีววิธี การใช้สาร สกัดจากพืชทดแทนสารเคมี สารเคมี วิธีป้องกันกำจัดแบบผสมผสาน (IPM)

    ปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันสมัย และให้ประโยชน์ได้จริง

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก / ภาษาอังกฤษ Poultry Production Technology

รหัสวิชา 5241102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5041102  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ประโยชน์และความสำคัญของสัตว์ปีก ประเภทและพันธุ์สัตว์ปีก พันธุศาสตร์สัตว์ปีกการคัดเลือก การผสมพันธุ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ วิธีการเลี้ยงดู อาหารและการให้อาหารโรคและการสุขาภิบาลสัตว์ปีก ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการผลิตสัตว์ปีก กรณีศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีกเพื่อการค้า มาตรบานฟาร์มสัตว์ปีก

    ประโยชน์และความสำคัญของสัตว์ปีก ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับสัตว์ปีก ประเภทและชนิดของสัตว์ปีก การคัดเลือก การผสมพันธุ์โรงเรือนและอุปกรณ์ วิธีการเลี้ยงดู อาหารและการให้อาหาร การป้องกันและการรักษาโรคสัตว์

    เพื่อให้เนื้อหาทันสมัยตามเหตุการณ์และตลาด

ชื่อวิชาภาษาไทย หลักการผลิตสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Principle of Animal Production

รหัสวิชา 5241501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5041101  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ประโยชน์และความสำคัญของการเลี้ยงสัตว์ ความเหมาะสมของการเลี้ยงสัตว์กับสภาพแวดล้อม พันธุ์สัตว์และลักษณะประจำพันธุ์ ประเภทและชนิดของการเลี้ยงสัตว์พื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงดูและบำรุงรักษาสัตว์ในระยะต่างๆ อาหารและการให้อาหารสัตว์ การป้องกันและควบคุมรักษาโรคสัตว์ การจัดการฟาร์มสัตว์เพื่อการให้ผลผลิตสัตว์ การจัดจำหน่ายและการทำผลิตภัณฑ์จากสัตว์ บัญชีที่จำเป็นในการเลี้ยงสัตว์

    ประโยชน์และความสำคัญของการเลี้ยงสัตว์ ความเหมาะสมของการเลี้ยงสัตว์กับสภาพแวดล้อม พันธุ์สัตว์และลักษณะประจำพันธุ์ ประเภทและชนิดของการเลี้ยงสัตว์ พื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงดูและบำรุงรักษาสัตว์ในระยะต่าง ๆ อาหารและการให้อาหารสัตว์ การป้องกันและควบคุมรักษาโรคสัตว์ การจัดการฟาร์มสัตว์เพื่อการให้ผลผลิตของสัตว์ การจัดจำหน่ายและการทำผลิตภัณฑ์จากสัตว์ บัญชีที่จำเป็นในการเลี้ยงสัตว์

    เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่ให้สอดคล้องกับหลักสูตรใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตสุกร / ภาษาอังกฤษ Swine Production Technology

รหัสวิชา 5242201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5042201  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ประโยชน์และความสำคัญในการเลี้ยงสุกร รูปแบบการเลี้ยงสุกรในประเทศไทย ประเภทและพันธุ์สุกรที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงในประเทศไทย โรงเรือน และเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับโรงเรือนสุกร อาหาร และการใช้อาหาร การจัดการ และการเลี้ยงดูสุกรในระยะต่างๆโรคและการสุขาภิบาล การบันทึกข้อมูลและการใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสุกร การทำบัญชีฟาร์ม มาตรฐานฟาร์มสุกร

    ประโยชน์และความสำคัญในการเลี้ยงสุกร ประเภทและพันธุ์สุกร การ คัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ ระบบการจัดการฟาร์มสุกรแบบต่าง ๆ การจัดการเลี้ยงสุกรในระยะต่าง ๆ อาหารสุกรการทำทะเบียนประวัติโรคและการสุขาภิบาล การตลาด ปัญหาการเลี้ยงสุกรและ แนวทางในการแก้ปัญหาสำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร

    เพื่อให้เนื้อหาวิชาครอบคลุมระบบการผลิตสุกรทั้งหมด

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตแพะ-แกะ / ภาษาอังกฤษ Sheep and Goat Production Technology

รหัสวิชา 5242202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5042203  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    พันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ การเลี้ยงและการจัดการพฤติกรรม อาหารและ การให้อาหาร สุขภาพและสุขาภิบาล การตลาดและการจัดการผลผลิต

    ความสำคัญของการเลี้ยงแกะ ประเภทและพันธุ์แกะ การคัดเลือกและการผสมพันธุ์ การเลือกสถานที่ โรงเรือนและอุปกรณ์ การเลี้ยงดูแกะประเภทต่าง ๆ อาหารและการให้อาหาร โรคและการสุขาภิบาล การฟอกขนแกะ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากแกะและการตลาด การจดสถิติและการทำบัญชี

    รวมเนื้อหาวิชาของทั้งสองวิชาเข้าด้วยกันเพื่อให้การศึกษากระทัดรัดและทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 5042204  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    ความสำคัญของการเลี้ยงแพะ ประเภทและพันธุ์แพะ การคัดเลือกและการผสมพันธุ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ การเลี้ยงดูแพะประเภทต่าง ๆ อาหารและการให้อาหาร โรคและการสุขาภิบาล การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากแพะและการตลาด การจดสถิติและการทำบัญชี

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตโคนม / ภาษาอังกฤษ Dairy Production Technology

รหัสวิชา 5242301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5042302  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคนม พันธุ์โคนม หลักและวิธีการคัดเลือกและการผสมพันธุ์โคนม โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยงดูโคนม การจัดการฝูงโคนม อาหาร และการจัดการโคนม อาหาร และการทำบัญชี การจัดการสุขภาพโคนม การให้คะแนนความสมบูรณ์ร่างกายของโคนม มาตรฐานโคนม

    ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคนม พันธุ์โคนม หลักและวิธีการคัดเลือกและการผสมพันธุ์โคนม โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยงดูโคนม การจัดการฝูงโคนม โรคและการสุขาภิบาล การรีดนม คุณภาพน้ำนมการจดสถิติและการทำบัญชี

    เพิ่มเติมเนื้อหาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ-กระบือ / ภาษาอังกฤษ Buffalo-Beef Production Technology

รหัสวิชา 5242302 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5042301  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือ พันธุ์โคเนื้อ กระบือ หลักและวิธีการคัดเลือกและการผสมพันธุ์ระบบการจัดการฟาร์มโคเนื้อ โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การจัดการฝูงสัตว์ โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ระเบียบบันทึกต่างๆ การตลาดและการจำหน่าย กรณีศึกษาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตโคเนื้อ-กระบือ

    ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคเนื้อ พันธุ์โคเนื้อ หลักและวิธี การคัดเลือกและการผสมพันธุ์ ระบบการจัดการฟาร์มโคเนื้อ อุปกรณ์และโรงเรือน อาหารและการให้อาหารโคเนื้อ การจัดการฝูงโคเนื้อ การทำทะเบียนประวัติ การ จดบันทึกต่าง ๆ การตลาดโคเนื้อ

    รวมเนื้อหาวิชาเรียนทั้งสองวิชาเข้าด้วยกัน เพื่อการศึกษากระทัดรัดและทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 5042303  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงกระบือ พันธุ์กระบือ หลักและวิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์กระบือ โรงเรือนและอุปกรณ์ วิธีการเลี้ยงดูกระบือ การให้อาหาร โรคและการสุขาภิบาล การทำผลิตภัณฑ์กระบือ การตลาดและการทำบัญชี

ชื่อวิชาภาษาไทย โภชนศาสตร์สัตว์ / ภาษาอังกฤษ Animal Nutrition

รหัสวิชา 5242401 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5042401  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    หน้าที่และความสำคัญของโภชนาการต่อการผลิตสัตว์ คุณสมบัติของโภชนะหรือสารอาหาร การจำแนกชนิดของสารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหารการนำสารอาหารไปใช้ประโยชน์ต่อร่างกาย ผลกระทบต่อสัตว์ที่ได้รับสารอาหารไม่สมดุล ขบวนการย่อยและการดูดซึมอาหารของสัตว์

    ลักษณะส่วนประกอบและคุณสมบัติของอาหารชนิดต่าง ๆ ความจำเป็นของสารอาหารและขบวนการในร่างกายสัตว์ที่จะเปลี่ยนสารอาหารให้เป็นประโยชน์แก่ตัวสัตว์

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตสัตว์เลี้ยงและสัตว์อื่น / ภาษาอังกฤษ Companion and Non-conventional Animals ProductionTechnology

รหัสวิชา 5242501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม -  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความหมาย ลักษณะ ทฤษฎี กระบวนการ เทคนิควิธี และกลยุทธ์ในการกำกับศิลป์ ความสำคัญและความจำเป็นในการกำกับศิลป์เพื่องานโฆษณาทางสื่อต่างๆ รวมไปถึงงานวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฝึกปฏิบัติ การกำกับศิลป์ในสถานการณ์ต่างๆ

 

    เป็นวิชาใหม่ เพื่อให้ทันสมัยกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน

ชื่อวิชาภาษาไทย โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อ / ภาษาอังกฤษ Non-Ruminant Nutrition

รหัสวิชา 5243401 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5043402  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ระบบการย่อยอาหารของสัตว์กระเพาะเดี่ยว การศึกษาเรื่องความต้องการทางพลังงานโปรตีนคาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ และไวตามิน เพื่อการดำรงชีวิต การเจริญเติบโต และการให้ผลผลิต การย่อยอาหารและการดูดซึมอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน กรดอะมิโน การคิดคำนวณสูตรอาหารสำหรับสัตว์กระเพาะเดี่ยว เช่น สุกร

    ระบบการย่อยอาหารของสัตว์กระเพาะเดี่ยว การศึกษาเรื่องความต้องการทางพลังงาน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ และไวตามิน เพื่อการดำรงชีวิต การเจริญเติบโต และการให้ผลผลิต การย่อยอาหาร และการดูดซึมอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน กรดอะมิโน การคิดคำนวณสูตรอาหารสำหรับสัตว์กระเพาะเดี่ยว เช่น สุกร

    เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่ให้สอดคล้องกับหลักสูตร

ชื่อวิชาภาษาไทย โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง  / ภาษาอังกฤษ Ruminant Nutrition

รหัสวิชา 5243402 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5043403  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ระบบการย่อยอาหารสำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง กระบวนการทางสรีรวิทยาระบบความสมดุลภายในระบบทางเดินอาหารของสัตว์ กระบวนการทางเคมี และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับการใช้อาหารให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ประเภทของอาหาร วิธีตรวจสอบและประเมินคุณค่าอาหาร ความต้องการเทคนิคต่างๆที่ใช้ในการศึกษาการย่อยได้ของสัตว์ การคิดคำนวณสูตรอาหารสำหรับสัตว์ใหญ่ชนิดต่าง ๆ

    ระบบการย่อยอาหารสำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง กระบวนการทางสรีรวิทยา กระบวนการทางเคมี และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับการใช้อาหารให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ประเภทของอาหาร วิธีตรวจสอบและประเมินคุณค่าอาหาร ความต้องการ การคิดคำนวณสูตรอาหารสำหรับสัตว์ใหญ่ชนิดต่าง ๆ

    ปรับปรุงคำอธิบายสาขาวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Technology of Feed Production

รหัสวิชา 52434032 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม -  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความสำคัญของเทคโนโลยีผลิตอาหารสัตว์ การวางแผนการผลิตอาหารสัตว์ การตรวจและวิเคราะห์คุณภาพวัตถุอาหารสัตว์ การทำสูตรอาหารสัตว์ด้วยคอมพิวเตอร์ การผลิตอาหารเม็ด การทำสูตรอาหาร การจัดหาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ การจัดเก็บสำรองเพื่อผลิตอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการผลิตอาหารสัตว์ การจัดเก็บสำรองเพื่อเผื่อผลิต อุปกรณ์เครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับ การผลิตอาหารสัตว์ การเพิ่มคุณภาพอาหารสัตว์ การลดสารพิษในอาหารสัตว์

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การสืบพันธุ์และการผสมเทียมสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Animal Reproduction and Artificial Insemination

รหัสวิชา 5243501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5043501  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ประโยชน์และความสำคัญของการผสมเทียม กายวิภาคและสรีรวิทยา ระบบสืบพันธุ์สัตว์ การรีดน้ำเชื้อ การตรวจคุณภาพน้ำเชื้อ การเจือจาง และการเก็บรักษาน้ำเชื้อ เทคนิคการผสมเทียม การปฏิสนธิ การตั้งท้อง ขบวนการคลอด การแก้ไขการคลอดยาก การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ โรคและปัญหาระบบสืบพันธุ์

    กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์ของสัตว์ใหญ่ การรีดน้ำเชื้อ การตรวจ คุณภาพของน้ำเชื้อ การขยายและเจือจางน้ำเชื้อ การเก็บรักษาน้ำเชื้อ และปัจจัยที่มีผลต่อการผสมติด

    ปรับปรุงเนื้อหาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการฝูงพ่อแม่พันธุ์และโรงฟัก / ภาษาอังกฤษ Poultry Breeder and Hatchery Management

รหัสวิชา 5243502 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม -  / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การจัดการพ่อแม่พันธุ์ไก่เนื้อและไก่ไข่ การผลิตไข่ฟักพัฒนาการของตัวอ่อนฟัก การอบลูกไก่ การจัดการโรงฟัก มีการศึกษานอกสถานที่

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย โรงเรือนและอุปกรณ์สัตว์เลี้ยง / ภาษาอังกฤษ Animal Housing and Equipment

รหัสวิชา 5243503 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5042501 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อมของสัตว์ พฤติกรรมสัตว์ หลักการสร้างโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ระบาย อากาศ การกำจัดของเสีย การออกแบบคอกและอุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ ประมาณราคา

    การพิจารณาที่ตั้งฟาร์ม แบบโรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยง การใช้เครื่องมือทุ่นแรงในฟาร์ม การสร้างโรงเรือนและอุปกรณ์ให้สามารถใช้แรงงานอย่างมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด การศึกษาเปรียบเทียบแบบโรงเรือนและอุปกรณ์

รวมคำอธิบายรายวิชาทั้งสามวิชาให้กระทัดรัดและครอบคลุมทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 5042502 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    การพิจารณาที่ตั้งฟาร์ม แบบของโรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยง การใช้เครื่องทุ่นแรงในฟาร์ม การสร้างโรงเรือนและอุปกรณ์ให้สามารถใช้แรงงานอย่างมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด การศึกษาเปรียบเทียบแบบโรงเรือนและอุปกรณ์ ต่าง ๆ

รหัสวิชาเดิม 5042503 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    การพิจารณาที่ตั้งฟาร์ม แบบของโรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยง การใช้เครื่องทุ่นแรงในฟาร์ม การสร้างโรงเรือนและอุปกรณ์ให้สามารถใช้แรงงานอย่างมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด การศึกษาเปรียบเทียบแบบโรงเรือนและอุปกรณ์ ต่าง ๆ

ชื่อวิชาภาษาไทย การใช้สมุนไพรในการผลิตสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Herbs Utilization in Animal Production

รหัสวิชา 5243701 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาทดลองวิเคราะห์ จัดประเภทสมุนไพรในการผลิตสัตว์ เกี่ยวกับโครงสร้างสมุนไพร การสกัด วิธีการคัดเลือก การใช้สมุนไพรที่เหมาะสม และข้อจำกัดในการใช้สมุนไพรและประยุกต์สมุนไพรท้องถิ่นในการผลิตสัตว์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการใช้สรรพคุณของสมุนไพร ชนิดต่างๆ โดยมีทักษะในการใช้สมุนไพรสำหรับขบวนการผลิตสัตว์ และมีความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนมีความตระหนักถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการผลิตสัตว์

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก / ภาษาอังกฤษ Poultry Farm Management

รหัสวิชา 5244101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5044504 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การวิเคราะห์แผนการผลิตสัตว์ปีกชนิดต่างๆการวางแผนทำฟาร์มสัตว์ปีก การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์ปีก หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร กรณีศึกษาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีกเพื่อการค้า การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม

    ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การวางแผนทำฟาร์มสัตว์ปีก การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์ปีก หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร

    ปรับปรุงคำอธิบายให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การเลี้ยงไก่ชนเพื่อการค้า / ภาษาอังกฤษ Fighting Cock for Commercial

รหัสวิชา 5244102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ประวัติและความสำคัญทางไก่ชน การพัฒนาการเลี้ยงไก่ชนในประเทศไทย พันธุ์และลักษณะประจำพันธุ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ การเลี้ยงดูไก่ชน ระยะต่างๆ อาหารและการให้อาหารการเตรียมไก่สำหรับชน กฎกติกา การชนไก่ โรคและการป้องกันโรคไก่ชน การตลาดไก่ชน

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการฟาร์มสุกร  / ภาษาอังกฤษ Swine Farm Management

รหัสวิชา 5244201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การวางแผนการผลิตสุกร การเลือกสถานที่ และการสร้างฟาร์ม การวางแผนการผลิต สุกร พ่อแม่พันธุ์ ลูกสุกร สุกรรุ่น สุกรขุน การจัดการการอาหาร และการให้อาหาร การจัดกลุ่มผสมพันธุ์ การจัดการด้านสุขาภิบาลฟาร์ม การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม การวิเคราะห์โครงการ ต้นทุนการผลิตสุกร รายได้ และผลตอบแทน

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการฟาร์มโคเนื้อ-โคนม / ภาษาอังกฤษ Beef and Dairy Farm Management

รหัสวิชา 5244301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การวางแผนระบบการผลิตโคเนื้อ โคนม การเลือกสถานที่ และการสร้างฟาร์ม แปลงหญ้า และการจัดการแปแปลงหญ้า อาหาร และการให้อาหาร การจัดการสืบพันธุ์การจัดการระบบสุขาภิบาลฝูงโคนม การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม การวิเคราะห์โครงการ ต้นทุนการผลิต รายได้ และผลตอบแทนการผลิตโคเนื้อ-โคนม

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การตรวจและการวิเคราะห์อาหารสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Feed Analysis

รหัสวิชา 5244402 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5044402 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ปัญหาของการใช้อาหารสัตว์ในประเทศไทย การตรวจและการวิเคราะห์ คุณภาพอาหารสัตว์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ และการวิเคราะห์คุณภาพของอาหารแบบต่าง ๆ ประเภทของสารพิษในอาหารสัตว์ การเกิดสารพิษและการทำลายสารพิษในอาหารสัตว์ มาตรฐานอาหารสัตว์

    ปัญหาของการใช้อาหารสัตว์ในประเทศไทย การตรวจและการวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ และการวิเคราะห์คุณภาพของอาหารแบบต่าง ๆ

 

    ปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ครอบคลุมกระทัดรัด และทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 5044403 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    ประเภทของสารพิษในอาหาร การเกิดสารพิษในอาหาร การทำลาย สารพิษในอาหาร การตรวจหาสารพิษในอาหารสัตว์ ลักษณะอาการของสัตว์ที่กินอาหารที่มีสารพิษ การแก้ไขและการป้องกันรักษาสัตว์ที่กินอาหารที่มีสารพิษ

ชื่อวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการผลิตสัตว์ / ภาษาอังกฤษ English for Animal Production

รหัสวิชา 5244410 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษา ชื่อศัพท์เทคนิคของสัตว์เลี้ยง ชนิดต่างๆในการผลิตสัตว์ รวมถึง พันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ อาหารและการให้อาหารสัตว์ ระบบสืบพันธุ์ของสัตว์ สุขภาพสัตว์และการป้องกันโรคในสัตว์ และสามารถสรุป แปลผลงานวิจัย ศัพท์เทคนิคต่างๆ ในการทดลองของสัตว์

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีจุลชีพ เพื่อการผลิตสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Microbiological Technology for Animal Production

รหัสวิชา 5244501 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ชนิดของจุลลินทรีย์ โครงสร้าง การสืบพันธุ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ การผลิตจุลินทรีย์แห้ง การใช้จุลินทรีย์ในอาหารสัตว์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาหาร การบำบัดกลิ่น และลดกลิ่นในฟาร์มปศุสัตว์ สัตว์ปีก สุกร โคนม การใช้จุลินทรีย์ ในการเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา และสัตว์น้ำอื่น

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย โภชนศาสตร์ประยุกต์ / ภาษาอังกฤษ Applied Animal Nutrition

รหัสวิชา 5244701 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5044401 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การประยุกต์ใช้วัตถุดิบเพื่อเป็นอาหารสัตว์ ข้อดี ข้อเสียของวัตถุดิบแต่ละชนิดเมื่อใช้เลี้ยงสัตว์ วิธีการปรับปรุงวัตถุดิบ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์เบื้องต้น ความต้องการอาหารสัตว์ชนิดต่างๆ ความแตกต่างของระบบการย่อยอาหารของสัตว์

    การประยุกต์ใช้วัตถุดิบเพื่อเป็นอาหารสัตว์ โดยพิจารณาจากคุณค่าทางอาหารของวัตถุดิบนั้น ข้อดี ข้อเสียของวัตถุดิบแต่ละชนิดเมื่อใช้เลี้ยงสัตว์ โดยพิจารณาผลที่จะเกิดขึ้นในขบวนการต่าง ๆ ภายในร่างกายสัตว์ และวิธีการปรับปรุงวัตถุดิบเพื่อให้เหมาะสมกับการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่าง ๆ

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้กระทัดรัด ชัดเจน ทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ / ภาษาอังกฤษ Animal Breeding

รหัสวิชา 5244702 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5044501 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    หลักพื้นฐานและการใช้หลักทางพันธุกรรมในการปรับปรุง ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจของสัตว์ โดยเน้นการคัดเลือก ความแปรผัน ประมาณค่าอัตราพันธุกรรม ระบบการผสมพันธุ์และประมาณค่าของพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโดยใช้หลักพันธุศาสตร์

    หลักพื้นฐานและการใช้หลักทางพันธุกรรมในการปรับปรุง ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจของสัตว์ โดยเน้นการคัดเลือก ความแปรผัน ประมาณค่าอัตราพันธุกรรม ระบบการผสมพันธุ์และประมาณค่าของพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์

    เพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด

ชื่อวิชาภาษาไทย การจัดการฟาร์มปศุสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Livestock Farm Management

รหัสวิชา 5244703 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5044504 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มปศุสัตว์ การวางแผนทำฟาร์มปศุสัตว์ การวิเคราะห์แผนการผลิตปศุสัตว์ชนิดต่าง ๆ การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อต้นทุน และรายได้ในการทำฟาร์มปศุสัตว์ หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์ม

    ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การวางแผนทำฟาร์มสัตว์ปีก การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์ปีก หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร

    รวมคำอธิบายรายวิชาทั้งสามเข้าไว้ด้วยกันให้ครอบคลุม กะทัดรัด และทันสมัย

รหัสวิชาเดิม 5044505 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

    ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์เล็ก การวางแผนทำฟาร์มสัตว์เล็ก การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์เล็ก หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร ศึกษาระบบการจัดการฟาร์มแบบต่าง ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฟาร์ม ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการฟาร์มสัตว์ใหญ่ การวางแผนทำฟาร์มสัตว์ใหญ่ การบริหารและการจัดการธุรกิจฟาร์ม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทุนและรายได้ในการทำฟาร์มสัตว์ใหญ่ หลักการคำนวณ ผลสถิติและสถิติประชากร

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Biotechnology for Animal Production

รหัสวิชา 5244704 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    พื้นฐานเทคโนโลยีชีวภาพ การย้ายฝากตัวอ่อน การปฏิสนธินอกร่างกายการโคลนนิ่ง การคัดเพศ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อทางสัตว์ การจำลองพันธุกรรม

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Applied Computer for Animal Product

รหัสวิชา 5244705 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผลิตสัตว์ ความรู้เบื้องต้นของการใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน ความสำคัญของการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิตสัตว์ ความรู้เบื้องต้นในการค้นคว้าข้อมูลทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการคำนวณสูตรอาหาร ข้อมูลทางสถิติ การนำเทคโนโลยีทางสมัยใหม่มาใช้ในการนำเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ การสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวกับการผลิต

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย หลักสุขศาสตร์สัตว์และมาตรฐานฟาร์ม / ภาษาอังกฤษ Principle of Animal Hygiene and Farm Standard

รหัสวิชา 5241102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5051101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคสัตว์ สาเหตุ การติดต่อ อาการ การควบคุมและป้องกัน การจัดการสุขภาพสัตว์ป่วยในฟาร์มปศุสัตว์ หลักการสุขาภิบาลในฟาร์มปศุสัตว์ การผ่าซาก เพื่อชันสูตรโรค การเก็บตัวอย่างเพื่อการวินิจฉัยโรค อุปกรณ์และวิธีการทางศัลยกรรมอย่างง่าย มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์

 

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้กระทัดรัด ชัดเจน ครอบคลุม และทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Animal Anatomy and Physiology

รหัสวิชา 5252201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5051101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ในร่างกายสัตว์ ระบบโครงร่าง ระบบ กล้ามเนื้อ หัวใจระบบไหลเวียนโลหิต การย่อยอาหาร การหายใจ ไต และระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบประสาท ต่อมไรท่อ และหน้าที่ของฮอร์โมน การสืบพันธุ์ การสร้างน้ำมัน การสร้างไข่ในสัตว์ปีก

    ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆในร่างกายสัตว์

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ชัดเจน ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย กายวิภาคศาสตร์สัตว์ / ภาษาอังกฤษ Anatomy of Domestic Animal

รหัสวิชา 5252202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    โครงสร้าง และส่วนประกอบทางกายวิภาคของร่างกายสัตว์ ระบบโครงร่าง ระบบ กล้ามเนื้อ หัวใจ และการไหลเวียนโลหิต ระบบการย่อยอาหาร ระบบประสาท ระบบขับถ่าย การหายใจ ส่วนปกคลุมร่างกาย อวัยวะสืบพันธุ์สัตว์ โครงสร้างเต้านม

 

    เป็นวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย สรีรวิทยาของสัตว์  / ภาษาอังกฤษ Physiology of Domestic Animal #9;

รหัสวิชา 5252203 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    การศึกษาการทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกายสัตว์ ระบบโครงร่าง ระบบกล้ามเนื้อ หัวใจระบบไหลเวียนโลหิต ระบบการย่อยอาหาร การหายใจ ไต และระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบประสาท ต่อมไร้ท่อ และหน้าที่ของฮอร์โมน การสืบพันธุ์ การสร้างน้ำนม การสร้างไข่ในสัตว์ปีก

 

    เป็นวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การใช้ยาในฟาร์มปศุสัตว์ / ภาษาอังกฤษ Drug Use in Farm Animals

รหัสวิชา 5252301 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5052301 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    เภสัชวิทยาทั่วไป การเลือกใช้ยาในฟาร์มปศุสัตว์ การตกค้างของยาสัตว์ ผลกระทบต่อการผลิตสัตว์ และสาธารณสุข การตรวจวิเคราะห์สารตกค้าง การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผล

 

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย อาหารปลอดภัยและมาตรฐานฟาร์ม / ภาษาอังกฤษ Livestock Food Safety and Farm standard

รหัสวิชา 5253701 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการปศุสัตว์ และสัตว์ในประเทศ ไทย มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหาร มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์และหลักเกณฑ์การจัดตั้งฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อส่งออก

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย หลักการประมง / ภาษาอังกฤษ Principles of Fisheries

รหัสวิชา 5261101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5061101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการประมงต่อสังคมและเศรษฐกิจสภาพการใช้ทรัพยากรประมงในประเทศ หลักและวิธีการทำประมงเครื่องมือประมง หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำและการแปรรูป หลักการอนุรักษ์และการบำรุงรักษาพันธุ์สัตว์น้ำ การตลาดและการจัดจำหน่ายสัตว์น้ำ กฎหมายเกี่ยวกับการประมงและคุ้มครองสภาพแวดล้อมทางการประมง

    ประโยชน์ของสัตว์น้ำ ชนิด และความสำคัญทางเศรษฐกิจของการประมงในประเทศไทย หลักการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเบื้องต้น เกี่ยวกับการขยายพันธุ์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การสงวนรักษาพันธุ์สัตว์น้ำ พระราชบัญญัติการประมงและเครื่องมือจับสัตว์น้ำ

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ / ภาษาอังกฤษ Principles of Aquaculture

รหัสวิชา 5261102 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5061102 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษา รวบรวมข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับประวัติและพัฒนาการของการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ขอบเขตของงานเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิธีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจำแนกตามประเภทและชนิด การจัดการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

    ประวัติการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในต่างประเทศและประเทศไทย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในประเทศไทย และต่างประเทศในปัจจุบัน หลักเกณฑ์และการเตรียมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การวิเคราะห์น้ำและคุณภาพน้ำทางการประมง / ภาษาอังกฤษ Water Analysis and Water Quality for Fishery

รหัสวิชา 5261103 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5061103 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อการวิเคราะห์ การวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ เคมีและชีวภาพ คุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพน้ำ การปรับปรุงคุณภาพน้ำให้เหมาะสมกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการเก็บและรักษาตัวอย่างน้ำเพื่อการวิเคราะห์ทั้งอุปกรณ์ จุดเก็บตัวอย่าง วิธีการเก็บตัวอย่าง การเก็บรักษาน้ำตัวอย่างและการ ส่งตัวอย่างน้ำเข้าห้องปฏิบัติการ เข้าใจวิธีการวิเคราะห์ และเครื่องมือสำหรับการตรวจคุณภาพน้ำทางกายภาพ อาทิ อุณหภูมิ สี ความขุ่น ความโปร่งใส คุณภาพน้ำทางเคมี อาทิ พีเอช ความเป็นกรด ความเป็นด่าง ความกระด้าง ปริมาณของแข็ง ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โลหะบางชนิด บีโอดี ซีโอดี คุณภาพน้ำ ทางชีวภาพ อาทิ แพลงก์ตอน แบคทีเรีย โคลิฟอร์ม เข้าใจลักษณะคุณภาพน้ำที่เหมาะสม

    สำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปและแสดงผลความเหมาะสมของคุณภาพน้ำ และเข้าใจหลักการ แนวทางการปรับปรุงคุณภาพน้ำให้เหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

    ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้ำ ส่วนประกอบของน้ำ สิ่งเจือปนในน้ำ เช่น ก๊าซ เกลือแร่ ธาตุอาหารและสารประกอบชนิดอื่น ๆ คุณสมบัติของน้ำทางด้านเคมี ชีวะ และทางด้านกายภาพ เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การปรับปรุงคุณภาพของน้ำให้เหมาะสมกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ / ภาษาอังกฤษ Fish Breeding Technology

รหัสวิชา 5261105 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5061105 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ เทคโนโลยีอาหารสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำ เทคโนโลยีเกี่ยวกับระบบโรงเพาะฟักและระบบฟาร์มสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้ำในทะเล เพื่อให้มีความรู้ เข้าใจและทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ การเพาะฟัก อนุบาล และควบคุมสภาวะแวดล้อมของระบบเพาะฟักและอนุบาลสัตว์น้ำ อาทิ ระบบ กรองน้ำ ฆ่าเชื้อโรค เติมอากาศ การควบคุมการหมุนเวียนของน้ำในระบบเพาะฟัก เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำสำหรับระบบบำบัดและจัดการระบบน้ำ ระบบควบคุมอัตราไหลของน้ำ ระบบหมุนเวียนน้ำ ระบบให้อากาศ ระบบการเก็บเกี่ยวผลผลิต เทคโนโลยีอาหารเช่น เทคโนโลยีชีวภาพเพิ่มคุณภาพอาหาร เทคโนโลยีเครื่องผลิตอาหาร เทคโนโลยีเครื่องให้อาหารสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธ์สัตว์น้ำ เช่น พันธุวิศวกรรมสำหรับสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธ์และการเปลี่ยนเพศหรือการทำให้เป็นหมัน เป็นต้น

    ศึกษาหลักและวิธีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในท้องถิ่น การเลี้ยงดูและคัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำด้วยวิธี ต่าง ๆ การอนุบาลและการเลี้ยง

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ / ภาษาอังกฤษ Fish Pond Construction

รหัสวิชา 5262101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5062101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาหลักการ และวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลือกทำเลสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การสำรวจรังวัดและทำแผนที่ การออกแบบบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การวางระบบน้ำ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับประเภทของบ่อ ปัจจัยทางกายภาพและเคมีของบ่อที่พึงประสงค์ องค์ประกอบขนาด และโครงสร้างของบ่อซึ่งสัมพันธ์กับระดับการผลิต เข้าใจปัจจัยที่ประกอบการพิจารณาเลือกทำเลสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เข้าใจวิธีการสำรวจ ทำแผนที่ แผนผัง คำนวณพื้นที่ ระดับพื้นที่ปริมาณของดินขุดและดินถมในงานออกแบบ ปริมาณการเก็บกักน้ำ เข้าใจและมีทักษะงานสร้างบ่อ อาทิ ปราบพื้นที่ ปักหลักเล็งแนว การสร้างคันบ่อ ปรับพื้นและวางระบบระบายน้ำพื้นบ่อ การสร้างบ่อโดยวัสดุคอนกรีต เข้าใจและมีทักษะการจัดทำระบบระบายน้ำเข้าและออก อาทิ การออกแบบก่อสร้างอาคารระบายน้ำ ท่อระบายน้ำ ประตูระบายน้ำ

    ศึกษาหลักเกณฑ์ และการปฏิบัติในการเลือกทำเลสร้างบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การสำรวจ การวิเคราะห์ดินและผลกระทบจากพืชบก การทำแผนผัง การสร้างบ่อ ขนาดและการจัดระบบน้ำทีต้องการใช้ในการเพาะเลี้ยง

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย โรคและพยาธิสัตว์น้ำ / ภาษาอังกฤษ Diseases and Parasites of Aquatic Animals

รหัสวิชา 5262401 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม - / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของเชื้อโรคและปรสิตของสัตว์น้ำ ทั้งที่พบในธรรมชาติและที่พบในบ่อเลี้ยง ลักษณะ และอาการของสัตว์น้ำที่เป็นโรค การป้องกันการกำจัดและการรักษา ตลอดจนผลกระทบต่อผู้บริโภค

 

    เป็นรายวิชาใหม่

ชื่อวิชาภาษาไทย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง / ภาษาอังกฤษ Coastal Aquaculture

รหัสวิชา 5263101 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5063101 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ นิเวศวิทยาของแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจจำแนกตามประเภทและชนิด การจัดการการเพาะเลี้ยงชายฝั่งที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับนิเวศวิทยาชายฝั่งทะเลแต่ละแบบ ทั้งป่าชายเลนแหล่งน้ำกร่อย และแหล่งทะเลชายฝั่ง เข้าใจระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ทั้งระบบการเพาะเลี้ยงในบ่อ กระชัง และการทำฟาร์มในทะเลแบบต่าง ๆ เข้าใจและมีทักษะการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ เช่น ปลา กุ้ง ปู หอย สาหร่ายชนิดต่าง ๆ ทั้งในด้านชีววิทยา วิธีการเพาะพันธุ์ การฟักไข่ การเลี้ยงดูสัตว์น้ำวัยอ่อน สัตว์น้ำขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดตลาด ตลอดถึงวิธีการเลี้ยงที่ไม่ก่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม

    นิเวศวิทยาป่าชายเลน การเลี้ยงและการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำชายฝั่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น การเพาะเลี้ยงปลา กุ้ง ปู หอย สาหร่าย

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การเลี้ยงปลาน้ำจืด / ภาษาอังกฤษ Fresh Water Fish Culture

รหัสวิชา 5263202 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5063202 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงปลา ฟาร์มเลี้ยงปลาน้ำจืด รูปแบบการเลี้ยง เช่นการเลี้ยงปลาในนาข้าว การเลี้ยงปลาในบ่อ การเลี้ยงปลาในกระชัง สภาพน้ำที่ปลอดภัยการจัดการระหว่างการเลี้ยง เช่นขนาด และอัตราการปล่อย การเจริญเติบโตของปลาในบ่อและการเพิ่มผลผลิต วิธีการและเครื่องมือสำหรับใช้เลี้ยงปลาในบ่อดิน อาหารธรรมชาติอาหารสมทบ สุขภาพของปลาในบ่อเลี้ยงและการควบคุมโรค การคำนวณต้นทุนการผลิตการตลาด

    การเลี้ยงปลาน้ำจืดที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เช่น ปลาจีน ปลาตะเพียน-ขาว ปลานิล ปลาไน ปลาสวาย ปลาดุก ปลาช่อน ปลาบู่ ฯลฯ การเลือกทำเล การเตรียมบ่อ ขนาดและอัตราการปล่อย การให้อาหาร การป้องกันและกำจัดศัตรูและโรคปลา ต้นทุนการผลิต การตลาด

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย อาหารและการให้อาหารปลา / ภาษาอังกฤษ Feed and Feeding of Fish

รหัสวิชา 5263203 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5063203 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับ องค์ประกอบของอาหาร สารอาหารที่ปลาต้องการ การสร้างสูตรอาหารปลาการผลิตอาหาร ปัจจัยควบคุมการกินอาหารของปลา แหล่งของอาหาร การกระตุ้นให้เกิดอาหารธรรมชาติในบ่อ การเตรียมอาหารและวิธีการให้อาหาร

    ศึกษาชนิด ประเภท คุณค่าของอาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำ แหล่งของอาหารการสร้างอาหารธรรมชาติในบ่อ การเตรียมและการให้อาหาร

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย หลักเศรษฐศาสตร์ประมง / ภาษาอังกฤษ Principles of Fishery Economics

รหัสวิชา 5263701 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5063501 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษาเกี่ยวกับ หลักเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน ทฤษฎีและแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ของการประมง การใช้ทรัพยากรประมงที่สอดคล้องกับผลลับทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการทำประมงมากเกินควร การวิเคราะห์แบบจำลองเศรษฐศาสตร์ประมงสำหรับใช้จัดการประมง

    ความสำคัญของทรัพยากรประมงที่มีต่อเศรษฐกิจ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรประมง การตลาดของสินค้าสัตว์น้ำ การบริหารและนโยบายการตลาด การวิเคราะห์ราคาสินค้าสัตว์น้ำ มีการศึกษานอกสถานที่

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

ชื่อวิชาภาษาไทย การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม / ภาษาอังกฤษ Fancy Fish Culture

รหัสวิชา 5264201 / คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชาเดิม 5064201 / คำอธิบายรายวิชาเดิม

เหตุผลในการปรับปรุง

    ศึกษา รวบรวมข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับชนิด ของปลาสวยงามทั้งที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการและเทคนิคในการเพาะพันธุ์ การคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ การเพาะพันธุ์ การอนุบาล รูปแบบการเลี้ยง อาหารสัตว์น้ำ โรค ปรสิตและการป้องกันรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาสวยงาม เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงและการเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม อาหารปลา พันธุ์ไม้น้ำที่ใช้ประดับตกแต่งในการเลี้ยงปลาสวยงาม ตลอดจนรู้จักการป้องกันและรักษาโรคปลาสวยงาม มีทักษะ และสามารถเลือกชนิดปลาสวยงามที่เหมาะสมในการเลี้ยงและเลือกอุปกรณ์ในการจัดตู้ปลาสวยงาม เห็นคุณค่าในการเลี้ยงปลาสวยงาม และสามารถเพาะพันธุ์ปลาสวยงามได้

    ศึกษาประเภท ลักษณะ ความเป็นอยู่ การเลี้ยงและคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ การเพาะพันธุ์และอนุบาล โรคพยาธิและการป้องกันรักษา ตลอดจน วัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาสวยงาม เช่น ภาชนะที่ใช้เลี้ยง พันธุ์ไม้น้ำที่ใช้ในการจัดตู้ปลา ระบบการกรองน้ำ คุณสมบัติของน้ำ และอาหารที่ใช้เลี้ยงปลาแต่ละชนิด

    ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมและทันสมัย

 

  

 

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

 

 

 

 

หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2549

 

 

 

 

 

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ไปบนสุด
กลับไปหน้าหลัก